กาพย์เหเ่ รือ เจา้ ฟา้ กุ้ง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ครูเกศรินทร์ หาญดารงคร์ ักษ์ (ครูเกด) ครดู วงหทยั ชวลิตเลขา (ครอู อย)
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนบอกความเปน็ มา ประวตั ิผู้แตง่ ลักษณะคาประพนั ธ์ และเนือ้ เรื่องย่อของวรรณคดเี รื่อง กาพย์เห่เรือได้ถกู ต้อง ๒. นักเรียนสังเคราะหค์ วามรู้จากการสืบค้นขอ้ มลู และการศกึ ษา ในบทเรียน ๓. นกั เรียนแนะนาแนวทางในการนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ได้
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
๑. ผู้แต่งกาพยเ์ หเ่ รอื คือใคร ก. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ข. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย ค. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก ง. เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร (เจา้ ฟ้ากงุ้ )
๒. การเหเ่ รอื ของไทยไดแ้ บบอย่างจากประเทศใด ก. ประเทศศรลี ังกา ค. ประเทศพมา่ ข. ประเทศลาว ง. ประเทศอินเดีย
๓. ขอ้ ใด ไม่ใช่ จดุ ประสงคข์ องการแตง่ กาพยเ์ ห่เรอื ก. เพ่ือกากบั จงั หวะของพลพายให้พายพรอ้ มเพรียงกนั ข. เพอื่ ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ค. เพ่ือสร้างความสนกุ สาราญให้กบั ตนเองและพลพาย ง. เพอื่ ใหป้ ระชาชนทราบและออกมารบั เสดจ็
๔. กาพย์เหเ่ รอื แตง่ ด้วยคาประพนั ธป์ ระเภทใด ก. กาพย์ฉบัง ๑๖ ข. โคลงสี่สุภาพและกาพยย์ านี ๑๑ ค. กลอนแปดและโคลงสี่สภุ าพ ง. โคลงสีส่ ภุ าพและกาพย์ฉบงั ๑๖
๕. ในเน้อื เร่ืองกาพยเ์ หเ่ รือ กล่าวถงึ เรอื่ งใดบา้ ง ก. ชมนก ชมไม้ ชมชาย ชมเรือ บทสรรเสริญ ข. ชมไม้ ชมสัตว์ ชมเรือ ชมทวิ ทัศน์ บทชมโฉม ค. ชมเรอื ชมปลา ชมไม้ ชมนก บทเห่ครวญ ง. ชมนก ชมไก่ ชมไม้ ชมปลา บทเก้ียวพาราสี
ความเปน็ มา ประวตั ผิ ูแ้ ต่ง ลักษณะคาประพนั ธ์ เนือ้ เร่ืองย่อ
ความเป็นมาของการเหเ่ รอื สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า การเห่เรือของไทยน่าจะได้แบบอย่างมาจากประเทศอินเดีย แต่ประเทศอินเดียใช้ เป็นมนตร์ในตาราไสยศาสตร์บูชาพระราม และบทเห่ที่ใช้ในกระบวนเรือหลวง ก็สันนิษฐานวา่ เป็นคาสวดของพราหมณ์ ส่วนของประเทศไทยใช้เห่บอกจังหวะฝีพายพร้อมกัน เพ่ือเป็นการผ่อนแรง ในการพายและทาให้รู้สึกเพลิดเพลิน
ประเพณกี ารเห่เรอื แบ่งไดเ้ ป็น ๒ ประเภท ๑. เห่เรอื หลวง ๒. เห่เรอื เลน่ ใช้ในพระราชพธิ ที างชลมารค ใช้เพอ่ื ความรืน่ เริงและให้ฝีพายได้ ในเวลาพระมหากษตั ริย์เสด็จพระราชดาเนินทางเรือ พายไปพร้อม ๆ กัน
การเหเ่ รอื หลวง ๑. ช้าละวะเห่ ๒. มลู เห่ ๓. สวะเห่ (สะ-วะ-เห่) เป็นการเห่ทานองชา้ ใช้ เปน็ การเหท่ านองเร็ว ใช้เห่เมือ่ เรอื จะเทียบทา่ เมือ่ เร่มิ ออกจากทา่ ใช้เห่พายเรอื ทวนกระแสนา
ประวัติผ้แู ตง่ สมเดจ็ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐส์ ุริยวงศ์ (เจา้ ฟา้ กุง้ ) ❖ ทรงเปน็ กวีเอกในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาตอนปลาย ❖ เปน็ พระราชโอรสองค์ใหญ่ ในสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศและพระพันวสาใหญ่ ทรงพระปรีชาสามารถด้านการประพันธ์ เชน่ นันโทปนันทสูตรคาหลวง กาพย์เห่เรอ่ื งกากี พระมาลยั คาหลวง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง บทเห่สังวาส บทเห่ครวญ กาพย์ห่อโคลงนิราศพระบาท เพลงยาวเจ้าฟ้ากงุ้ และกาพย์เห่เรือ พระองค์ได้รับสมญานามว่าเปน็ บรมครทู างกาพย์
จุดประสงค์ในการแตง่ เนื่องจากกษัตริย์ในสมัยนั้น ต้องเดินทางจากกรุงศรอี ยุธยาไปนมสั การและสมโภช (งานเลี้ยง) พระพทุ ธบาททีจ่ ังหวัดสระบรุ ี ซึง่ คาดว่าเจ้าฟ้ากุ้งน่าจะเดินทางตามเสดจ็ พระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ จากท่าวาสุกรี ไปขึน้ บกท่ที ่าเจ้าสนกุ ก่อนจะเดินเท้าต่อไปวัดพระพุทธบาท ซึ่งการเดินทางบนเรือคร้ังน้ัน ได้เป็นทีม่ าของการประพนั ธ์กาพย์เห่เรือเจา้ ฟ้ากุ้ง โดยมีจดุ ประสงค์หลกั คือ ๑. เพื่อกากับจงั หวะของ ๒. เพือ่ สร้างความสนกุ ๓. เพื่อประกาศการเสด็จ พลพายให้สามารถพายเรือ สาราญ ให้กับตนเอง ของพระมหากษตั ริย์ เพื่อให้ ชาวบ้านทราบและสามารถ ขนาดใหญ่ได้ และพลพาย อย่างพร้อมเพรียงกนั ออกมารบั เสดจ็ / ชืน่ ชม พระบารมีรมิ ฝ่ังแมน่ า้ ได้
ลักษณะคาประพนั ธ์ กาพย์เหเ่ รือแตง่ เปน็ กาพย์หอ่ โคลง คือ แต่งด้วยโคลงสีส่ ุภาพ ๑ บท และตามด้วยกาพย์ยานี ๑๑ ขยายความไมจ่ ากดั จานวนบทไปจนจบตอน และมีความสอดคล้องกนั
เนือ้ เรอื่ งยอ่ กาพย์เห่เรอื เจ้าฟ้ากงุ้ แบง่ ออกเปน็ ๒ ตอน บทเหช่ มเรอื (ช่วงเช้า) บทเหช่ มนก (ช่วงเยน็ ) และแบง่ ตามช่วงเวลา ดังนี้ ตอนที่ ๑ : บทเห่ชมเรอื ชมปลา ชมไม้ ชมนก บทเห่ครวญ ตอนที่ ๒ : บทเหค่ รวญ (ช่วงดึก) (กรมพระยาดารงราชานภุ าพสันนิษฐานว่า เกย่ี วข้อง กับเรอ่ื งส่วนตัว คือ ครา่ ครวญคิดถึงพระสนมของ พระบิดา อันเปน็ เหตุให้ โดนพระราชอาญาจนถงึ แก่ ชีวติ ในเวลาต่อมา) บทเห่ชมปลา (ช่วงสาย) บทเห่ชมดอกไม้ (ช่วงเยน็ )
เนอ้ื เรอ่ื งยอ่ (ต่อ) บทเห่ชมเรือ (ช่วงเช้า) กล่าวถงึ ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค โดยมีเรอื พระที่น่งั กง่ิ และเรอื ต่าง ๆ ที่มีโขนเรือเปน็ รปู สตั ว์ เปน็ เห่ชมขบวนเรือได้แก่ เรือครฑุ ยดุ นาค เรือไกรสรมุข เรือสมรรถชัย เรือสุวรรณหงส์ เรอื ชัย เรือคชสีห์ เรือม้า เรอื สิงห์ เรือนาคา เรือมังกร เรือเลียงผา เรืออินทรี เรือพระที่นั่งสุวรรณหงส์ เรือครุฑยุดนาค เรือพระที่นงั่ อนันตนาคราช เรือชยั
เนื้อเรอ่ื งยอ่ (ต่อ) บทเห่ชมปลา (ช่วงสาย) บทเห่ชมปลา ได้แก่ ปลานวลจันทร์ ปลาคางเบือน ปลาตะเพียนทอง ปลากระแห ปลาแก้มชา้ ปลาทกุ ปลาน้าเงิน ปลากราย ปลาหางไก่ ปลาสรอ้ ย ปลาเนอื้ อ่อน ปลาเสือ ปลาแมลงภู่ ปลาหวีเกศ ปลาชะแวง ปลาชะวาด ปลาแปบ ปลาแกม้ ช้า ปลาน้าเงนิ ปลาแมลงภู่ ปลาหวเี กศ
เน้ือเรื่องยอ่ (ตอ่ ) บทเหช่ มไม้ (ช่วงบ่าย) บทเห่ชมดอกไม้ ตามชายฝ่ัง ได้แก่ ดอกนางแย้ม ดอกจาปา ดอกประยงค์ ดอกพดุ จีบ ดอกพิกลุ ดอกสุกรม ดอกสายหยุด ดอกพทุ ธชาด ดอกบุนนาค ดอกเตง็ ดอกแต้ว ดอกแก้ว ดอกกาหลง ดอกมะลวิ ลั ย์ และดอกลาดวน ดอกแก้ว ดอกลาดวน ดอกกาหลง ดอกบนุ นาค
เน้ือเร่อื งยอ่ (ต่อ) บทเห่เหค่ รวญ (ช่วงดึก) บทเห่ชมนก (ช่วงเย็น) บทเห่ครวญ คร่าครวญถึงหญิงที่ตนรักในยามค่าคืน ตามลาดับเวลา ยามสอง ( ๓ ทุ่ม – เท่ยี งคนื ) บทเห่ชมนก ได้แก่ นกยูง นกสร้อยทอง นกสาลิกา นกนางนวล ยามสาม (เที่ยงคนื – ตี ๓ ) จนถงึ ใกล้รงุ่ นกแก้ว นกไกฟ่ ้า นกแขกเต้า นกดุเหว่า นกโนรี นกสัตวา นกยงู นกแก้ว นกดุเหวา่
แบบทดสอบหลงั เรยี น
๑. ผู้แต่งกาพยเ์ หเ่ รอื คือใคร ก. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ข. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย ค. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก ง. เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร (เจา้ ฟ้ากงุ้ )
๒. การเหเ่ รอื ของไทยไดแ้ บบอย่างจากประเทศใด ก. ประเทศศรลี ังกา ค. ประเทศพมา่ ข. ประเทศลาว ง. ประเทศอินเดีย
๓. ขอ้ ใด ไม่ใช่ จดุ ประสงคข์ องการแตง่ กาพยเ์ ห่เรอื ก. เพ่ือกากบั จงั หวะของพลพายให้พายพรอ้ มเพรียงกนั ข. เพอื่ ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ค. เพ่ือสร้างความสนกุ สาราญให้กบั ตนเองและพลพาย ง. เพอื่ ใหป้ ระชาชนทราบและออกมารบั เสดจ็
๔. กาพย์เหเ่ รอื แตง่ ด้วยคาประพนั ธป์ ระเภทใด ก. กาพย์ฉบัง ๑๖ ข. โคลงสี่สุภาพและกาพยย์ านี ๑๑ ค. กลอนแปดและโคลงสี่สภุ าพ ง. โคลงสีส่ ภุ าพและกาพย์ฉบงั ๑๖
๕. ในเน้อื เร่ืองกาพยเ์ หเ่ รือ กล่าวถงึ เรอื่ งใดบา้ ง ก. ชมนก ชมไม้ ชมชาย ชมเรือ บทสรรเสริญ ข. ชมไม้ ชมสัตว์ ชมเรือ ชมทวิ ทัศน์ บทชมโฉม ค. ชมเรอื ชมปลา ชมไม้ ชมนก บทเห่ครวญ ง. ชมนก ชมไก่ ชมไม้ ชมปลา บทเก้ียวพาราสี
ความเป็ นมา จุ ดประสงค์ในการแต่ ง การเห่เรือของไทยน่าจะได้แบบอย่าง ๑. เจ้าฟ้ากุง้ ตามเสดจ็ พระราชบดิ าไปนมสั การพระพุทธบาท จ.สระบุรี ผู แ้ ต่ ง มาจากประเทศอินเดียใช้เป็นมนตร์ในตารา ๒. ใช้ในการสร้างจงั หวะฝีพาย ไสยศาสตร์บูชาพระราม และบทเห่ที่ใช้ใน ๓. เพอื่ ประกาศการเสด็จของพระมหากษตั รยิ ์ เพอ่ื ให้ชาวบ้านทราบ เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐส์ ุรยิ วงศ์ กระบวนเรอื หลวง และสามารถออกมารบั เสดจ็ / ช่ืนชม พระบารมีรมิ ฝ่ังแม่นา้ ได้ (เจ้าฟา้ กุ้ง) สว่ นของประเทศไทยใช้เห่บอกจังหวะ บทนาเร่ือง กาพย์เหเ่ รือ ฝีพายพร้อมกัน เพ่ือเป็นการผ่อนแรง ในการพายและทาใหร้ สู้ ึกเพลดิ เพลิน เน้ ือเรอ่ื งย่ อ ลักษณะคาประพันธ์ แตง่ ด้วยโคลงส่ีสุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑ บทเห่ชมเรอื บทเห่ชมไม้ บทเหค่ รวญ บทเหช่ มปลา บทเห่ชมนก
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: