ระยะห่าง 1.5 นว้ิ ภาพ ตราโรงเรยี น TH Sarabun ขนาด ขนาด 1.5 นว้ิ X 22 จุด ตวั หนา 1.5 นวิ้ เวน้ 1 บรรทัด ขนาด 16 จุด โครงงานวทิ ยาศาสตร์ / คณติ ศาสตร์ / คอมพวิ เตอร์ เรอื่ ง...................(ไทย)......................... โดย ............................................................. .......................................................ข..น..า.ด. 18 จดุ .......................................................ต..วั .ป..ก. ติ ขนาด 18 จุด โรงเรยี น ................................ อาเภอเมอื ง .......ต..วั..ป..ก..ต..ิ .. จงั หวดั .................
รายงานฉบับนีเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่มิ ขนาด เวลารู้ ภาคเรยี นท่ี ๑ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ 18 จุด ตัว ปกติ ระยะห่าง 1.5 น้ิว กติ ตกิ รรมประกา(TศH Sarabun ขนาด 22 เว้น 1 บจรดุรทตดั วั หนา) โครงงานวิจัยฉบบั นีส้ าเร็จอย่าขงนสามดบ1รู ณ6 จไ์ ดดุ ้ดว้ ยความ ชว่ ยเหลอื อย่างยงิ่ จาก คณุ ครศู รีธร มูลมณี และ คุณครกู ุลธดิ า ไชยยงค์ คุณครทู ่ีปรึกษา ทไี่ ดใ้ ห้คาแนะนาปรกึ ษา และให้ข้อมูลต่างๆ ขอกราบขอบพระคณุ อย่างสงู ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณคุณครจู ตพุ ร นามบปุ ผา คณุ ครหู วั หน้า โครงการห้องเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ เทคโนโลยี โรงเรียนปทมุ เทพวิทยาคาร ที่ได้ให้คาแนะนา ตลอดจนตรวจสอบเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นงานวิจยั
ขอขอบพระคุณ กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนปทมุ เทพ วิทยาคาร ทใี่ หค้ าแนะนาและเออื้ เฟอื้ วสั ดุอปุ กรณต์ า่ งๆ สาหรบั การทาโครงงาน ขอขอบพระคุณ นายรัฐสิทธิ์ บญุ โชติ ศษิ ย์เกา่ โรงเรยี นปทุม เทพวทิ ยาคาร ซงึ่ สละเวลาในการแนะแนวทาง และใหค้ วามรใู้ น การทาโครงงาน อนึง่ ผู้วจิ ยั หวงั วา่ งานวิจยั ฉบบั นี้จะมปี ระโยชน์อยู่ไมน่ อ้ ย จงึ ขอมอบสว่ นดที ง้ั หมดนใี้ หแ้ กเ่ หล่าอาจารยท์ ไี่ ด้ประสิทธ์ปิ ระสาท วิชาจนทาใหผ้ ลงานวิจัยเป็นประโยชนต์ อ่ ผู้เกีย่ วข้องและขอมอบ ความกตญั ญกู ตเวทติ าคุณแด่บดิ า มารดา และผูม้ พี ระคุณทกุ ทา่ น ตลอดจนเพอ่ื นๆ ทคี่ อยใหค้ วามชว่ ยเหลือและกาลังใจ สาหรบั คณะผู้จดั ทา
ระยะหา่ ง 1.5 น้ิว บทคดั ยอ่ (TH Sarabun ขนาด 22 เว้นจดุ1 บตรวั รหทนดั า) ขนาด 16 จุด โครงงานเรอื่ งยานลอยตวั จัดทาขนึ้ มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื (1) เพอ่ื จดั ทาข้นึ เพอ่ื ศกึ ษาปจั จัยทีส่ ง่ ผลตอ่ เวลาในการลอยตัวใน สภาพเสียดทานตา่ ของยานลอยตวั จาลองได้นานทส่ี ุด (2) เพือ่ ทีจ่ ะสามารถนาโครงงานนไ้ี ปปรบั ปรงุ และพัฒนายานลอยตวั ขนาดใหญท่ ใี่ ชใ้ นการโดยสาร และขนส่งสิ่งของใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ในการทดลองนคี้ ณะผู้จดั ทาไดใ้ ชอ้ ุปกรณใ์ นการวดั ความ ดนั และขนาดของลกู โป่งจากอปุ กรณท์ มี่ ีชื่อว่าลูกโปง่ 2 ใบ จาก โครงงานเรอ่ื งการศกึ ษาการแพรข่ องอากาศโดยลูกโป่ง 2 ใบ โดย ประกอบดว้ ย (1) วาลว์ เชอ่ื มระหวา่ งลกู โปง่ (2) ทีใ่ ส่ลูกโป่ง (3) ตาแหนง่ ทส่ี ูบลม (4) วาลว์ กนั้ ระหว่างลกู โปง่ กบั แมนอมิเตอร์ (5) แมนอมิเตอร์ และอปุ กรณท์ ี่ คณะผจู้ ัดทาโครงงานประดษิ ฐ์ คือ ยานลอยตวั ซงึ่ ประกอบขึน้ จากแผน่ ซดี สี าหรบั เป็นฐานของยาน ลอยตัว ทอ่ พวี ซี สี าหรบั เป็นทปี่ ล่อยลม และแผน่ อะลมู ิเนยี มเพอ่ื กาหนดขนาดของเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางรทู ป่ี ลอ่ ยลม โดยใช้ลกู โป่ง เปน็ วัสดทุ ่ีเปน็ แหลง่ ให้กาเนิดลมเนือ่ งจากเป็นวัสดุทีส่ ามารถ ควบคุมปริมาตรและความดันไดง้ ่าย มกี ารทดลองทง้ั หมด 5 การ ทดลองคอื (1) ขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางรทู ี่ปลอ่ ยลม (2) ขนาด ลกู โปง่ (3) ความดนั ภายในลูกโปง่ (4) นา้ หนกั ยานลอยตัว (5) สมั ประสิทธิแ์ รงเสียดทานของพนื้ จากการบนั ทึกผลการทดลองทง้ั หมด พบว่าถ้าหากเสน้ ผ่าน ศูนย์กลางรทู ปี่ ล่อยลมมีขนาดเล็กขนาดลูกโปง่ ใหญ่ ความดนั ภายในลกู โป่งน้อย นา้ หนักของยานลอยตัวมาก สง่ ผลใหย้ าน ลอยตวั ลอยอยู่ในสภาพแรงเสยี ดทานตา่ ไดน้ าน และสมั ประสิทธ์ิ แรงเสยี ดทานของพน้ื นนั้ มผี ลนอ้ ยกบั เวลา
ระยะหา่ ง 1.5 น้วิ สารบญั (TH Sarabun ขนาด 22 เว้นจดุ1 บตรวั รหทนดั า) ขนาด 16 จุด
บทคัดย่อ เว้น 1 บรรทดั หนา้ กิตตกิ รรมประกาศ ขนาด 16 จุด สารบัญสาร ก สารบัญตาราง สารบัญภาพ ข สารบัญกราฟ ง อธบิ ายสัญลักษณ์ จ ฉ บทท่ี 1 บทนา ช ทมี่ าและความสาคัญ ซ วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตการศกึ ษา 1 สมมติฐาน 2 ตวั แปรที่ศึกษา 2 นิยาเชงิ ปฏบิ ตั ิการ 2 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง 3 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การทดลอง 6 บทท่ี 4 ผลการทดลอง 10 บทท่ี 5 สรปุ และวิจารณผ์ ลการทดลอง 14 เอกสารอา้ งอิง 22 24
ภาคผนวก 25 ก ข ระยะหา่ ง 1.5 นิ้ว สารบญั ตารา(งTH Sarabun ขนาด 22 เวน้ 1จบุดรตรวัทหัดนา) ตารางท่ี ขนาด 16 จุด หนา้ เว้น 1 บรรทัด 4.1 ทดลองเพ่อื หาสัมประสิทธ์ิแรงเสยี ดทานขขนอางดพ1้ืน6โตจ๊ะดุ 15 4.2 ทดลองเพือ่ หาสัมประสทิ ธิ์แรงเสยี ดทานของพนื้ ยาง 16 4.3 เปรยี บเทยี บสมั ประสทิ ธ์แิ รงเสยี ดทานของพน้ื โตะ๊ 17 (0.256479) และพืน้ ยาง (0.287680) 17 4.4 เปรยี บเทียบขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางของรทู ป่ี ลอ่ ยลมกบั เวลาโดยกาหนดให้ลูกโปง่ มขี นาด 18 20.00 เซนติเมตร ความต่างระดับนา้ 23.60 เซนติเมตร 19 4.5 เปรียบเทยี บขนาดของลูกโปง่ กับเวลาโดยกาหนดใหข้ นาด เส้นผา่ นศนู ย์กลางรทู ่ปี ลอ่ ยลม คือ 5.24 มลิ ลเิ มตร ความตา่ งของระดบั น้า 23.60 เซนติเมตร 4.6 เปรยี บเทียบความดนั ของลกู โปง่ กบั เวลาโดยกาหนดให้ ขนาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลางรูทป่ี ลอ่ ยลม คอื 5.24 มิลลิเมตรขนาดลูกโปง่ 20.00 เซนติเมตร 20 4.7 เปรยี บเทียบน้าหนกั ของยานลอยตวั กับเวลา โดย กาหนดให้ ขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางรู
ทปี่ ลอ่ ยลม คือ 5.24 มิลลิเมตรขนาดลกู โปง่ 20.00 เซนตเิ มตร ความดนั 1.0156×105 นิวตนั ต่อตารางเมตร ระยะหา่ ง 1.5 น้วิ สารบญั ภาพ(TH Sarabun ขนาด 22 เว้น 1จบุดรตรวัทหดั นา) ขนาด 16 จดุ
ภาพที่ หนา้ เวน้ 1 บรรทัด ภาพที่ 1 จาลองการปลอ่ ยแผน่ ซดี ีเพื่อหาสมั ขปนราะดสทิ 1ธ6ิ์แจรุดงเสียด 14 แทน ภาพที่ 2 แรงท่ีกระทากบั ยานลอยตวั 21 ภาพท่ี 3 อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการวดั ความดนั และวดั ขนาดของ 26 ลกู โปง่ ภาพท่ี 4 วาลว์ เช่อื มระหว่างลกู โป่ง 26 ภาพท่ี 5 ตาแหนง่ ทีส่ ูบลม 26 ภาพที่ 6 แมนอมิเตอร์ 27 ภาพท่ี 7 วาลว์ กนั้ ระหวา่ งแมนอมิเตอรก์ บั ลกู โปง่ 27 ภาพที่ 8 ท่ีใส่ลกู โปง่ 27 ภาพท่ี 9 แรงที่กระทากบั ยานลอยตวั 28 ภาพที่ 10 ตวั อยา่ งแผน่ ซดี ี 29 ภาพที่ 11 ยานลอยตัวทปี่ ระกอบขน้ึ จากแผ่นซดี ี แผน่ 30 อะลูมิเนยี ม และทอ่ พีวซี ี ภาพท่ี 12 ยานลอยตัวขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 5.24 มิลลิเมตร 30 ภาพที่ 13 ยานลอยตวั ขนาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง 7.24 มลิ ลิเมตร 30
ระยะหา่ ง 1.5 นิ้ว สารบญั กราฟ(TH Sarabun ขนาด 22 เวน้ 1จบุดรตรวัทหดั นา) กราฟท่ี ขนาด 16 จุด หนา้ เวน้ 1 บรรทัด 15 4.1 ทดลองเพอื่ หาสัมประสทิ ธ์ิแรงเสียดทานขขนอางดพ1ืน้ 6โตจ๊ะดุ 16 4.2 ทดลองเพ่อื หาสัมประสิทธ์ิแรงเสียดทานของพ้ืนยาง
ระยะห่าง 1.5 บทท่ี 1 (TH Sarabun ขนาด 22 บทนา จดุ ตวั หนา) 1.1 ทมี่ าและความ(TสHาคSญั arabun ขนาด 18 เวน้ 1 บรรทัด ในปจั จุบนั นี้ การจเดุดนิ ตทวั าหงนแาล) ะการขนสง่ มสี งิ่ ท่ีชว่ ยให้ ชีวิตประจาวนั ของเราสะดวกและรวดเรว็ ด้วยยานพาหนะไมว่ ่าจะ เปน็ ทางบก ทางนา้ หรือแม้กระทงั่ ทางอากาศ ยานพาหนะทใ่ี ช้ โดยสาร และขนสง่ สง่ิ ของอยหู่ ลายรปู แบบ ไมว่ ่าจะเป็น รถยนต์ เครอื่ งบนิ เรอื ยานพาหนะรปู แบบหนงึ่ ท่ีน่าสนใจ คือ ยานพาหนะ ท่ีมกี ารเคลอื่ นทโ่ี ดยอาศัยแรงดันของอากาศในการเคลอ่ื นที่ มชี ื่อ เรียกว่า เบาะอากาศ หรือ โฮเวอรค์ ราฟท์ ในปี 1877 จอรน์ ทอรน์ ค่ี รอฟท์ นกั ออกแบบเรือผ้ปู ราดเปร่อื ง ชาวอังกฤษ เสนอว่า การทีม่ ชี อ่ งอากาศใตท้ ้องเรืออาจชว่ ยลดแรง
เสียดสไี ด้ ไดท้ าการทดสอบแนวคดิ นก้ี บั แบบจาลองเรอื ทอ้ งแบน ด้วยการเจาะเปน็ ช่องใตเ้ รอื อากาศจะถกู กกั อย่ใู นนน้ั และช่วยยก ให้เรือข้ึนพ้นน้า ทาใหค้ วามเร็วเพิม่ ขน้ึ ตอ่ มาได้สร้างแบบจาลอง ทซี่ บั ซอ้ นยงิ่ ขึ้นโดยใชก้ ลไกนาฬิกาเชอ่ื มต่อกบั เครอื่ งเป่าลม เคร่อื งเป่าลมจะสบู อากาศลงไปใต้ทอ้ งเรอื เมื่อมนั ผา่ นน้า อากาศ จะทาหนา้ ท่ีหลอ่ ลน่ื ลดแรงเสียดสีของเรือและเพมิ่ ความเรว็ ขน้ึ ตอ่ มา นกั ออกแบบไดพ้ ฒั นาโฮเวอรค์ ราฟทใ์ หม่สาหรบั ใชท้ าง ทหารโดยเฉพาะ ซึ่งมันเปน็ ทีต่ อ้ งการของกองกาลงั ทว่ั โลก ดว้ ย ความสามารถในการสะเทนิ นา้ สะเทนิ บก การอาพรางตวั เพราะมี พลงั งานแมเ่ หลก็ ตา่ จนโซน่ารไ์ ม่สามารถตรวจจับได้ นอกจากนน้ั โฮเวอรค์ ราฟทย์ งั มคี วามพิเศษในการเหนิ ขา้ มกบั ระเบิดโดยไม่ไป สัมผัส ซึง่ ถึงแมว้ ่ามนั จะระเบิดขนึ้ แตโ่ ฮเวอร์คราฟทก์ ย็ ังทนตอ่ การระเบดิ ได้ทง้ั บนบกและใตน้ า้ แรงดนั บนพน้ื เพยี งนอ้ ยนดิ ทาให้ พวกมันปลอดภัยโดยสิ้นเชงิ คณะผู้จัดทาจงึ ไดศ้ ึกษาหลักการทางานของเบาะอากาศ และ นาผลการศึกษาทไี่ ด้มาลองประดิษฐย์ านลอยตวั จาลองข้ึน ทีม่ ี ลกั ษณะการทางานคล้ายกบั การทางานของเบาะอากาศ เพอ่ื ที่จะ สามารถนามาใชใ้ นการศกึ ษาปัจจัยทที่ าใหเ้ บาะอากาศลอยตวั ใน สภาพแรงเสยี ดทานตา่ ได้ โดยใชแ้ ผ่นซีดี มาสรา้ งเป็นฐานของ ยานลอยตวั ทอ่ พีวซี ีมาสรา้ งเปน็ ฐานปลอ่ ยลม และใช้ลกู โปง่ เปน็ แหล่งปลอ่ ยลม เพราะลกู โปง่ ในแตล่ ะขนาดมีค่าความยืดหยุ่นที่ แตกตา่ งกนั ซ่ึงทาใหส้ ามารถกาหนดขนาด และความดนั ของลกู โปง่ ได้ คอื ขนาดตา่ งความดนั เท่า หรอื ขนาด เทา่ ความดันตา่ งได้ นาวัสดทุ งั้ หมดนามาประกอบเขา้ ดว้ ยกัน จะ ได้เปน็ ยานลอยตัวจาลองซึง่ มีลักษณะการทางานคลา้ ยกบั เบาะ อากาศ จากเหตกุ ารณข์ า้ งต้น เปน็ ผลให้เกิดโครงงานเรอ่ื ง ยาน ลอยตัว เพอื่ ศึกษาปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ เวลาในการลอยตวั ในสภาพ เสียดทานต่าของยานลอยตวั จาลอง ทท่ี าใหย้ านลอยตวั ไดน้ าน ท่ีสุด
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพอ่ื ประดษิ ฐย์ านลอยตวั จาลองจากแผน่ ซดี ี และ ท่อพวี ซี ี เว้น 1 บรรทัด 1.2.2 เพ่ือศกึ ษาปจั จัยที่เกยี่ วข้องมผี ลตอ่ เวลาในสภาพเสียด ทานต่า 1.3 ขอบเขตการศกึ ษเวา้น 1 บรรทัด 1.3.1 ศึกษาสัมประสิทธ์ิแรงเสยี ดทานท่ีต่างกนั คอื พน้ื โต๊ะ และพืน้ ยาง 1.3.2 เสน้ ผ่านศนู ย์กลางของรทู ีป่ ลอ่ ยลม 4 รู คือ 5.24 มลิ ลเิ มตร, 7.24 มิลลเิ มตร, 9.24 มลิ ลิเมตร และ 11.50 มิลลิเมตร 1.3.3 ขนาดของลกู โปง่ 3 ขนาด คอื 20.00 เซนติเมตร, 23.33 เซนตเิ มตร และ 25.53 เซนติเมตร เว้น 1 บรรทดั 1.3.4 ผลตา่ งของระดบั น้า (เทยี บเคยี งความดนั ) 15.96 เซนติเมตร , 18.63 เซนตเิ มตร และ23.60 เซนตเิ มตร 1.3.5 น้าหนกั ของยานลอยตวั คอื 14.38 กรมั , 35.13 กรมั และ45.51 กรัม เวน้ 1 บรรทัด
1.4 สมมตุ ฐิ านการทดลอง 1.8.1 สามารถประดิษฐย์ านลอยตวั จากทีม่ ีหลกั การทางาน คลา้ ยกบั เบาะอากาศจากแผน่ ซดี ี แผน่ อะลูมเิ นียม และท่อพวี ซี ไี ด้ 1.4.2 สัมประสทิ ธแ์ิ รงเสยี ดทานมผี ลนอ้ ยตอ่ เวลาในการ ลอยตวั ในสภาพเสียดทานตา่ ของยานลอยตัว ขนาดของเส้นผา่ น ศนู ยก์ ลางรทู ป่ี ลอ่ ยลมมีขนาดเล็ก ลกู โปง่ ขนาดใหญ่ ความดนั ภายในลูกโปง่ นอ้ ย นา้ หนักของยานลอยตัวมาก สง่ ผลให้เวลาใน การลอยตวั ในสภาพเสยี ดทานต่า ของยานลอยตวั ลอยอยู่ ไดน้ าน 1.5 ตวั แปรทศ่ี กึ ษา 1.5.1 การทดลองที่ 1 ศกึ ษาการลอยตวั ของยานโดยเปลย่ี น สัมประสิทธแิ์ รงเสยี ดทาน 1.5.1.1 ตัวแปรตน้ - สัมประสทิ ธ์ิแรงเสียดทาน 1.5.1.2 ตัวแปรตาม - เวลาทีย่ านลอยตวั ลอยอยใู่ นสภาพแรงเสยี ดทานต่า 1.5.1.3 ตัวแปรควบคมุ - ความดนั (ความต่างของระดับนา้ 23.60 เซนตเิ มตร) - ขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางรปู ลอ่ ยลม (ขนาดเสน้ ผ่าน ศูนยก์ ลาง 5.24 มิลลเิ มตร) - ขนาดของลกู โปง่ (ขนาด 20.00 เซนติเมตร) - น้าหนกั ของยานลอยตวั (14.38 กรัม) 1.5.2 การทดลองที่ 2 ศึกษาการลอยตัวของยานจากขนาด
ของรทู ่ีปล่อยลม 1.5.2.1 ตัวแปรตน้ - ขนาดของรทู ป่ี ลอ่ ยลม 1.5.2.2 ตวั แปรตาม - เวลาทย่ี านลอยตวั ลอยอยใู่ นสภาพแรงเสยี ดทานต่า 1.5.2.3 ตวั แปรควบคมุ - ขนาดของลกู โปง่ (ขนาด 20.00 เซนตเิ มตร) - ความดนั (ความต่างของระดบั นา้ 23.60 เซนติเมตร) - น้าหนักของยานลอยตัว (14.38 กรมั ) - สัมประสทิ ธิแ์ รงเสียดทาน (พน้ื โต๊ะ 0.256479) 1.5.3 การทดลองท่ี 3 ศกึ ษาการลอยตัวของยานจากขนาด ของลูกโปง่ 1.5.3.1 ตัวแปรตน้ - ขนาดลูกโปง่ 1.5.3.2 ตัวแปรตาม - เวลาท่ยี านลอยตวั ลอยอยใู่ นสภาพแรงเสยี ดทานตา่ 1.5.3.3 ตวั แปรควบคมุ - ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางรูปลอ่ ยลม (ขนาดเส้นผ่าน ศูนยก์ ลาง 5.24 มลิ ลิเมตร) - ความดนั (ความตา่ งของระดับนา้ 23.60 เซนตเิ มตร) - นา้ หนักของยานลอยตวั (14.38 กรัม) - สมั ประสทิ ธ์แิ รงเสยี ดทาน (พน้ื โต๊ะ 0.256479) 1.5.4 การทดลองท่ี 4 ศึกษาการลอยตวั ของยานจากความดัน ของลกู โปง่
1.5.4.1 ตวั แปรตน้ - ความดนั (ความตา่ งของระดับน้า) 1.5.4.2 ตวั แปรตาม - เวลาทยี่ านลอยตวั ลอยอยใู่ นสภาพแรงเสียดทานต่า 1.5.4.3 ตวั แปรควบคมุ - ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางรูปลอ่ ยลม (ขนาดเสน้ ผา่ น ศนู ย์กลาง 5.24 มลิ ลิเมตร) - ขนาดของลกู โปง่ (ขนาด 20.00 เซนติเมตร) - นา้ หนักของยานลอยตัว (14.38 กรัม) - สมั ประสทิ ธแ์ิ รงเสยี ดทาน (พนื้ โต๊ะ 0.256479) 1.5.5 การทดลองที่ 5 ศกึ ษาการลอยตัวของยานจากนา้ หนัก ของยานลอยตวั จาลอง 1..5.1 ตัวแปรต้น - นา้ หนักของยานลอยตัว 1.5.5.2 ตวั แปรตาม - เวลาทีย่ านลอยตวั ลอยอยใู่ นสภาพแรงเสยี ดทานตา่ 1.5.5.3 ตวั แปรควบคมุ - ความดนั (ความตา่ งของระดบั นา้ 23.60 เซนติเมตร) - ขนาดของลกู โปง่ (ขนาด 20.00 เซนตเิ มตร) - สมั ประสทิ ธิ์แรงเสียดทาน (พนื้ โตะ๊ 0.256479) - ขนาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลางรูปลอ่ ยลม (ขนาดเส้นผ่าน ศนู ย์กลาง 5.24 มิลลิเมตร) 1.6 นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ยานลอยตัว คอื อปุ กรณเท์วน้ป่ี ร1ะดบษิ รฐรท์ขน้ึัดจากแผน่ ซดี ี แผน่ อะลูมิเนียม และท่อพีวซี เี ชือ่ มเขา้ ด้วยกนั
ระยะห่าง 1.5 บทท่ี 2(TH Sarabun ขนาด 22 เอกสารและงานวจิ ยั ทจดุ เ่ี กตวยั่ี หวนขา)อ้ ง เวน้ 1 บรรทดั ควรมขี อ้ ความเกรน่ิ เพอ่ื นาไปสทู่ มี่ า และความขสนาาคดญั 1ข6อจงดุ เรอื่ งที่ ศกึ ษา 2.1 ทฤษฎที เ่ี กย่ี ว(ขTอ้ HงSarabun ขนาด 18 เวน้ 1 บรรทัด จดุ ตวั หนา) 2.1.1 สมการแบรน์ ูลลี กับ แรงยกใตป้ กี พลศาสตรข์ องของไหลเปน็ การศึกษาของไหลทม่ี กี าร เคลอื่ นทีโ่ ดยสมมตใิ หข้ องไหลเปน็ ของไหลอดุ มคติ พฤติกรรมของ ของไหลอดุ มคตอิ ธบิ ายได้ดว้ ยสมการความตอ่ เนื่อง สมการของ แบรน์ ลู ลีและหลักของแบรน์ ลู ลี ความรูเ้ กี่ยวกบั หลักการของแบร์ นลู ลีนาไปใชอ้ ธบิ ายการทางานของอุปกรณ์บางอยา่ ง เชน่ เครอื่ ง พ่นสี การทางานของปกี เครอื่ งบิน เปน็ ต้นรวมทง้ั ใช้อธบิ าย ปรากฏการณ์บางอย่างในชวี ติ ประจาวนั 2.1.1.1 (หวั ข้อย่อยของ 2.1.1)
1) หัวขอ้ ย่อยของ 2.1.1.1 ระยะหา่ ง 1.5 บทที่ 3 (TH Sarabun ขนาด 22 วธิ ดี าเนนิ การทจดุ ดตลวั อหงนา) 3.1 วสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละเ(TคHรอ่ื Sงaมrอืabun ขนาด 18 เวน้ 1 บรรทดั จดุ ตวั หนา)
3.1.1 อปุ กรณ์และเคร่ืองมอื หลกั ทตี่เว้อ้นงใ1ชบ้ รรทัด ชนดิ อปุ กรณ์ จานวน เครื่องสูบลกู โปง่ และวดั ความดนั 1 เครอ่ื ง เคร่อื งช่งั ดิจทิ อล 1 เครอื่ ง เวอร์เนีย่ ร์ 1 อัน แผน่ เหลก็ ฉากบาง 2 แผน่ เหลก็ กนั้ 4 แทง่ ที่จับหลอดทดลอง(test tube holder) 1 อนั เว้น 1 บรรทดั 3.1.2 วัสดแุ ละอปุ กรณท์ ่ตี อ้ งจดั หา ชนดิ อปุ กรณ์ จานวน ลกู โปง่ 15 ลกู แผน่ ซีดี 6 แผ่น ท่อพวี ซี ี 3 ทอ่ น (เส้นผ่าน ศนู ย์กลาง 1.80เซนติเมตร สูง 3.00 เซนติเมตร)
ระยะห่าง 1.5 บทท่ี 4 (TH Sarabun ขนาด 22 (TH Sarabun ขนาด 18 ผลการทดลจดุองตวั หนา) จดุ ตวั หนา) 4.1 การทดลองท่ี 1 ศกึ ษาการลอยตวั ของยานจากเคว้นวา1มบดรนั รทดั ของลกู โปง่ 4.1.1 ตารางบนั ทึกผลการทดลอง ศกึ ษาการลอยตวั ของยาน โดยเปล่ยี นสัมประสทิ ธแ์ิ รงเสียดทานทดลองเพ่ือหาสมั ประสทิ ธ์แิ รง เสยี ดทาน 4.2 การทดลองท่ี 2 ศกึ ษาการลอยตวั ของยานจากขเนวาน้ ด1เสบน้ รผรา่ ทนัด ศนู ยก์ ลางของรทู ปี่ ลอ่ ยลม
ระยะห่าง 1.5 บทที่ 5 (TH Sarabun ขนาด 22 สรปุ และวจิ ารณผ์ ลจกดุ าตรวั ทหนดาล)อง 5.1 สรปุ ผลการท(TดHลอSงarabun ขนาด 18 เวน้ 1 บรรทดั จดุ ตวั หนา)
จากตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 4.3 พบวา่ สมั ประสิทธแิ์ รง เสียดทานมผี ลนอ้ ยกบั เวลา จากตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 4.4 พบวา่ ขนาดเสน้ ผ่าน ศูนยก์ ลางรทู ป่ี ลอ่ ยลม มผี ลตอ่ เวลาในการลอยตัวของยานลอยตัว เม่อื เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางรทู ป่ี ล่อยลมท่ีมีขนาดเลก็ เวลาในการ ลอยตัวจะนานกวา่ เส้นผา่ นศูนยก์ ลางรทู ่ปี ลอ่ ยลมทมี่ ขี นาดใหญ่ จากตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 4.5 พบว่า ขนาดของลูกโปง่ มผี ลต่อเวลาในการลอยตวั ของยานลอยตัวเม่ือลกู โปง่ ท่ีมขี นาด ใหญก่ วา่ จะลอยตวั ไดน้ านกวา่ ลกู โป่งท่มี ีขนาดเลก็ กวา่ จากตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 4.6 พบว่า จากการทดลอง ความดนั ของลูกโปง่ (ความตา่ งของระดบั นา้ ) มีผลตอ่ เวลาในการ ลอยตวั ของยานลอยตัว เม่ือลกู โปง่ ที่มคี วามดนั นอ้ ยกวา่ จะลอยตัว ไดน้ านกวา่ ลูกโป่งทมี่ คี วามดนั มากกวา่ 5.2 อภปิ รายผลการ(ทTHดลSอaงrabun ขนาด 18 เว้น 1 บรรทัด จดุ ตวั หนา) จากตารางบนั ทึกผลการทดลองทงั้ หมด พบวา่ ถ้าหาก สมั ประสิทธแิ์ รงเสียดทานของพนื้ มผี ลน้อยกบั เวลาเสน้ ผา่ น ศนู ย์กลางรทู ปี่ ล่อยลมมีขนาดเลก็ ขนาดลูกโปง่ ใหญ่ ความดนั ลกู โปง่ น้อย แล(TะHนา้ Sหaนrกัaขbuอnงยขานนาลดอย1ต8วั มากเวสน้ ง่ ผ1ลบใรหรย้ ทาัดนลอยตวั ลอยอยใู่ นสภจาดุพแตรวั งหเสนียาด) ทานต่าไดน้ าน 5.3 ขอ้ เสนอแนะ ยานลอยตวั ทศ่ี ึกษาในโครงงานน้ีเปน็ เพยี งการจาลองเพอ่ื ใหร้ ู้
ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการลอยตวั ของยานในสภาพเสียดทานตา่ อยาก ให้ผทู้ ี่ศกึ ษาลองนาโครงงานนไ้ี ปตอ่ ยอดในไปประดษิ ฐ์คิดค้นยาน ลอยตัวทส่ี ามารถเปน็ ไดท้ ง้ั ยานพาหนะและขนส่งส่ิงของไดใ้ น ชวี ติ ประจาวนั โดยนาปจั จยั ท่ีคณะผูจ้ ดั ทาไดศ้ ึกษาไปประยกุ ตใ์ ช้ เพ่ือใหไ้ ดย้ านลอยตวั ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพสูงท่สี ุด ระยะห่าง 1.5 เอกสารอา้ งอ(Tงิ H Sarabun ขนาด 22 จดุ ตเววั ้นห1นาบ)รรทัด สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2557). พลศาสตรข์ องไหล หนงั สอื เรยี นวชิ าฟสิ กิ ส์ 4 ว029. (หนา้ 33-34). กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ รุ สุ ภา ลาดพร้าว, 2554. ณัฐพล ภษู าและฐติ กิ ร คาวงั . (2555). เรอื สะเทนิ นา้ สะเทนิ บก. (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก : https://app.enit.kku.ac.th/mis/administrator/doc_uplo ad/201303041 65755.pdf. (วนั ทส่ี บื ค้น : 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2558).
ปิยะ พละคช. สมการของแบรน์ ลู ล.ี (2555). (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้ จาก : http://www.scimath.org/ socialnetwork/groups/viewbulletin/1702. (วันทส่ี บื ค้น : 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2558). นิรนาม. พลศาสตรข์ องไหล(Fluid Dynamics). (ม.ป.ป). (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www. atom. rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/9/Fluid/ fluiddynamic.htm. (วันทีส่ บื คน้ : 14 กมุ ภาพันธ์ 2558). ยอโกะ กติ ะกะมิ และคณะ. (2558). การศกึ ษาการแพรข่ องอากาศ โดยลกู โปง่ สองใบ. วชิ าระเบยี บ วิจัย ว30291 โครงการพเิ ศษหอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และ ส่ิงแวดลอ้ ม โรงเรียนปทมุ เทพวทิ ยาคาร. สมศักดิ์ ตนั ตวิ ิวทั น.์ (2555). โฮเวอรค์ ราฟต์ และไฮโดรฟอยล.์ (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.rtc.ac.th/www_km/02/021/1101.pdf. (วนั ที่ สืบคน้ :13 กุมภาพนั ธ์ 2558). Brian R. (2007). Air-layer Induced Skin-frictionDrag Reduction. [homepage on the Internet]. [cited 2015 Feb.14].Available from:
http://sitemaker.umich.edu/belbing/files/aldr_rev1.pd f. ระยะหา่ ง 1.5 (TH Sarabun ขนาด 18 ภาคผนวก(TH Sarabun ขนาด 22 จดุ ตวั หนา) จดุ ตเววั น้ ห1นาบ)รรทัด ภาคผนวกท่ี 1 : อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการวดั ความดนั และวัด ขนาดของลกู โป่ง
ภาพท่ี 3 อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการวัดความดนั และวดั ขนาด ของลกู โปง่ ภาพที่ 4 วาล์วเช่อื ม ระหวา่ งลูกโป่ง
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: