Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืองานบุคลากรโรงเรียนบ้านพลวงฯ

คู่มืองานบุคลากรโรงเรียนบ้านพลวงฯ

Published by KroorachaneChanel, 2022-08-22 03:30:15

Description: คู่มืองานบุคลากรโรงเรียนบ้านพลวงฯ

Search

Read the Text Version



ข คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์) กลมุ่ บริหารงานบุคคล โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์) เครือขา่ ยการจัดการศึกษาปราสาท สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต 3 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ค คานา คมู่ ือการบรหิ ารงานกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคลโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ฉบับน้จี ัดทำขึ้นเพื่อ เสริมสรา้ งความเขา้ ใจแก่ครแู ละบุคลากรในโรงเรียนในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ การใหบ้ รกิ ารและการจัดการศึกษาแก่ นักเรียนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยจัดทำให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนตามแนวทางการ กระจายอำนาจสู่สถานศึกษาของสพฐ. กลุ่มบริหารงานบุคคลได้จัดกรอบงานให้ครอบคลุมกับภาระงานที่กลุม่ ปฏบิ ัติอยเู่ ดิม และเพม่ิ เติมให้สอดคล้องกับสภาพของโรงเรียนในการจดั การศึกษาและให้บริการทางการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งหวังว่า ภาระงานที่ปฏิบัติจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ทุกประการ ตลอดจน ผู้เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายมคี วามพงึ พอใจต่อการปฏบิ ัตงิ านของฝา่ ยบริหารงานบุคคล คูม่ อื ฉบับน้ีไดบ้ รรจุเน้อื หาสาระเพียงขอบข่ายงาน (พรรณนางาน : Job descriptions) ตามกรอบงาน ที่บรรจไุ วใ้ นโครงสรา้ งการบริหารงาน วธิ ปี ฏิบัตงิ านเป็นมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน และคณะทำงานยินดีน้อมรับ ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวมและโรงเรียนทุกประการ (นายศักดิ์ชยั เลศิ อรุณรัตน์) ผ้อู านวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)

ง หนา้ สารบัญ 1 2 คานา 3 สารบญั 3 วิสัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา 3 กลยุทธ์ 5 นโยบายของโรงเรียน 5 แนวทางการดำเนินงานยกระดบั คุณภาพการศึกษา ปฐมวัย/ภาคบังคับ 5 เป้าหมายในการพัฒนาการศึกษา 6 การบรหิ ารงานบคุ คล 6 แนวคิด 6 ขอบข่ายงานบุคลากร 7 เป้าหมาย (Goals) ปกี ารศกึ ษา 2564-2565 7 วางแผนอตั รากำลัง/การกำหนดตำแหน่ง 8 การสรรหาและบรรจุแตง่ ตงั้ 8 การพฒั นาบุคลากร 8 การเลอื่ นข้ันเงนิ เดือน 8 เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ 9 วินัยและการรักษาวนิ ัย 18 สวัสดกิ ารครู 19 สามะโนนักเรียน/รับนกั เรียน 20 การปฏิบตั ริ าชการของข้าราชการครู 22 การเลือ่ นข้นั เงนิ เดือน การฝึกอบรมและลาศกึ ษาต่อ การออกจากราชการ คณะผจู้ ดั ทา

1 วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย อตั ลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา วสิ ัยทัศน์ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) นำองค์กรสู่มาตรฐานสากล เปี่ยมความรู้ คู่คุณธรรม ดำรง ความเป็นไทย ใส่ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เคยี งคูเ่ ทคโนโลยี (vision) Banpluang(Prombamrungrat) School aims to reach international standard, to develop students with knowledge and morality, to preserve Thai cultures and to consider the sufficiency economy philosophy together with the use of technology. วิสัยทัศน์วชิ าการ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาชาติ พันธกจิ (MISSION) 1. ผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ี สมบูรณ์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม รักความเปน็ ไทย และรับผิดชอบต่อสังคม 2. สง่ เสรมิ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 3. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานสากล สคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการอย่างยัง่ ยนื 4. พัฒนาส่ือเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา เพื่อพฒั นาคณุ ภาพทางการศกึ ษา 5. จัดกระบวนการการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลท่ีหลากหลายอยา่ งมคี ุณภาพ เออ้ื ต่อการ พัฒนาผู้เรียนอยา่ งรอบดา้ น 6. พฒั นาการบริหารจัดการศึกษาอยา่ งมรี ะบบตามหลกั ธรรมาภิบาล 7. พัฒนาสถานศกึ ษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และมสี ภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ 8. ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และสร้างภาคีเครือข่าย เพื่อสนับสนุน การจดั การศกึ ษา

2 เป้าประสงค์ (Goal) 1. ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานสากล มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม บนพื้นฐาน ความเป็นไทย น้อมนำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารดำรงชีวติ 2. ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถจัดการ เรยี นการสอนตามมาตรฐานสากล 3. โรงเรยี นมหี ลกั สูตรสถานศกึ ษาทีส่ ่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการตามมาตรฐานสากล ตอบสนอง ความถนดั และความตอ้ งการของผ้เู รียน ชุมชน และสังคม 4. โรงเรียนพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูและ นกั เรยี นใช้ในการจดั การศึกษาที่มีคุณภาพ 5. โรงเรียนมีการจัดกระบวนการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลที่มี คณุ ภาพ ทเี่ ออ้ื ต่อการพัฒนานกั เรยี นอย่างรอบด้าน 6. โรงเรียนมกี ารบริหารจัดการศกึ ษาอย่างมรี ะบบตามหลกั ธรรมาภบิ าล 7. โรงเรยี นพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และสภาพแวดลอ้ มใหเ้ อ้อื ตอ่ การเรยี นร้อู ยา่ งมีคุณภาพ 8. ชุมชน ผู้ปกครอง และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาที่มี คุณภาพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานสากล เปน็ ผมู้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ตามคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ และดำรงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. พฒั นาศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญตาม มาตรฐานสากล 4. พัฒนาระบบการบรหิ ารการจดั การศึกษาด้วยหลักธรรมาภบิ าล เน้นกระบวนการมีสว่ น ร่วม 5. พัฒนาอาคารสถานที่ ส่ิงแวดลอ้ ม แหล่งเรียนรแู้ ละภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ทเ่ี อ้ือตอ่ การ เรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ

3 นโยบายของโรงเรียน 1. ระบบบริหารการจัดการศึกษาได้มาตรฐานการศึกษาชาติ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรยี น เป็นสำคัญ โดยเน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ 2. ยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้มีความสามารถตามมาตรฐานการจัดการศึกษา และมีทักษะการ แข่งขนั ทางวชิ าการ 3. จัดการศกึ ษาแบบมีส่วนร่วมระหว่างบา้ น วดั โรงเรยี น แนวทางการดำเนินงานยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ปฐมวัย/ภาคบังคับ 1. พัฒนาระบบการกำกบั ตดิ ตาม การตรวจสอบ ประเมนิ วิจัย พัฒนาและรายงาน 2. ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา 3. ปรับปรุงหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน 4. สง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ 5. นำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สูก่ ารเรียนการสอน 6. พฒั นาศักยภาพดา้ นการอ่าน การเขยี นและคิดเลข 7. เพม่ิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (คณิต วทิ ย์ ไทย สังคม อังกฤษ) 8. พัฒนาครูสูค่ รูมืออาชีพ เปา้ หมายในการพฒั นาการศึกษา ดา้ นปรมิ าณ • นกั เรียนทีจ่ บช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ศึกษาต่อในระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา 100 % • เกณฑเ์ ดก็ ในการศึกษาภาคบงั คบั เขา้ เรยี นชั้น ป.1 ไดค้ รบทุกคน • ลดอตั ราการออกกลางคนั ของนักเรียน • นักเรียนมีสุขภาพดี มนี ้ำหนกั ตามเกณฑ์มาตรฐาน • จัดส่งบุคลากรในโรงเรียนเข้ารบั การอบรม ทัศนศึกษา ดูงานเพอื่ พฒั นาคุณภาพของ บุคลากร • ลดการขาดเรยี นของนักเรียนทุกช้นั มาตรการในการจัดการศกึ ษา • โรงเรียนใช้แผนงานและโครงการปฏบิ ตั งิ านเปน็ เครื่องมอื ในการบริหารงาน • โรงเรียนดำเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

4 • พฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยเนน้ และสง่ เสริมกิจกรรมการอ่านคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง คิด เลขเรว็ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ • กิจกรรมการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยพัฒนาทักษะการอ่านคิด วิเคราะห์ • โรงเรียนดำเนินการนเิ ทศ ติดตาม กำกับ การดำเนนิ งานอยา่ งต่อเนื่อง โดยเน้นการ นเิ ทศภายใน • ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนใหส้ งู ข้นึ เพอื่ สู่ความเป็นเลิศทางวชิ าการ ตราประจำโรงเรยี น ปรชั ญา วิริเยน ทกุ ขมจฺ เจติ (บคุ คลล่วงทกุ ข์ได้ดว้ ยความเพียร) คำขวญั “เรียนดี มวี นิ ัย พลานามัยสมบรู ณ”์ จดุ เน้น ฉลาดใช้เทคโนโลยี ภาษาดี ดนตรเี ด่น เน้นทกั ษะชีวิต อตั ลักษณข์ องสถานศึกษา “ย้ิมงาย ไหว้สวย” เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา “สะอาด บรรยากาศร่มร่นื ” ศูนย์รวมจิตใจ พระพุทธพรหมบำรงุ ราษฎร์) พระพุทธรปู ประจำโรงเรียน พระพทุ ธพรหมบำรุงราษฎร์) สีประจำโรงเรยี น แดง-ขาว ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานคนปัจจุบนั นายมติ ร พะงาตนุ ัด

5 การบรหิ ารงานบคุ คล การบริหารงานบุคคล หมายถึง การหาทางใช้คนที่อยู่ร่วมกันในองค์กรนั้น ๆ ให้ทำงานได้ผล ดีที่สุด สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ในขณะเดียวกันก็สามารถทำให้ผู้ร่วมงานมีความสุขมีความพอใจ ที่จะให้ความ รว่ มมือและทำงานรว่ มกบั ผบู้ ริหาร เพอื่ ใหง้ านขององค์กรน้ัน ๆ สำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี แนวคิด 1. ปัจจยั ทางการบริหารท้งั หลายคนถอื เปน็ ปัจจยั ทางการบริหารท่ีสำคัญท่สี ดุ 2. การบรหิ ารงานบคุ คลจะมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลผบู้ รหิ ารจะตอ้ งมีความรู้ ความเข้าใจและมี ความสามารถสงู ในการบรหิ ารงานบุคคล 3. การจดั บคุ ลากรใหป้ ฏบิ ตั ิงานไดเ้ หมาะสมกับความรูค้ วามสามารถจะมีสว่ นทำใหบ้ ุคลากร มีขวัญ กำลงั ใจ มคี วามสุขในการปฏบิ ตั งิ าน ส่งผลใหง้ านประสบผลสำเรจ็ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4. การพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถอย่างสม่ำเสมอและตอ่ เนื่องจะทำใหบ้ ุคลากร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและกระตือรือรน้ พฒั นางานใหด้ ียิ่งขนึ้ 5. การบริหารงานบคุ คลเน้นการมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากรและผมู้ สี ่วนไดเ้ สียเป็นสำคัญ ขอบขา่ ยงานบุคลากร 1. สง่ เสริมและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธิภาพ 2. ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนปฏบิ ัติตามในหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชพี ครู 3. ส่งเสรมิ การประชาสมั พนั ธข์ อ้ มูลขา่ วสารของบุคลากรภายในโรงเรยี นแก่ผู้เก่ยี วข้องอย่างทัว่ ถึง และมีประสิทธภิ าพ 4. สง่ เสริม และสนบั สนุนใหค้ รูและบคุ ลากรได้รับการพฒั นาตามสมรรถนะวิชาชพี ครู 5. ประสานความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรียน ผปู้ กครอง และชมุ ชน ในการพฒั นา โรงเรียน 6. ส่งเสริมให้คณะครูปฏบิ ัตหิ น้าทด่ี ้วยความซ่ือสัตย์สจุ ริต 7. ส่งเสริมให้คณะครปู ฏิบัติตนในการดำเนินชีวติ โดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพียง

6 เปา้ หมาย (Goals) ปีการศึกษา 2564 – 2565 1. ส่งเสริมและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนปฏิบัตติ ามในหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชีพ ครู 3. ส่งเสรมิ การประชาสัมพนั ธ์ขอ้ มลู ข่าวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแกผ่ ู้เกย่ี วข้องอย่างทัว่ ถงึ และมปี ระสิทธิภาพ 4. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหค้ รูและบคุ ลากรได้รบั การพัฒนาตามสมรรถนะวิชาชพี ครู 5. ประสานความรว่ มมือระหว่างโรงเรยี น ผปู้ กครอง และชมุ ชน ในการพฒั นา โรงเรยี น 6. สง่ เสริมใหค้ ณะครูปฏิบตั ิหน้าทด่ี ้วยความซ่ือสัตย์สจุ รติ 7. ส่งเสริมให้คณะครปู ฏิบัติตนในการดำเนนิ ชีวติ โดยยดึ หลักเศรษฐกิจพอเพียง วางแผนอตั รากำลัง/การกำหนดตำแหนง่ มหี นา้ ที่ 1. จัดทำแผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั งิ านประจำปีและปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงาน 2. จัดทำแผนงานอตั รากำลงั ครู / การกำหนดตำแหนง่ และความต้องการครูในสาขาทีโ่ รงเรียนมี ความต้องการ 3. จดั ทำรายงานอัตรากำลังครูต่อหน่วยงานตน้ สังกัด การสรรหาและบรรจุแต่งต้ัง มหี น้าท่ี 1. วางแผนดำเนนิ การสรรหาและเลือกสรรและกำหนดรายละเอียดแผนปฏิบตั งิ าน 2. กำหนดรายละเอียดเกีย่ วกบั การสรรหาการเลอื กสรรคุณสมบตั ิของบุคคลทรี่ บั สมคั ร 3. จัดทำประกาศรบั สมัคร 4. รบั สมคั ร 5. การตรวจสอบคุณสมบัติผสู้ มัคร 6. ประกาศรายช่ือผมู้ ีสทิ ธิรับการประเมิน

7 7. แตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนินการสรรหาและเลือกสรร 8. สอบคดั เลือก 9. ประกาศรายชือ่ ผู้ผา่ นการเลือกสรร 10. การเรียกผทู้ ่ผี า่ นการคดั เลือกมารายงานตวั 11. จดั ทำรายต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั การพฒั นาบุคลากร มีหน้าที่ 1. จัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 2. สำรวจความตอ้ งการในการพัฒนาครแู ละบุคลากรในโรงเรียน 3. จัดทำแผนพัฒนาตนเองของครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี น 4. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหค้ รแู ละบุคลากรได้รับการพัฒนา 5. จัดทำแฟ้มบคุ ลากรในโรงเรยี น 6. ติดตาม ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการปฏิบัตงิ านเสนอผู้อำนวยการ 7. งานอ่นื ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย การเลื่อนขั้นเงินเดอื น มีหนา้ ที่ 1. จดั ทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 2. นเิ ทศ ตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ านของครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น 3. ประชมุ คณะกรรมการในการพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดอื นประจำปี 4. จัดทำบัญชผี ทู้ ีไ่ ด้รับการพจิ ารณาเลอื่ นข้นั ประจำปโี ดยยึดหลกั ความโป่รงใส คุณธรรมจริยธรรม และการปฏิบัติงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 5. แต่งต้ังผู้ที่ไดร้ บั การเล่ือนข้ันเงินเดอื นรายงานต่อต้นสังกดั

8 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มีหน้าที่ 1. จดั รวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ 2. สำรวจความตอ้ งการขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ของคณะครแู ละบคุ ลากร 3. ส่งเสริมและสนบั สนุนขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ของคณะครูและบุคลากรในโรงเรยี น 4. จัดทำแฟ้มข้อมลู การไดร้ บั พระราชทานเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณข์ องคณะครูและบคุ ลากรใน โรงเรียน วินัยและการรักษาวนิ ยั มีหนา้ ท่ี 1. จัดรวบรวมเอกสารเกย่ี ววินยั และการรักษาวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรในโรงเรียน 2. จดั ทำแฟ้มข้อมลู เก่ียวกับการทำผิดเก่ยี วกับวินัยของข้าราชการครูและบคุ ลากรในโรงเรยี น สวัสดิการครู มหี น้าท่ี 1. วางแผนดำเนินงานเกี่ยวกับสวสั ดกิ ารของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน 2. มอบของขวญั เป็นกำลังใจในวันสำคัญตา่ ง ๆ วนั เกิด แสดงความยินดีท่ผี ่านการประเมนิ ครู ชำนาญการพเิ ศษ ของครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี น 3. ซอ้ื ของเย่ียมไขเ้ มื่อเจ็บป่วยหรอื นอนพักรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล สำมะโนนักเรยี น/รับนักเรียน มีหนา้ ท่ี 1. วางแผนในการจัดทำสำมะโนนักเรียน 2. สำมะโนนกั เรยี นในเขตบริการของโรงเรยี น 3. จัดทำเอกสารการรบั สมัครนกั เรยี น ชนั้ อนบุ าล 2 ประถมศึกษาปที ี่ 1 และมธั ยมศึกษาปีที่ 1 4. เปิดรบั สมคั รนักเรยี น ชน้ั อนุบาล 2 ประถมศึกษาปที ่ี 1 และมัธยมศึกษาปที ่ี 1

9 5. จัดทำแฟ้มนักเรียน ช้นั อนุบาล 2 ประถมศึกษาปีท่ี 1 และมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 6. สรปุ การจดั ทำสำมะโนนักเรียนรายงานหนว่ ยงานต้นสงั กัด การปฏิบัติราชการของข้าราชการครู 1. การลา การลาแบ่งออกเป็น 9 ประเภท คือ 1. การลาปว่ ย 2. การลาคลอดบุตร 3. การลากจิ ส่วนตวั 4. การลาพักผ่อน 5. การลาอปุ สมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ 6. การลาเข้ารบั การตรวจเลอื กหรือเข้ารับการเตรียมพล 7. การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดงู าน หรอื ปฏบิ ตั ิการวจิ ยั 8. การลาไปปฏิบตั ิงานในองค์การระหวา่ งประเทศ 9. การลาติดตามค่สู มรส การลาป่วย ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาป่วยเพื่อรักษาตัวให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจอนุญาตก่อนหรือในวันที่ลาเว้นแต่ในกรณีจำเป็นจะเสนอหรอื จัดส่งใบลา ในวันแรก ทม่ี าปฏบิ ัตริ าชการกไ็ ด้ ในกรณีทขี่ า้ ราชการผขู้ อลามอี าการป่วยจนไม่สามารถจะลงช่ือในใบลาไดจ้ ะให้ผู้อ่ืนลา แทนก็ได้ แต่เมื่อสามารถลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว การลาป่วยตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมี ใบรบั รองของแพทย์ซ่งึ เปน็ ผู้ที่ได้ข้ึนทะเบียนและ รับใบอนญุ าตเปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับใบลา ด้วย ในกรณีจำเป็นหรือเห็นสมควรผู้มีอำนาจอนุญาตจะสั่งให้ใช้ใบรับรองของแพทย์ซึ่งผู้มีอำนาจอนุญาต เหน็ ชอบแทนก็ได้ การลาป่วยไมถ่ ึง 30 วนั ไม่วา่ จะเป็นการลาครั้งเดียวหรอื หลายคร้งั ตดิ ตอ่ กัน ถา้ ผ้มู อี ำนาจ อนุญาตเห็นสมควร จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ตามวรรคสามประกอบใบลา หรือสั่งให้ผู้ลาไปรับการ ตรวจ จากแพทย์ของทางราชการเพ่อื ประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้

10 การลาคลอดบุตร ข้าราชการซึ่งประสงคจ์ ะลาคลอดบตุ ร ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาตอ่ ผู้บังคับบญั ชา ตามลำดับ จนถงึ ผ้มู อี ำนาจอนุญาตก่อนหรอื ในวันทีล่ า เว้นแต่ไมส่ ามารถจะลงช่ือในใบลาได้ จะให้ผู้อ่ืนลาแทน ก็ได้ แต่เมื่อสามารถลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว และมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยได้รับ เงินเดือน ครั้งหนึ่งได้ การลาคลอดบุตรจะลาในวันที่คลอดก่อนหรือหลังวันท่ีคลอดบุตรก็ได้ แต่เมื่อรวมวันลาแล้ว ต้อง ไมเ่ กิน 90 วัน การลากิจส่วนตัว ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลากิจส่วนตัว ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำดับ จนถึงผู้มีอำนาจอนุญาต และเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะหยุดราชการได้ เว้นแต่มีเหตุจำเป็น ไม่ สามารถรอรับอนุญาตได้ทันจะเสนอหรือจัดสง่ ใบลาพร้อมด้วยระบุเหตุจำเป็นไว้แล้ว หยดุ ราชการ ไปก่อนก็ได้ แตจ่ ะต้องชี้แจงเหตผุ ลให้ผูม้ อี ำนาจอนุญาตทราบโดยเรว็ ในกรณีมเี หตุพิเศษที่ไม่อาจเสนอหรือจัดสง่ ใบลาก่อน ตามวรรคหนึ่งได้ ให้เสนอหรือจัดส่ง ใบลาพร้อมทั้งเหตุผลความจำเป็นต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มี อำนาจอนุญาตทันทีในวันแรก ที่มาปฏิบัติราชการ ข้าราชการมีสิทธลิ ากิจส่วนตวั โดยได้รับเงินเดือนปีละไม่ เกิน 45 วันทำการ ข้าราชการที่ลาคลอดบุตรตามข้อ 18 แล้ว หากประสงค์จะลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ใหม้ ี สทิ ธลิ าตอ่ เนือ่ งจากการลาคลอดบุตรไดไ้ ม่เกนิ 150 วันทำการ โดยไม่มสี ทิ ธิไดร้ บั เงนิ เดอื นระหวา่ งลา การลาพกั ผ่อน ข้าราชการมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีหนึ่งได้ 10 วันทำการเว้นแต่ข้าราชการ ดังต่อไปน้ี ไม่มสี ิทธลิ าพักผอ่ นประจำปีในปที ไ่ี ดร้ บั บรรจุเข้ารับราชการยงั ไม่ถงึ 6 เดือน 1. ผู้ซึ่งได้รับบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครั้งแรก ผู้ซึ่งลาออกจากราชการเพราะเหตุส่วนตัว แล้วตอ่ มาไดร้ บั บรรจเุ ขา้ รับราชการอีก 2. ผู้ซ่งึ ลาออกจากราชการเพอ่ื ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเพอ่ื สมัครรับเลือกตง้ั แลว้ ตอ่ มาได้รบั บรรจุเข้ารับราชการอกี หลงั 6 เดือน นบั แตว่ นั ออกจากราชการ 3. ผู้ซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการในกรณีอื่น นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมาย ว่าด้วย การรับราชการทหารและกรณีไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงคข์ องทางราชการ แล้วต่อมา ได้รับบรรจุเข้า รับราชการอีกถ้าในปีใดข้าราชการผู้ใดมิได้ลาพักผ่อนประจำปีหรือลาพักผ่อนประจำปี แล้วแต่ไม่ครบ 10 วัน ทำการ ใหส้ ะสมวันที่ยังมิได้ลาในปนี ้นั รวมเขา้ กบั ปตี ่อ ๆไปได้ แต่วนั ลาพกั ผอ่ น สะสมรวมกบั วันลาพกั ผอ่ นในปี ปัจจบุ ันจะตอ้ งไม่เกิน 20 วนั ทำการ สำหรับผทู้ ี่ได้รบั ราชการตดิ ต่อกันมาแลว้ ไม่น้อยกว่า 10 ปี ให้มีสิทธินำวัน ลาพกั ผอ่ นสะสม รวมกับวนั ลาพกั ผ่อนในปปี จั จบุ นั ไดไ้ ม่เกนิ 30 วันทำการ การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธฮี จั ย์ ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาอุปสมบทใน พระพุทธศาสนา หรือข้าราชการที่นับถือศาสนา อิสลามซึ่งประสงค์จะลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ

11 ประเทศซาอุดีอาระเบียให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญช าตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจพิจารณาหรือ อนุญาตกอ่ นวนั อุปสมบท หรอื ก่อนวนั เดนิ ทางไปประกอบพิธฮี ัจย์ไมน่ ้อยกวา่ 60 วัน ในกรณมี เี หตพุ ิเศษไม่อาจ เสนอหรอื จัดส่งใบลาก่อนตามวรรคหนง่ึ ใหช้ ี้แจงเหตุผลความ จำเปน็ ประกอบการลา และใหอ้ ยู่ในดุลพินิจของ ผู้มีอำนาจที่จะพิจารณาให้ลาหรือไม่ก็ได้ ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาอุปสมบท หรือได้รับอนุญาตให้ลาไป ประกอบพิธีฮัจย์แล้วจะต้องอุปสมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ภายใน 10 วัน นับแต่ วันเริ่มลา และจะต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน 5 วัน นับแต่วันที่ลาสิกขา หรือ วนั ทเ่ี ดนิ ทางกลบั ถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไปประกอบพธิ ฮี จั ย์ การลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรยี มพล ข้าราชการที่ไดร้ ับหมายเรยี กเข้ารับการตรวจ เลือก ให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนวัน เข้ารับการตรวจเลือกไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง ส่วนข้าราชการที่ ได้รับหมายเรียกเข้ารับการเตรียมพล ให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่เวลารับ หมายเรียกเป็นต้นไป และให้ไปเข้า รับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพลตามวันเวลาในหมายเรียกนั้น โดยไม่ต้องรอรับคำสั่ง อนุญาต และให้ผู้บังคับบัญชาเสนอรายงานลาไปตามลำดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้า ส่วนราชการขึ้นตรง การลาไปศกึ ษา ฝึกอบรมดูงาน หรอื ปฏบิ ตั ิการวจิ ัย ขา้ ราชการซง่ึ ประสงค์จะลาไปศึกษาฝกึ อบรม ดู งาน หรือปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึง ปลัดกระทรวงหรอื หวั หน้าส่วนราชการข้ึนตรงเพ่อื พจิ ารณาอนุญาตสำหรบั การลาไปศึกษาฝึกอบรมดูงาน หรือ ปฏิบัติการวิจัยในประเทศให้เสนอหรือจัดส่ง ใบลาตามลำดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้าส่วน ราชการขึ้นตรงเพื่อพิจารณาอนุญาต เว้นแต่ข้าราชการกรุงเทพมหานครให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อปลัด กรงุ เทพมหานคร สำหรับหัวหน้า ส่วนราชการให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อปลัดกระทรวง หวั หน้าส่วนราชการ ขึ้นตรงและข้าราชการ ในราชบัณฑิตยสถานให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดส่วนปลัด กรงุ เทพมหานครใหเ้ สนอ หรือจดั ส่งใบลาต่อผ้วู ่าราชการกรงุ เทพมหานคร เพ่ือพจิ ารณาอนุญาต การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาไปปฏิบัติงานใน องค์การระหว่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลา ต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อ พิจารณา โดยถือปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑ์ ท่ีกำหนด การลาติดตามคู่สมรส ข้าราชการซง่ึ ประสงค์ตดิ ตามคู่สมรสใหเ้ สนอหรือจัดสง่ ใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำดับ จนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงแล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาอนุญาตให้ลาได้ไม่ เกิน สองปแี ละในกรณีจำเป็นอาจอนุญาตใหล้ าได้อีกสองปี แต่เม่ือรวมแลว้ ต้องไมเ่ กินสป่ี ี ถ้าเกินสี่ปี ให้ลาออก

12 จากราชการสำหรับปลัดกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการข้ึนตรง และข้าราชการ ในราชบัณฑิตยสถานให้เสนอ หรือจัดส่งใบลาต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ส่วนปลัดกรุงเทพมหานครให้เสนอ หรือจัดส่งใบลาต่อผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครเพอ่ื พจิ ารณาอนุญาต วนิ ยั และการดำเนนิ การทางวนิ ัย วนิ ัย : การควบคุมความประพฤติของคนในองคก์ รใหเ้ ปน็ ไปตามแบบแผนทพ่ี งึ ประสงค์ วินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา : ข้อบัญญัติที่กำหนดเป็นข้อห้ามและ ข้อปฏิบัติตาม หมวด 6 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2551 โทษทางวนิ ยั มี 5 สถาน คอื วนิ ยั ไมร่ ้ายแรง มดี ังน้ี 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงนิ เดอื น 3. ลดขัน้ เงนิ เดือน วินัยรา้ ยแรง มีดงั น้ี 4. ปลดออก 5. ไล่ออก การว่ากล่าวตักเตือนหรือการทำทัณฑบ์ นไมถ่ ือวา่ เป็นโทษทางวนิ ยั ใชใ้ นกรณีทเ่ี ป็นความผิด เล็กน้อย และมีเหตุอันควรงดโทษ การวา่ กล่าวตกั เตือนไมต่ ้องทำเป็นหนงั สอื แตก่ ารทำทณั ฑ์บนต้องทำเป็นหนังสือ(มาตรา 100 วรรคสอง) โทษภาคทณั ฑ์ ใช้ลงโทษในกรณีที่เป็นความผิดเล็กน้อยหรือมีเหตุอันควรลดหย่อน โทษภาคทัณฑ์ไม่ต้องห้ามการเลื่อนขั้น เงินเดือน โทษตดั เงินเดอื นและลดข้ันเงนิ เดอื น ใช้ลงโทษในความผดิ ท่ไี มถ่ งึ กับเปน็ ความผิดรา้ ยแรง และไมใ่ ช่กรณีที่เปน็ ความผิดเล็กน้อย โทษปลดออกและไลอ่ อก ใชล้ งโทษในกรณีทเ่ี ป็นความผดิ วนิ ัยรา้ ยแรงเทา่ น้ัน

13 การลดโทษความผิดวินยั ร้ายแรง หา้ มลดโทษต่ำกวา่ ปลดออก ผู้ถกู ลงโทษปลดออกมีสทิ ธไิ ดร้ บั บำเหน็จบำนาญเสมอื นลาออก การสัง่ ให้ออกจากราชการไม่ใช่โทษทางวนิ ัย วนิ ัยไม่รา้ ยแรง ได้แก่ 1. ไม่สนบั สนนุ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมุข ตามรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยดว้ ยความบรสิ ุทธ์ิใจ 2. ไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เสมอภาค และเที่ยงธรรม ต้องมีความวิริยะ อุตสาหะขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ และต้องปฏิบัติตน ตามมาตรฐานและ จรรยาบรรณวชิ าชพี 3. อาศยั หรอื ยอมให้ผอู้ ่ืนอาศยั อำนาจและหน้าที่ราชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรง หรอื ทางอ้อมหา ประโยชนใ์ ห้แก่ตนเองและผู้อ่นื 4. ไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและ หน่วยงาน การศึกษามติครม. หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้ เกิดความเสียหายแก่ ราชการ 5. ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและ ระเบียบ ของทางราชการแต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคำสั่งนั้นจะทำให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะ เป็นการไม่รักษา ประโยชน์ของทางราชการจะเสนอความเห็นเปน็ หนงั สอื ภายใน 7 วัน เพื่อให้ผู้บังคับ บัญชาทบทวนคำส่ังก็ได้ และเมื่อเสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันเป็นหนังสือให้ปฏิบัติ ตามคำสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ตอ้ งปฏิบัติตาม 6. ไม่ตรงตอ่ เวลา ไม่อุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรียน ละทงิ้ หรอื ทอดทิ้งหน้าท่ี ราชการ โดยไม่มเี หตุผลอันสมควร 7. ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียนชุมชน สังคม ไม่สุภาพเรียบร้อยและรักษา ความ สามคั คี ไม่ช่วยเหลือเกือ้ กูลต่อผู้เรยี นและข้าราชการดว้ ยกัน หรือผู้ร่วมงานไมต่ ้อนรบั หรือ ใหค้ วามสะดวก ให้ ความเป็นธรรมต่อผ้เู รยี นและประชาชนผูม้ าตดิ ต่อราชการ 8. กลัน่ แกล้ง กล่าวหา หรอื ร้องเรยี นผอู้ ื่นโดยปราศจากความเปน็ จริง 9. กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาประโยชน์อันอาจทำให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรม หรือ เสื่อมเสยี เกยี รตศิ ักดิใ์ นตำแหน่งหนา้ ที่ราชการของตน

14 10. เปน็ กรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรอื ดำรงตำแหน่งอ่ืนใดท่ีมีลักษณะงานคล้ายคลึงกันน้ัน ใน ห้างหนุ้ สว่ นหรอื บริษัท 11. ไม่วางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าท่ี และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้อง กับ ประชาชนอาศัยอำนาจและหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝักใฝ่ส่งเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบคุ คล กลุ่มบุคคล หรือพรรคการเมอื งใด 12. กระทำการอนั ใดอันไดช้ ือ่ วา่ เปน็ ผปู้ ระพฤตชิ ัว่ 13. เสริมสรา้ งและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บงั คับบญั ชามีวินัย ไม่ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใตบ้ ังคับบัญชา กระทำผิด วินัย หรือละเลย หรือมีพฤติกรรมปกป้อง ช่วยเหลือมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาถูกลงโทษทางวินัย หรือปฏิบัติ หน้าทีด่ ังกลา่ วโดยไมส่ ุจริต วินัยร้ายแรง ไดแ้ ก่ 1. ทจุ ริตต่อหน้าทรี่ าชการ 2. จงใจไมป่ ฏิบัติตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษามตคิ รม.หรือ นโยบายของรัฐบาลประมาทเลินเล่อหรือขาดการเอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ ของทางราชการอันเป็น เหตุให้เกดิ ความเสียหายแก่ราชการอยา่ งร้ายแรง 3. ขัดคำสงั่ หรือหลีกเลย่ี งไม่ปฏิบัติตามคำสัง่ ของผู้บงั คบั บญั ชาซ่ึงสัง่ ในหน้าท่รี าชการ โดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบียบของทางราชการอนั เปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายแก่ราชการอย่างรา้ ยแรง 4. ละทิ้งหน้าที่หรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการ อย่างร้ายแรง 5. ละท้ิงหน้าทีร่ าชการตดิ ตอ่ ในคราวเดียวกนั เปน็ เวลาเกินกวา่ 15 วนั โดยไม่มีเหตุผลอนั สมควร 6. กลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผู้เรียนหรือประชาชนผูม้ าตดิ ต่อราชการ อย่าง ร้ายแรง 7. กลั่นแกล้ง กล่าวหา หรือร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ ความ เสียหายอย่างรา้ ยแรง 8. กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาประโยชน์อันอาจทำให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรม หรือ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตำแหน่งหน้าที่ราชการโดยมุ่งหมายจะให้เป็นการซื้อขายหรือให้ได้รับ แต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งหรือวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเป็นการกระทำอันมีลักษณะ เป็นการให้หรือได้มาซึ่ง ทรัพย์สนิ หรือสิทธิประโยชนอ์ ื่นเพื่อใหต้ นเองหรือผู้อืน่ ไดร้ ับการบรรจแุ ละ แตง่ ตงั้ โดยมชิ อบ

15 9. คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบหรือนำเอาผลงานทางวิชาการของ ผู้อื่น หรือจ้างวาน ใช้ผู้อื่นทำผลงานทางวิชาการเพื่อไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การ เล่ือนตำแหน่ง การเลอื่ นวทิ ยฐานะ หรอื การใหไ้ ดร้ บั เงนิ เดอื นในระดับทสี่ ูงขนึ้ 10. ร่วมดำเนนิ การคดั ลอกหรอื ลอกเลยี นผลงานของผอู้ นื่ โดยมิชอบ หรือรบั จัดทำผลงานทางวิชาการ ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่เพื่อให้ผู้อื่นนำผลงานนั้นไปใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเลื่อน ตำแหน่ง เลอ่ื นวทิ ยฐานะ หรือให้ไดร้ บั เงนิ เดือนในอนั ดับที่สูงขึน้ 11. เขา้ ไปเก่ียวข้องกับการดำเนินการใด ๆ อนั มีลักษณะเป็นการทุจรติ โดยการซื้อสิทธิหรือขายเสียง ในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่นหรือการเลือกตั้งอื่นที่มีลักษณะเป็นการ ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรวมทั้งการส่งเสริม สนับสนุน หรือ ชักจูงให้ผู้อื่นกระทำการใน ลกั ษณะเดียวกนั 12. กระทำความผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก หรือโทษที่หนักกว่าจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้ จำคุกหรือให้รับโทษที่หนักกว่าจำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือลหุโทษ หรอื กระทำการอนื่ ใดอันได้ชอื่ ว่าเปน็ ผูป้ ระพฤตชิ ั่วอยา่ งร้ายแรง 13. เสพยาเสพติด หรือสนับสนนุ ให้ผู้อ่ืนเสพยาเสพติด 14. เลน่ การพนันเปน็ อาจิณ 15. กระทำการล่วงละเมดิ ทางเพศต่อผู้เรียนหรือนักศึกษาไม่ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ของตน หรอื ไม่ การดำเนนิ การทางวินยั การดำเนินการทางวินัย กระบวนการและขั้นตอนการดำเนินการในการออกคำสั่งลงโทษ ซึ่งเป็น ขั้นตอนที่มีลำดับก่อนหลังต่อเนื่องกัน อันได้แก่ การตั้งเรื่องกล่าวหาการสืบสวนสอบสวน การพิจารณา ความผิดและกำหนดโทษและการสงั่ ลงโทษรวมทั้งการดำเนนิ การต่าง ๆ ในระหวา่ งการสอบสวนพจิ ารณา เช่น การสัง่ พกั การสัง่ ใหอ้ อกไว้กอ่ น เพื่อรอฟงั ผลการสอบสวนพิจารณา หลักการดำเนนิ การทางวนิ ยั 1. กรณีที่ผู้บังคับบัญชาพบว่าผู้ใต้บังคับบัญชาผู้ใดกระทำผิดวินัยโดยมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่ แลว้ ผบู้ งั คบั บัญชาก็สามารถดำเนินการทางวินัยไดท้ นั ที 2. กรณีที่มีการร้องเรียนด้วยวาจาให้จดปากคำ ให้ผู้ร้องเรียนลงลายมือชื่อและวัน เดือน ปี พร้อม รวบรวมพยานหลักฐานอน่ื ๆ ประกอบการพิจารณาแล้วดำเนินการให้มีการสบื สวนข้อเท็จจริง โดยต้ังกรรมการ

16 สืบสวนหรือส่งั ให้บคุ คลใดไปสืบสวนหากเห็นวา่ มมี ูลก็ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน ตอ่ ไป 3. กรณมี กี ารร้องเรยี นเปน็ หนังสือผ้บู งั คับบัญชาตอ้ งสืบสวนในเบอ้ื งต้นก่อนหากเหน็ ว่า ไมม่ มี ลู กส็ ั่งยุติ เรื่องถ้าเห็นว่ามีมูลก็ตั้งคณะกรรมการสอบสวนต่อไป กรณีหนังสือร้องเรียนไม่ลง ลายมือชื่อและที่อยู่ของผู้ รอ้ งเรยี นหรือไมป่ รากฏพยานหลกั ฐานทแ่ี น่นอนจะเขา้ ลักษณะของบัตร สนเทห่ ์ มตคิ รม.ห้ามมใิ หร้ ับฟังเพราะ จะทำให้ข้าราชการเสียขวัญในการปฏิบตั หิ น้าท่ี ขั้นตอนการดำเนนิ การทางวินัย 1. การตงั้ เรอ่ื งกล่าวหาเป็นการตั้งเร่ืองดำเนินการทางวนิ ัยแก่ขา้ ราชการเมื่อปรากฏ กรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่า กระทำผิดวินัยมาตรา 98 กำหนดให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เพือ่ ดำเนนิ การ สอบสวนใหไ้ ด้ความจริงและความยตุ ธิ รรมโดยไม่ชักชา้ ผตู้ ั้งเรื่องกลา่ วหาคือผู้บังคบั บัญชาของผู้ ถูก กล่าวหาความผิดวินัยไม่ร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นคือ ผู้อำนวยการสถานศึกษาสามารถแต่งต้ัง กรรมการสอบสวนข้าราชการในโรงเรียนทุกคนความผดิ วนิ ยั ร้ายแรง ผู้บังคบั บัญชาผูม้ อี ำนาจบรรจุ และแต่งตั้ง ตามมาตรา 53 เปน็ ผมู้ ีอำนาจบรรจุและแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน 2. การแจ้งข้อกลา่ วหา มาตรา 98 กำหนดไว้ว่า ในการสอบสวนจะต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุป พยานหลกั ฐาน ท่สี นับสนนุ ข้อกล่าวหาเท่าที่มใี ห้ผู้ถูกกลา่ วหาทราบ โดยระบุหรือไม่ระบุชอ่ื พยานก็ได้เพ่ือให้ ผู้ ถูกกล่าวหามีโอกาสชแี้ จงและนำสบื แก้ขอ้ กลา่ วหา 3. การสอบสวน คือ การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการทั้งหลายอื่นเพื่อจะทราบ ข้อเท็จจริง และพฤติการณ์ต่าง ๆ หรือพิสูจน์เกี่ยวกับเรือ่ งทีก่ ล่าวหาเพื่อให้ได้ความจริงและยุติธรรมและ เพ่ือ พิจารณาว่าผู้ถูกกล่าวหาไดก้ ระทำผิดวินยั จริงหรือไม่ถ้าผิดจริงก็จะได้ลงโทษ ข้อยกเว้น กรณีที่เป็นความผิดท่ี ปรากฏชัดแจ้งตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ.จะดำเนินการ ทางวินัยโดยไม่สอบสวนก็ได้ความผิดที่ปรากฏชัดแจง้ ตามท่ีกำหนดในกฎ ก.ค.ศ. วา่ ด้วยกรณีความผดิ ทปี่ รากฏชดั แจง้ พ.ศ.2549 ก. การกระทำผดิ วนิ ยั อย่างไมร่ า้ ยแรงทเี่ ป็นกรณคี วามผิดทป่ี รากฏอย่างชดั แจ้ง ไดแ้ ก่ (1) กระทำความผิดอาญาจนต้องคำพิพากษาถึงที่สุดว่าผู้นั้นกระทำผิดและผู้บังคับ บัญชาเห็นว่า ขอ้ เทจ็ จริงตามคำพิพากษาประจักษ์ชดั (2) กระทำผดิ วินัยไม่ร้ายแรงและได้รับสารภาพเปน็ หนังสือต่อผู้บังคับบญั ชาหรอื ให้ถ้อยคำรับสารภาพ ตอ่ ผูม้ ีหนา้ ท่สี ืบสวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบนั ทกึ ถ้อยคำเปน็ หนงั สือ ข. การกระทำผิดวินยั อย่างรา้ ยแรงทเ่ี ปน็ กรณคี วามผิดทปี่ รากฏชดั แจง้ ไดแ้ ก่ (1) กระทำความผดิ อาญาจนไดร้ บั โทษจำคกุ หรือโทษท่หี นักกวา่ จำคุกโดยคำพพิ ากษาถึงทสี่ ุดให้จำคุก

17 หรือลงโทษท่หี นกั กวา่ จำคุก (2) ละทิง้ หนา้ ทร่ี าชการตดิ ต่อในคราวเดียวกนั เป็นเวลาเกินกวา่ 15 วันผูบ้ ังคบั บัญชา สบื สวนแลว้ เห็น ว่าไม่มเี หตุผลสมควร หรือมีพฤติการณ์อนั แสดงถงึ ความจงใจไมป่ ฏบิ ัติตามระเบยี บ ของทางราชการ (3) กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงและได้รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาหรือให้ ถ้อยคำรับ สารภาพตอ่ ผู้มหี น้าทส่ี ืบสวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมกี ารบนั ทกึ ถอ้ ยคำเปน็ หนังสือ การอุทธรณ์ มาตรา 121 และมาตรา 122 แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา พ.ศ. 2547 บัญญตั ิให้ผูถ้ กู ลงโทษทางวนิ ยั มีสทิ ธอิ ุทธรณค์ ำสั่งลงโทษต่ออ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา อ.ก.ค. ศ.ที่ ก.ค.ศ. ตง้ั แลว้ แตก่ รณี ภายใน 30 วัน เง่อื นไขในการอุทธรณ์ ผู้อุทธรณ์ ต้องเป็นผู้ที่ถูกลงโทษทางวินัยและไม่พอใจผลของคำสั่งลงโทษผู้อุทธรณ์ ต้องอุทธรณ์เพ่ือ ตนเองเทา่ นนั้ ไมอ่ าจอุทธรณ์แทนผู้อื่นได้ ระยะเวลาอุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งคำสั่งลงโทษ ต้องทำเป็นหนังสอื การอทุ ธรณ์โทษวินัยไมร่ า้ ยแรง การอุทธรณ์คำสั่งโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน ที่ผู้บังคับบัญชาสั่งด้วยอำนาจของตนเอง ต้องอุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ.ส่วน ราชการเวน้ แต่ การส่ังลงโทษตามมตใิ หอ้ ทุ ธรณ์ตอ่ ก.ค.ศ. การอทุ ธรณโ์ ทษวนิ ัยร้ายแรง การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออกจากราชการต้องอุทธรณ์ ต่อก.ค.ศ.ทั้งน้ีการร้องทุกขค์ ำสั่งใหอ้ อกจากราชการหรือคำสั่งพักราชการหรือใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ นกต็ ้อง ร้องทกุ ข์ต่อก.ค.ศ.เชน่ เดียวกนั การร้องทกุ ข์ หมายถึงผถู้ กู กระทบสิทธหิ รือไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรมจากคำส่ังของฝ่ายปกครองหรือคับ ขอ้ งใจจากการกระทำของผู้บังคบั บัญชาใช้สทิ ธริ ้องทุกข์ขอความเป็นธรรมขอใหเ้ พิกถอนคำสง่ั หรือทบทวนการ กระทำของฝ่ายปกครองหรอื ของผบู้ ังคบั บญั ชา มาตรา 122 และมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ.2547บัญญัติให้ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการมีสิทธิร้องทุกข์ต่อก.ค.ศ.และผู้ซึ่งตน เห็นว่าตนไม่ได้รับความ เปน็ ธรรมหรือมีความคบั ขอ้ งใจเน่ืองจากการกระทำของผูบ้ ังคับบัญชาหรือ กรณีถกู ตัง้ กรรมการสอบสวนมีสิทธิ ร้องทุกขต์ ่ออ.ก.ค.ศ.เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาอ.ก.ค.ศ.ทีก่ .ค.ศ.ตง้ั หรือก.ค.ศ.แลว้ แตก่ รณภี ายใน30วัน

18 ผ้มู สี ิทธิรอ้ งทกุ ข์ ได้แก่ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เหตุท่จี ะร้องทุกข์ (1) ถูกสัง่ ใหอ้ อกจากราชการ (2) ถูกสง่ั พักราชการ (3) ถูกสงั่ ให้ออกจากราชการไว้กอ่ น (4) ไม่ได้รบั ความเปน็ ธรรม หรือคับข้องใจจากการกระทำของผู้บงั คบั บัญชา (5) ถูกต้ังกรรมการสอบสวน การเลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนในแต่ละครั้งต้องอยู่ ในเกณฑ์ ดงั นี้ 1. ในครึ่งปีที่แล้วมามีผลการปฏิบัติงาน ความประพฤติในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชีพอยใู่ นเกณฑ์ทส่ี มควรไดเ้ ล่ือนขัน้ เงินเดือน 2. ในครึ่งปีที่แล้วมาจนถึงวันออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ถูกลงโทษทางวินัยที่หนักกว่าโทษ ภาคทณั ฑ์ หรือถกู ลงโทษในคดีอาญาใหล้ งโทษในความผดิ ที่เกีย่ วกับการปฏิบัติหน้าทีร่ าชการ หรือ ความผิดท่ี ทำให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน ซึ่งไม่ไช่ความผิดที่ได้กระทำ โดยประมาทหรือ ความผดิ ลหุโทษ 3. ในครงึ่ ปที แี่ ลว้ มาตอ้ งไมถ่ กู สง่ั พกั ราชการเกินกว่าสองเดือน 4. ในครง่ึ ปที แ่ี ลว้ มาต้องไม่ขาดราชการโดยไม่มเี หตุผลอันสมควร 5. ในครึง่ ปที ่แี ล้วมาไดร้ ับการบรรจเุ ข้ารบั ราชการมาแล้วเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ ส่ีเดือน 6. ในครึ่งปีที่แล้วมาถ้าเป็นผู้ได้รับอนุญาตไปศึกษาในประเทศฝึกอบรมและดูงาน ณ ต่างประเทศ ตอ้ งไดป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่รี าชการในครง่ึ ปีทีแ่ ลว้ มาเปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่าสเ่ี ดือน 7. ในครง่ึ ปีทแี่ ล้วมาต้องไม่ลาหรอื มาทำงานสายเกนิ จำนวนครั้งท่หี วั หน้าส่วนราชการกำหนด 8. ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องมีเวลาปฏบิ ัติราชการหกเดอื นโดยมีวันลาไม่เกินยี่สิบสามวันแตไ่ ม่รวมวนั ลา ดังต่อไปน้ี 1) ลาอุปสมบทหรอื ลาไปประกอบพิธีฮจั ย์ 2) ลาคลอดบุตรไม่เกนิ เกา้ สบิ วนั

19 3) ลาป่วยซึ่งจำเป็นต้องรักษาตัวเป็นเวลานานไม่ว่าคราวเดียวหรือหลายคราวรวมกันไม่เกนิ หกสบิ วันทำการ 4) ลาป่วยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏบิ ตั ริ าชการตามหน้าทหี่ รอื ในขณะเดนิ ทางไปหรือ กลบั จากการปฏิบัตริ าชการตามหน้าท่ี 5) ลาพกั ผอ่ น 6) ลาเขา้ รบั การตรวจเลอื กหรอื เขา้ รับการเตรยี มพล 7) ลาไปปฏิบัตงิ านในองคก์ ารระหวา่ งประเทศ การฝกึ อบรมและลาศกึ ษาตอ่ การฝึกอบรม หมายความว่า การเพิ่มพูนความรู้ความชำนาญ หรือประสบการณ์ด้วยการเรียน หรือ การวิจัยตามหลักสูตรของการฝึกอบรม หรือการสัมมนาอบรมเชิงปฏิบัติการ การดำเนินงานตาม โครงการ แลกเปลี่ยนกับต่างประเทศ การไปเสนอผลงานทางวิชาการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทั้งนี้โดยมิได้มี วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ ก.พ.รับรอง และหมายความรวมถึงการ ฝึกฝนภาษาและการรบั คำแนะนำก่อนฝึกอบรมหรือการดูงานที่เป็นส่วนหน่ึงของการฝึกอบรมหรือต่อจากการ ฝกึ อบรมน้ันด้วย การดูงาน หมายความว่า การเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ และการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (การดูงานมีระยะเวลาไม่เกิน 15 วัน ตามหลักสูตรหรือโครงการ หรือแผนการดูงาน ในต่างประเทศ หากมีระยะเวลาเกนิ กำหนดให้ดำเนนิ การเปน็ การฝกึ อบรม) การลาศึกษาต่อ หมายความว่า การเพิ่มพูนความรู้ด้วยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตรของ สถาบัน การศึกษา หรือสถาบันวิชาชพี เพื่อให้ได้มาซึ่งปริญญาหรอื ประกาศนียบตั รวิชาชีพท่ี ก.พ.รับรองและ หมายความรวมถึงการฝึกฝนภาษาและการได้รับคำแนะนำก่อนเข้าศึกษาและการฝึกอบรม หรือการดูงานที่ เป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาหรือต่อจากการศึกษานนั้ ดว้ ย

20 การออกจากราชการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมื่อ(มาตรา 107พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการ ครฯู ) 1) ตาย 2) พน้ จากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ 3) ลาออกจากราชการและไดร้ บั อนุญาตใหล้ าออก 4) ถูกสัง่ ใหอ้ อก 5) ถูกสง่ั ลงโทษปลดออกหรือไลอ่ อก 6) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมี ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ การลาออกจากราชการ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาผใู้ ดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ยื่นหนงั สอื ลาออกต่อผู้บงั คับบัญชาเพ่ือให้ผูม้ ีอำนาจตาม มาตรา 53เป็นผพู้ จิ ารณาอนุญาต กรณีผู้มีอำนาจตาม มาตรา 53 พิจารณาเห็นว่าจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการจะยับยั้งการอนุญาต ให้ลาออกไวเ้ ปน็ เวลาไม่เกนิ 90 วนั นบั แตว่ ันขอลาออกกไ็ ด้ แต่ต้องแจง้ การยับย้งั พร้อมเหตุผลให้ผู้ขอลาออก ทราบ เม่อื ครบกำหนดเวลาที่ยับยงั้ แล้วใหก้ ารลาออกมีผลต้ังแตว่ นั ถัดจากวนั ครบกำหนดเวลาท่ียับย้งั ถา้ ผมู้ ีอำนาจตามมาตรา 53 ไมไ่ ด้อนุญาตและไมไ่ ด้ยับย้ังการอนญุ าตให้ลาออก ใหก้ ารลาออก มีผลตง้ั แต่วนั ขอลาออก ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่ง ทาง การเมอื งหรอื เพ่อื สมคั รรบั เลอื กตงั้ ใหย้ ่ืนหนังสือลาออกตอ่ ผู้บังคบั บัญชา และให้การลาออกมผี ลนับตัง้ แตว่ นั ที่ผนู้ ้นั ขอลาออก ระเบียบ ก.ค.ศว่าด้วยการลาออกของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2548 ขอ้ 3 การยน่ื หนงั สือขอลาออกจากราชการให้ยน่ื ล่วงหน้ากอ่ นวนั ขอลาออกไมน่ ้อยกวา่ 30 วนั กรณีผู้มีอำนาจอนุญาตการลาออกเห็นว่ามีเหตุผลและความจำเป็นพิเศษ จะอนุญาตเป็นลายลักษณ์ อักษรก่อนวันขอลาออกให้ผู้ประสงค์จะลาออกยื่นหนังสือขอลาออกล่วงหน้าน้อยกว่า 30 วัน ก็ได้ หนังสือขอ ลาออกที่ยื่นล่วงหน้าก่อนวันขอลาออกน้อยกว่า 30 วัน โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็น ลายลักษณ์อักษรจากผู้มี

21 อำนาจอนุญาต หรือที่มิได้ระบุวันขอลาออก ให้ถือวันถัดจากวันครบกำหนด 30 วัน นับแต่วันยื่นเป็นวันขอ ลาออก ข้อ 5 ผู้มีอำนาจอนุญาตการลาออกพิจารณาว่าจะสั่งอนุญาตให้ผู้นั้นลาออกจากราชการหรือจะสั่ง ยับยัง้ การอนญุ าตให้ลาออกใหด้ ำเนนิ การ ดงั น้ี (1) หากพิจารณาเห็นว่าควรอนุญาตให้ลาออกจากราชการได้ให้มีคำสั่งอนุญาตให้ลาออก เป็นลาย ลักษณอ์ กั ษรใหเ้ สร็จสนิ้ ก่อนวนั ขอลาออกแล้วแจ้งคำสั่งดงั กลา่ วให้ผ้ขู อลาออกทราบก่อนวนั ขอลาออกดว้ ย (2) หากพิจารณาเหน็ ว่าควรยับย้งั การอนุญาตใหล้ าออกเนื่องจากจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ ราชการ ให้ มีคำสั่งยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกเป็นลายลักษณ์อักษรให้เสร็จสิ้นก่อนวันขอลาออกแล้ วแจ้งคำสั่งดังกล่าว พรอ้ มเหตผุ ลให้ผู้ขอลาออกทราบก่อนวันขอลาออกด้วย ทง้ั น้ีการยับยั้งการอนุญาต ให้ลาออกให้ส่ังยับยั้งไว้ได้ เป็นเวลาไม่เกิน 90 วนั และสั่งยับยัง้ ไดเ้ พยี งคร้ังเดยี วจะขยายอีกไม่ได้ เม่ือครบกำหนดเวลาท่ยี บั ย้ังแล้วให้การ ลาออกมีผลต้ังแต่วนั ถดั จากวนั ครบกำหนดเวลาที่ยับย้ัง ขอ้ 6 กรณที ี่ผู้ขอลาออกได้ออกจากราชการไปโดยผลของกฎหมาย เนอ่ื งจากผู้มีอำนาจ อนญุ าตมิได้มี คำสั่งอนุญาตให้ลาออกและมิได้มีคำสั่งยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกก่อนวันขอลาออก หรือเนื่องจากครบ กำหนดเวลายับยั้งการอนุญาตให้ลาออกให้ผู้มอี ำนาจอนุญาตมีหนงั สือแจ้ง วันออกจากราชการให้ผู้ขอลาออก ทราบภายใน 7 วนั นบั แต่วันท่ผี ้นู น้ั ออกจากราชการและแจง้ ใหส้ ่วนราชการท่ีเกีย่ วขอ้ งทราบด้วย ขอ้ 7 การยนื่ หนงั สอื ขอลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้งให้ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาอย่างช้าภายในวันที่ขอลาออกและให้ผู้บังคับบัญชาดังกล่าว เสนอ หนังสือขอลาออกนั้นต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจอนุญาตการลาออก โดยเร็วเมื่อผู้มีอำนาจอนุญาตได้รับหนังสือขอลาออกแล้วให้มีคำสั่งอนุญาตออกจากราชการได้ตั้งแต่ วันที่ขอ ลาออก ครูอตั ราจ้าง กรณีครูอัตราจ้างที่จ้างด้วยเงินงบประมาณให้ปฏิบัติหน้าที่ครู เช่น ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้ช่วย ครูพ่ีเลี้ยง หรือปฏิบัติหน้าที่ครูที่เรียกชื่ออย่างอื่นให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้าง ประจำของส่วน ราชการพ.ศ. 2537 และแนวปฏิบตั ิทีใ่ ช้เพอื่ การนั้น

22 คณะผจู้ ดั ทา ๑. นายศกั ดิ์ชัย เลิศอรณุ รัตน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ๒. นางสาวสรุ ัตยา สีละพฒั น์ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน กรรมการ กรรมการ ๓. นางลดั ดา นิสสัยดี ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ ๔. นางสาวเอ้อื งนภา คดิ สม ครชู ำนาญการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร ๕. นางสาวกนกนาถ สุชาตสิ นุ ทร ครชู ำนาญการ ๖. นายราชนพ ลำภู ครูชำนาญการ 7. นายชนายุทธ ตรงตามคำ ครูชำนาญการ 8. นางสาวกติ ตยิ า กมิ าวหา ครชู ำนาญการ

23