Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการวิเคราะห์หลักสูตรคณิตศาสตร์ ค16101 ป.6.ครูเชนทร์

รายงานผลการวิเคราะห์หลักสูตรคณิตศาสตร์ ค16101 ป.6.ครูเชนทร์

Published by KroorachaneChanel, 2021-05-31 07:18:18

Description: รายงานผลการวิเคราะห์หลักสูตรคณิตศาสตร์ ค16101 ป.6.ครูเชนทร์

Search

Read the Text Version

บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ท่ี ....... / ๒๕๖3 วันที่ 5 มถิ ุนายน ๒๕๖3 เรื่อง รายงานผลการวเิ คราะหห์ ลกั สูตร รายวชิ า คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค16101 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ตามที่โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ มอบหมายใหข้ า้ พเจ้านายชนายทุ ธ ตรงตามคำ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ เป็นผู้รับผิดชอบจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค16101 ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 มหี นา้ ท่ีวเิ คราะห์หลักสูตร วางแผนและจัดกิจกรรมการเรียนรูน้ น้ั บัดน้ีได้ข้าพเจ้าได้ ดำเนินการวเิ คราะหห์ ลักสตู รในรายวิชาดังกล่าว ตามทไี่ ด้รับมอบหมายเรียบรอ้ ยแล้ว ขา้ พเจ้าจึงขอรายงานผลการ วเิ คราะห์หลกั สูตร รายวิชา คณิตศาสตร์ ดงั เอกสารที่แนบมาพรอ้ มน้ี จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชื่อ ผ้รู ายงาน (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ความเหน็ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ความเหน็ หวั หนา้ กลุ่มงานวิชาการ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ลงชือ่ ลงช่อื (นางลดั ดา นสิ สยั ดี) (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) หัวหนา้ กลุ่มงานวิชาการ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการ ความเห็นของรองผู้อำนวยการ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ลงช่ือ ลงชอ่ื (นายสมทรง นิสสยั ดี) (นายประทปี อร่ามเรือง) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์

รายงานผลการวิเคราะหห์ ลกั สูตร รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค16101 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 โดย นายชนายุทธ ตรงตามคำ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารชนั้ เรียนลำดบั ท่ี 045/2563 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา 2563

คำนำ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) นั้น ครูผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลาง สามารถ วเิ คราะห์เกย่ี วกับหลกั สูตรวา่ มีความตอ้ งการให้ผเู้ รียนมีคุณภาพอย่างไร และสามารถนำหลักสูตรแกนกลางนั้นมา จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้ผเู้ รยี นเกดิ การพัฒนาตามเปา้ หมายและวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร รายวิชาคณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 16101 เล่มนี้ ไดแ้ สดงการวเิ คราะห์ ตวั ชี้วดั และ สาระการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เพื่อให้สามารถนำมา จดั กิจกรรมการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยภายในเล่มประกอบด้วย ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้ คำอธิบาย รายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ า นาวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และแนวทางการประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้ หวังเป็นอยา่ งย่ิงวา่ เอกสารฉบบั นี้ คงจะเปน็ ประโยชนส์ ำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาผู้เรียน ได้ตรงตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) ชนายทุ ธ ตรงตามคำ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลูกสตู รกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา 2563

สารบญั หนา้ เร่ือง 1 1 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 1 บทนำ 2 ความสำคญั ของสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 3 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 7 คณุ ภาพผู้เรียน 8 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 13 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง 14 คำอธิบายรายวิชา 15 รหัสตวั ชีว้ ดั 17 โครงสร้างรายวชิ าพื้นฐาน 26 ตารางการวเิ คราะหห์ ลกั สตู รเพอื่ จัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า 38 กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ 39 แนวทางการวัดผล ประเมินผล ข้อตกลงในการวดั -ประเมนิ ผล บรรณานกุ รม หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 1 หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ บทนำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และกรอบ หลักสูตรท้องถิ่นของสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 มาใช้เป็นกรอบและทิศทางในการ จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร์) ให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และ แสวงหาความรเู้ พ่อื พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต ความสำคัญของสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตรม์ บี ทบาทสำคญั ยง่ิ ต่อความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 เนอ่ื งจากคณิตศาสตร์ช่วยให้ มนษุ ย์มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์คิดอยา่ งมีเหตผุ ล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรอื สถานการณ์ ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์วางแผนตัดสินใจแก้ปญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสามารถ นำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเปน็ เครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติการศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมยั และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้า อย่างรวดเรว็ ในยุคโลกาภวิ ัตน์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นสำคัญ นั่นคือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิด วิเคราะหก์ ารคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ การแก้ปญั หา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยีการ สื่อสารและการร่วมมือ ซึง่ จะสง่ ผลให้ผเู้ รียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถ แข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ทั้งน้ีการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จนั้นจะต้องเตรียม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 2 ผู้เรียนให้มคี วามพรอ้ มที่จะเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อใน ระดบั ที่สงู ขึ้น ดังนั้นสถานศกึ ษาควรจัดการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผ้เู รียน สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนา ผูเ้ รยี นใหบ้ รรลุมาตรฐานการเรียนรูท้ ่กี ำหนดนน้ั จะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพ่อื ขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไม่รับขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการสือ่ สารท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีมตี อ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือการตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอ้ มลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการป้องกนั และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่เี กดิ ขน้ึ ต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมดว้ ยการ สรา้ งเสริมความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว ให้ทันกับการเปลีย่ นแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ ่งผล กระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม . หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลกู สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 3 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกบั ผู้อนื่ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ร่วมกิจกรรมแสดงความรักชาติ เช่น เชิญธง ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ รักษา ช่อื เสียง และหวงแหนสมบตั ขิ องชาติ 1.2 ร่วมกิจกรรมทางศาสนา และปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา เช่น รกั ษาศลี ปฏบิ ตั ธิ รรม 1.3 ร่วมกจิ กรรมเพื่อแสดงความจงรักภกั ดีตอ่ พระมหากษตั รยิ ์ 2. ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต 2.1 ให้ขอ้ มูลท่ีถูกต้องและเปน็ จริง ไม่โกหก 2.2 ไมถ่ ือเอาสิ่งของหรอื ผลงานของผ้อู ่นื มาเปน็ ของตนเอง ไมล่ ักขโมย 2.3 ไมห่ าผลประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ถกู ต้อง ไม่คดโกง 3. มีวนิ ัย 3.1 ปฏบิ ตั ติ นตามขอ้ ตกลง กฎระเบียบของครอบครัว โรงเรียนและสังคม 3.2 ตรงตอ่ เวลาและรับผิดชอบในการเรียน การปฏบิ ตั งิ าน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 ต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี น สนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรตู้ ่าง ๆ 4.2 แสวงหา ศึกษา คน้ คว้าความรู้จากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ 4.3 บันทกึ ความรวู้ ิเคราะหต์ รวจสอบ แลกเปล่ียนเรียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ ของตนเองและของส่วนรวมอย่างประหยดั คมุ้ คา่ รวมท้ังใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจดว้ ยความรอบคอบมีเหตผุ ล 5.3 วางแผนการเรียนการทำงานบนพนื้ ฐานของความรู้ ข้อมลู ขา่ วสาร มีภูมิคมุ้ กันในตวั ท่ดี ี 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6.1 ตงั้ ใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ 6.2 ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ ปญั หาและอปุ สรรค 6.3 ปรบั ปรุงพฒั นาการทำงานและผลงานด้วยตนเอง หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสตู รกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 4 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 ปฏบิ ัติตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย 7.2 ใชภ้ าษาไทย เลขไทยในการสอื่ สารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 7.3 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปญั ญาไทย นำมาใช้ให้เหมาะสมในวิถชี วี ิต 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 ชว่ ยเหลอื ผ้อู ่ืน แบง่ ปันสิ่งของ อาสาทำงานใหด้ ้วยความเต็มใจ ไมห่ วังผลตอบแทน 8.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชนและสังคม 8.3 ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบตั ิและสิ่งแวดล้อมดว้ ย ความเตม็ ใจ โดยนอ้ มนำหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข ➢ ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทกุ อย่าง ความพอดไี มม่ ากหรือว่า น้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือ ผู้อนื่ ใหเ้ ดอื ดร้อน ➢ ห่วงท่ี 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่า จะเกดิ ข้ึนจากการกระทานั้นๆ อยา่ งรอบคอบ ➢ ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคำนึงถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ต่างๆ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตทั้งใกล้และไกล หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลกู สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 5 สาระและมาตรฐานการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการดำเนินการ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ฟงั ก์ชนั ลำดบั และอนุกรม และ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจนส์ มการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือชว่ ยแกป้ ัญหาท่ี กำหนดให้ สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเก่ยี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทีต่ อ้ งการวัด และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูป เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนบั เบอื้ งตน้ ความน่าจะเป็น และนำไปใช้ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นรูส้ ่งิ ต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในที่นี้เน้นที่ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทีจ่ ำเป็นและต้องการพัฒนาใหเ้ กิดขึ้นกับผู้เรียน ไดแ้ กค่ วามสามารถตอ่ ไปนี้ 1. การแก้ปญหา เป็นความสามารถในการทำความเข้าใจปญหา คิดวิเคราะห์วางแผนแก้ปัญหาและ เลือกใชว้ ิธกี ารท่ีเหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทงั้ ตรวจสอบความถูกต้อง 2. การสอื่ สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถในการใช้รูปภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณติ ศาสตร์ในการสือ่ สาร สอ่ื ความหมาย สรปุ ผล และนำเสนอไดอ้ ย่างถกู ต้อง ชดั เจน 3. การเช่อื มโยง เป็นความสามารถในการใชค้ วามรทู้ างคณิตศาสตร์เปน็ เคร่อื งมอื ในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เนือ้ หาตา่ ง ๆ หรือศาสตรอ์ ่ืน ๆ และนำไปใช้ในชวี ิตจรงิ 4. การใหเ้ หตผุ ล เปน็ ความสามารถในการใหเ้ หตุผล รับฟังและใหเ้ หตุผลสนับสนุน หรอื โตแ้ ยง้ เพ่ือนำไปสู่ การสรปุ โดยมขี ้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั 5. การคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ ความสามารถในการขยายแนวคิดทมี่ ีอยู่เดมิ หรอื สรา้ งแนวคิดใหม่เพ่ือปรับปรุง พัฒนาองค์ความรู้ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลกู สตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 6 คุณภาพผเู้ รียน ❖ รายวิชาพืน้ ฐาน จบชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 • อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 มีความรู้สึกเชิงจำนวน มี ทกั ษะการบวก การลบ การคณู การหาร และนำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ • มคี วามรสู้ ึกเชิงจำนวนเกีย่ วกบั เศษส่วนทไี่ ม่เกนิ 1 มที กั ษะการบวก การลบ เศษส่วนท่ีตัวเท่ากัน และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ • คาดคะเนและวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใช้เครื่องมือและหน่วยที่เหมาะสม บอกเวลา บอกจำนวนเงิน และนำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ • จำแนกและบอกลักษณะของรูปสามเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย เขียนรูปหลายเหลี่ยม วงกลม และวงรีโดยใช้แบบของรูป ระบุรูป เรขาคณิตที่มแี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ • อ่านและเขยี นแผนภมู ริ ูปภาพ ตารางทางเดียวและนำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ จบชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 • อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนงั สอื แสดงจำนวนนบั เศษส่วน ทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่ง อัตราส่วน และ ร้อยละ มีความรู้สึกเชงิ จำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การหาร ประมานผลลัพธ์และ นำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ • อธบิ ายลกั ษณะและสมบตั ขิ องรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรปู และพ้นื ที่ของรูปเรขาคณติ สร้าง รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและ นำไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ • นำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิแท่ง ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมิวงกลม ตารางสองทาง และ กราฟเส้น ในการการอธิบายเหตกุ ารณต์ ่างๆ และตดั สินใจ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสตู รกล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 7 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่ี เกิดขน้ึ จากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนินการ และการนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพนั ธ์หรอื ช่วยแกป้ ัญหาทีก่ ำหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้นื ฐานเกี่ยวกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ อ้ งการวัดและนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถิติและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบอื้ งตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลูกสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563

ห น้ า | 8 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่ เกดิ ขึน้ จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 6 เศษสว่ น 1. เปรยี บเทียบ เรยี งลำดบั เศษสว่ นและ - การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดบั จำนวนคละ จากสถานการณ์ตา่ งๆ เศษส่วนและจำนวนคละโดยใช้ความรู้ เรอ่ื ง ค.ร.น. อัตราส่วน 2. เขียนอตั ราสว่ นแสดงการเปรยี บเทียบ - อตั ราส่วน อัตราส่วนทเี่ ท่ากนั และ ปริมาณ 2 ปริมาณ จากข้อความหรือ มาตราสว่ น สถานการณ์ โดยท่ปี รมิ าณแต่ละ ปรมิ าณเปน็ จำนวนนับ 3. หาอตั ราส่วนท่เี ท่ากับอัตราสว่ นท่ี กำหนดให้ จำนวนนับและ 0 4. หา ห.ร.ม. ของจำนวนนับไม่เกนิ 3 - ตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ ตวั ประกอบ จำนวน เฉพาะ และการแยกตวั ประกอบ 5. หา ค.ร.น. ของจำนวนนับไมเ่ กนิ 3 - ห.ร.ม. และ ค.ร.น. จำนวน - การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ห.ร.ม. 6. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาโดย และ ค.ร.น. ใช้ความรู้เก่ียวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 9 ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง การบวก การลบ การคูณ การหาร 7. หาผลลพั ธข์ องการบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ - การบวก การลบเศษส่วนและจำนวน 8. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา คละ โดยใช้ความรู้เรอ่ื ง ค.ร.น. เศษสว่ นและจำนวนคละ 2 – 3 - การบวก ลบ คณู หารระคนของ ข้นั ตอน เศษสว่ นและจำนวนคละ - การแก้โจทย์ปญั หาเศษสว่ นและจำนวน คละ ป. 6 ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ 9. หาผลหารของทศนิยมท่ตี ัวหารและ การหาร ผลหาร เปน็ ทศนยิ มไม่เกิน 3 ตำแหนง่ - ความสมั พันธ์ระหวา่ งเศษส่วนและ 10. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หาการ ทศนิยม บวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม - การหารทศนยิ ม 3 ข้ันตอน - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกยี่ วกับทศนิยม (รวมการแลกเงนิ ต่างประเทศ) อัตราส่วนและรอ้ ยละ 11. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา - การแกโ้ จทยป์ ญั หาอัตราส่วนและ อัตราสว่ น มาตราส่วน 12. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาร้อย - การแกโ้ จทย์ปญั หาร้อยละ ละ 2 – 3 ข้ันตอน หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลกู สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 10 สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชนั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 6 แบบรูป - การแกป้ ัญหาเกยี่ วกบั แบบรปู 1. แสดงวธิ คี ิดและหาคำตองของปัญหา เก่ยี วกับแบบรปู สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พันธ์หรอื ช่วยแกป้ ญั หาทีก่ ำหนดให้ ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 6 - - สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกี่ยวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ท่ีต้องการวัดและนำไปใช้ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 6 ปรมิ าตรและความจุ 1. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา - ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ี เก่ยี วกับปรมิ าตรของรปู เรขาคณิตสาม ประกอบดว้ ยทรงสีเ่ หลยี่ มมุมฉาก มติ ทิ ่ีประกอบด้วยทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกี่ยวกับปรมิ าตร ของรูปเรขาคณติ สามมิติท่ี ประกอบด้วยทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก รปู เรขาคณิตสามมิติ 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา - ความยาวรอบรปู และพืน้ ที่ของรปู เก่ยี วกบั ความยาวรอบรูปและพ้ืนทขี่ อง สามเหลีย่ ม รูปหลายเหลย่ี ม - มุมภายในของรปู หลายเหลย่ี ม หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา 2563

ห น้ า | 11 ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 3. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา - ความยาวรอบรูปและพื้นทขี่ องรปู เกีย่ วกบั ความยาวรอบรูปและพืน้ ทีข่ อง หลายเหลี่ยม วงกลม - การแก้โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ความยาว รอบรูปและพ้ืนทขี่ องรปู หลายเหล่ียม - ความยาวรอบรูปและพื้นท่ขี องวงกลม - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั ความยาว รอบรปู และพน้ื ที่ของวงกลม สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 6 รปู เรขาคณติ สองมิติ 1. จำแนกรปู สามเหล่ียมโดยพิจารณาจาก - ชนดิ และสมบัติของรูปสามเหล่ยี ม สมบัติของรูป - การสร้างรูปสามเหลี่ยม 2. สร้างรูปสามเหลยี่ มเม่ือกำหนดความ - ส่วนต่างๆ ของวงกลม ยาวของดา้ นและขนาดของมุม - การสรา้ งวงกลม รปู เรขาคณติ สามมิติ 3. บอกลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ - ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พีระมิด ชนิดตา่ งๆ - รูปคลี่ของทรงกระบอก กรวย ปรซิ ึม 4. ระบรุ ูปเรขาคณติ สามมติ ิที่ประกอบ พรี ะมดิ จากรูปคล่ี และระบุรปู คล่ีของรปู เรขาคณิตสามมิติ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสูตรกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 12 สาระที่ 3 สถติ ิและความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 6 การนำเสนอขอ้ มลู - การอ่านแผนภูมริ ูปวงกลม 1. ใช้ขอ้ มูลจากแผนภมู ริ ูปวงกลมในการ หาคำตอบของโจทยป์ ญั หา สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนับเบ้ืองตน้ ความน่าจะเป็น และนำไปใช้ ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 6 - - หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลกู สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 13 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ค16101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลาเรยี น 160 ชว่ั โมง ศกึ ษาตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ และตวั ประกอบเฉพาะ การแยกตวั ประกอบ ห.ร.ม. ค.ร.น. โจทยป์ ญั หา เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละ การเรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ การแกโ้ จทย์ปญั หาเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคน ของเศษส่วนและจำนวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน และจำนวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม การหารทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน มาตราส่วน โจทย์ปัญหาอัตราส่วนและมาตราส่วน โจทย์ปัญหาร้อยละ ชนิดและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม การสร้างรูปสามเหลี่ยม ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม การสร้าง วงกลม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรปู สามเหลี่ยม มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพื้นท่ี ของรูปหลายเหลี่ยม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและ พื้นที่ของวงกลม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย และ พีระมิด รูปคลี่ของทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพีระมิด ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การ แกป้ ัญหาเกี่ยวกบั แบบรูป และการนำเสนอขอ้ มูล โดยการจัดประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบตั ิ จรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทกั ษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตุผล การ เชื่อมโยง การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทักษะและกระบวนการที่ ไดไ้ ปใชใ้ นการเรียนรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ และใชใ้ นชีวิตประจำวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพือ่ ใหเ้ ห็นคณุ คา่ และมเี จตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อยา่ งเปน็ ระบบ มรี ะเบยี บ รอบคอบ มี ความรบั ผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ มคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์และมีความเช่ือม่ันในตนเอง หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563

ห น้ า | 14 รหัสตวั ช้ีวัด ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9, ป.6/10, ป.6/11,ป.6/12 ค 1.2 ป.6/1 ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ค 3.1 ป.6/1 รวม 21 ตวั ชี้วัด หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลูกสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 15 โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วิชา ค 16101 รายวชิ า คณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 4.0 หน่วยกิต ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลา 160 ชัว่ โมง สัดส่วนคะแนน ระหวา่ งปีการศึกษา : ปลายปี = 70 : 30 หนว่ ย ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ท่ี ตัวชีว้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน ภาคเรยี นท่ี 1 14 7 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ค1.1 ป.6/4 -ตัวประกอบและการแยกตวั 26 6 ป.6/5 ประกอบ 17 5 20 6 ป.6/6 -ตัวหารร่วมท่มี ากที่สดุ (ห.ร.ม.) 4 5 -ผลคณู ร่วมทน่ี อ้ ยท่ีสดุ (ค.ร.น.) 2 เศษสว่ น ค1.1 ป.6/1 -การเปรียบเทียบและการ ป.6/7 เรียงลำดับ -การบวก การลบ -การบวก ลบ คูณ หารระคน 3 ทศนยิ ม ค1.1 ป.6/9 -การเขยี นเศษส่วนในรูปทศนยิ ม ป.6/10 -การหารทศนยิ ม -การแลกเปลีย่ นเงนิ ตรา 4 รอ้ ยละและอัตราสว่ น ค1.1ป.6/11 -โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับรอ้ ยละ ป.6/12 -อัตราส่วนและมาตราส่วน 5 แบบรูปและ ค1.2 ป.6/1 -แบบรูปและความสมั พันธ์ ความสัมพันธ์ -การแกป้ ญั หาเก่ยี วกบั แบบรูป 6 รปู สามเหล่ียม ภาคเรียนท่ี 2 25 6 ค2.2 ป.6/1 -ชนดิ และรปู สมบัติของรปู ป.6/2 สามเหลี่ยม -สว่ นต่าง ๆ ของรปู สามเหลย่ี ม หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลกู สูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 16 หน่วย ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี ตวั ช้ีวัด (ชั่วโมง) คะแนน -การสรา้ งรูปสามเหล่ยี ม 19 6 16 -ความยาวรอบรปู ของรูป 15 6 สามเหล่ียม 4 4 160 -พื้นท่ีของรูปสามเหลี่ยม 4 15 7 รปู หลายเหลีย่ ม ค2.1 ป.6/2 -ลกั ษณะของรปู หลายเหล่ยี ม 30 100 -มุมภายในของรปู หลายเหลี่ยม -ความยาวรอบรูปของรปู หลาย เหลยี่ ม 8 วงกลม ค2.1 ป.6/3 -ส่วนตา่ ง ๆ ของวงกลม -การสรา้ งวงกลม -ความยาวของเส้นรอบวง -พน้ื ทข่ี องวงกลม 9 รูปเรขาคณิตสามมิติ ค2.2 ป.6/3 -ลักษณะและส่วนตา่ ง ๆ ของรูป ป.6/4 เรขาคณิตสามมิติ -รูปคล่ีของรูปเรขาคณิตสามมิติ -ปรมิ าตรและความจขุ องรปู เรขาคณิตสามมิติ 10 การนำเสนอขอ้ มลู ค3.1 ป.6/1 -การอา่ นแผนภูมริ ปู วงกลม สอบกลางปีการศกึ ษา สอบปลายปกี ารศกึ ษา รวม 1 ปีการศึกษา หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 17 ตารางการวิเคราะหห์ ลกั สตู รเพอ่ื จัดทำคำอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่ี เกดิ ข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตัวชี้วดั ความรู้ ทักษะ/ คุณลักษณะอันพึง สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ ท้องถน่ิ ประสงค์ (A) แกนกลาง (P) ป.6/1 เศษส่วนและ - เปรียบเทยี บ - ทำงานอย่างเปน็ เศษสว่ น เปรียบเทียบ จำนวนคละ จาก เศษสว่ น ระบบ - การเปรยี บเทยี บ เรียงลำดบั สถานการณ์ตา่ งๆ - เรยี งลำดบั - มวี นิ ยั และเรยี งลำดับ เศษสว่ นและ เศษส่วน - มีความรอบคอบ เศษส่วน และ จำนวนคละ จาก - มวี จิ ารณญาณ จำนวนคละโดยใช้ สถานการณ์ตา่ งๆ - มีความเช่ือมน่ั ใน ความรู้เรอื่ ง ตนเอง ค.ร.น. - ใฝ่รู้ - มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ คณิตศาสตร์ ป.6/2 เขียน อัตราสว่ นแสดง เขยี นอัตราสว่ น - ทำงานอย่างเปน็ อตั ราสว่ น อตั ราสว่ นแสดง การเปรียบเทียบ แสดงการ ระบบ - อัตราสว่ น การเปรียบเทยี บ ปรมิ าณ 2 เปรียบเทียบ - มีวนิ ัย อัตราสว่ นทีเ่ ทา่ กัน ปรมิ าณ 2 ปรมิ าณ จาก ปรมิ าณ 2 - มีความรอบคอบ และมาตราสว่ น ปริมาณ จาก ขอ้ ความหรือ ปรมิ าณ - มีวจิ ารณญาณ ข้อความหรือ สถานการณ์โดยที่ - มีความเชื่อมัน่ ใน สถานการณ์โดยที่ ปริมาณแต่ละ ตนเอง ปรมิ าณแตล่ ะ ปริมาณเป็น - ใฝร่ ู้ ปรมิ าณเป็น จำนวนนบั - มีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ จำนวนนับ คณิตศาสตร์ ป.6/3 หา อตั ราสว่ นท่เี ท่ากัน หาอัตราส่วนท่ี - ทำงานอยา่ งเปน็ อตั ราสว่ นที่เท่ากับ เทา่ กับอตั ราส่วนท่ี ระบบ อัตราสว่ นที่ กำหนดให้ - มีวนิ ยั กำหนดให้ - มคี วามรอบคอบ - มวี จิ ารณญาณ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลกู สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563

ห น้ า | 18 ตัวชีว้ ดั ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลักษณะอนั พึง สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ ทอ้ งถิ่น ประสงค์ (A) แกนกลาง (P) - มคี วามเชอ่ื ม่นั ใน ตนเอง - ใฝ่รู้ - มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อ คณติ ศาสตร์ ป.6/4 หา ห.ร.ม. หารรว่ มน้อย หา ห.ร.ม. ได้ - ทำงานอย่างเป็น จำนวนนับและ 0 ของจำนวนนบั ไม่ เกิน 3 จำนวน ระบบ - ตวั ประกอบ - มีวนิ ัย จำนวนเฉพาะ ตวั - มคี วามรอบคอบ ประกอบเฉพาะ - มีวิจารณญาณ และการแยกตวั - มคี วามเช่ือม่นั ใน ประกอบ ตนเอง - ห.ร.ม. และ - ใฝร่ ู้ ค.ร.น. - มีเจตคติที่ดีต่อ - การแกโ้ จทย์ คณิตศาสตร์ ปัญหาเกยี่ วกับ ป.6/5 หา ค.ร.น. คณู ร่วมน้อย หา ค.ร.น. ได้ - ทำงานอยา่ งเปน็ ห.ร.ม. และ ของจำนวนนับไม่ เกิน 3 จำนวน ระบบ ค.ร.น. - มีวินยั - มคี วามรอบคอบ - มีวจิ ารณญาณ - มคี วามเช่อื มน่ั ใน ตนเอง - ใฝร่ ู้ - มเี จตคติทีด่ ตี ่อ คณิตศาสตร์ ป.6/6 แสดงวธิ ี หารรว่ มมากและ แสดงวธิ หี าคำตอบ - ทำงานอย่างเป็น หาคำตอบของ คูณร่วมน้อย โจทย์ปัญหาโดยใช้ ของโจทย์ปญั หา ระบบ ความร้เู กย่ี วกบั ห.ร.ม. และ - มวี นิ ัย ค.ร.น. - มคี วามรอบคอบ - มีวจิ ารณญาณ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลกู สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 19 ตวั ชว้ี ัด ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอนั พึง สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ ท้องถ่ิน ประสงค์ (A) แกนกลาง (P) - มคี วามเชื่อมั่นใน ตนเอง - ใฝร่ ู้ - มีเจตคติทด่ี ตี อ่ คณติ ศาสตร์ ป.6/7 หาผลลพั ธ์ การบวก ลบ คณู หาผลลัพธ์ - ทำงานอย่างเปน็ การบวก การลบ ของการบวก ลบ หารระคนของ ระบบ การคูณ การหาร คณู หารระคนของ เศษส่วนและ - มวี นิ ยั เศษส่วน เศษสว่ นและ จำนวนคละ - มคี วามรอบคอบ - การบวก การลบ จำนวนคละ - มวี ิจารณญาณ เศษสว่ นและ - มคี วามเชอื่ ม่ันใน จำนวนคละ โดย ตนเอง ใชค้ วามรู้เรื่อง - ใฝ่รู้ ค.ร.น. - มีเจตคติทด่ี ตี อ่ - การบวก ลบ คณู คณติ ศาสตร์ หารระคนของ ป.6/8 แสดงวธิ ี โจทย์ปญั หา แสดงวิธหี าคำตอบ - ทำงานอย่างเป็น เศษสว่ นและ หาคำตอบของ เศษส่วนและ ของโจทยป์ ญั หา ระบบ จำนวนคละ โจทยป์ ัญหา จำนวนคละ 2 – 3 - มวี นิ ยั - การแกโ้ จทย์ เศษส่วนและ ขน้ั ตอน - มคี วามรอบคอบ ปัญหาเศษสว่ น จำนวนคละ 2 – 3 - มีวิจารณญาณ และจำนวนคละ ข้นั ตอน - มีความเชอ่ื มัน่ ใน ตนเอง - ใฝร่ ู้ - มีเจตคติทด่ี ีตอ่ คณติ ศาสตร์ ป.6/9 หาผลหาร ทศนยิ มทต่ี ัวหาร หาผลหารของ - ทำงานอย่างเปน็ ทศนิยม และการ ของทศนยิ มที่ และผลหารเป็น ทศนยิ ม ระบบ บวก การลบ การ ตัวหารและผลหาร ทศนิยมไม่เกนิ 3 - มวี นิ ยั คณู การหาร เปน็ ทศนยิ มไม่เกิน ตำแหนง่ - มคี วามรอบคอบ 3 ตำแหน่ง - มีวิจารณญาณ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสตู รกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 20 ตวั ชวี้ ดั ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพงึ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ ประสงค์ (A) แกนกลาง ทอ้ งถ่นิ ป.6/10 แสดงวธิ ี หาคำตอบของ การบวก การลบ (P) - มีความเชอื่ มนั่ ใน - ความสมั พนั ธ์ โจทยป์ ญั หาการ การคูณ การหาร ตนเอง ระหวา่ งเศษส่วน บวก การลบ การ ทศนยิ ม 3 10 แสดงวิธหี า - ใฝร่ ู้ และทศนิยม คูณ การหาร ขั้นตอน คำตอบของโจทย์ - มเี จตคตทิ ดี่ ตี ่อ - การหารทศนิยม ทศนยิ ม 3 ปัญหา คณติ ศาสตร์ - การแก้โจทย์ ขัน้ ตอน อตั ราสว่ น - ทำงานอยา่ งเป็น ปญั หาเก่ียวกับ แสดงวิธหี าคำตอบ ระบบ ทศนยิ ม (รวมการ ป.6/11 แสดงวิธี โจทยป์ ัญหารอ้ ย ของโจทยป์ ัญหา - มวี นิ ัย แลกเงิน หาคำตอบของ ละ 2 – 3 ข้ันตอน - มีความรอบคอบ ตา่ งประเทศ) โจทยป์ ญั หา แสดงวิธีหาคำตอบ - มีวจิ ารณญาณ อตั ราส่วน ของโจทยป์ ญั หา - มคี วามเชือ่ มน่ั ใน อตั ราสว่ นและ ตนเอง ร้อยละ ป.6/12 แสดงวิธี - ใฝร่ ู้ - การแกโ้ จทย์ หาคำตอบของ - มเี จตคติท่ดี ตี ่อ ปัญหาอัตราส่วน โจทย์ปญั หาร้อย คณติ ศาสตร์ และมาตราส่วน ละ 2 – 3 ขั้นตอน - ทำงานอยา่ งเปน็ - การแก้โจทย์ ระบบ - มวี ินยั ปัญหาร้อยละ - มีความรอบคอบ - มีวจิ ารณญาณ - มคี วามเชือ่ มั่นใน ตนเอง - ใฝ่รู้ - มเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อ คณติ ศาสตร์ - ทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ - มีวินัย - มีความรอบคอบ - มวี จิ ารณญาณ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลกู สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 21 ตวั ชีว้ ดั ความรู้ ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั พงึ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ ท้องถน่ิ ประสงค์ (A) แกนกลาง (P) - มีความเช่ือมัน่ ใน ตนเอง - ใฝ่รู้ - มเี จตคตทิ ่ดี ตี อ่ คณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลำดบั และอนกุ รม และนำไปใช้ ตัวชวี้ ัด ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลักษณะอนั พงึ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ (K) ทอ้ งถิน่ ป.6/1 แสดงวิธี แบบรปู กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) แกนกลาง คิดและหาคำตอบ ของปัญหา แสดงวิธคี ิดและหา - ทำงานอย่างเปน็ แบบรปู เกี่ยวกบั แบบรปู คำตอบของปญั หา ระบบ - การแกป้ ญั หา - มีวนิ ยั เกีย่ วกับแบบรปู - มีความรอบคอบ - มีวิจารณญาณ - มคี วามเชอ่ื มน่ั ใน ตนเอง - ใฝร่ ู้ - มเี จตคตทิ ี่ดีต่อ คณิตศาสตร์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 22 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพนื้ ฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทีต่ อ้ งการวดั และนำไปใช้ ตัวชี้วดั ความรู้ ทักษะ/ คุณลักษณะอันพึง ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ท้องถ่ิน ป.6/1 แสดงวิธี โจทย์ปัญหา แสดงวิธีหาคำตอบ - ทำงานอย่างเปน็ ปริมาตรและ หาคำตอบของ เกยี่ วกบั ปริมาตร ของโจทยป์ ัญหา ระบบ ความจุ โจทยป์ ัญหา ของรูปเรขาคณิต - มีวนิ ัย - ปริมาตรของรูป เกย่ี วกับปริมาตร สามมติ ทิ ่ี - มีความรอบคอบ เรขาคณิตสามมิติ ของรูปเรขาคณิต ประกอบดว้ ยทรง - มีวิจารณญาณ ท่ปี ระกอบดว้ ย สามมิตทิ ่ี สเ่ี หล่ยี มมมุ ฉาก - มคี วามเช่ือม่ันใน ทรงส่เี หล่ยี มมมุ ประกอบดว้ ยทรง ตนเอง ฉาก สเี่ หล่ียมมมุ ฉาก - ใฝร่ ู้ - การแกโ้ จทย์ - มีเจตคติที่ดตี อ่ ปัญหาเกีย่ วกบั คณติ ศาสตร์ ปรมิ าตรของรปู เรขาคณติ สามมิติ ที่ประกอบด้วย ทรงสีเ่ หล่ยี มมมุ ฉาก ป.6/2 แสดงวธิ ี โจทยป์ ญั หา แสดงวิธหี าคำตอบ - ทำงานอย่างเปน็ รูปเรขาคณติ สอง หาคำตอบของ เก่ยี วกบั ความยาว ของโจทยป์ ญั หา ระบบ มิติ โจทยป์ ัญหา รอบรปู และพ้นื ท่ี - มวี นิ ัย - ความยาวรอบรปู เกี่ยวกบั ความยาว ของรปู หลาย - มีความรอบคอบ และพ้นื ท่ขี องรูป รอบรูปและพื้นที่ เหล่ียม - มีวจิ ารณญาณ สามเหล่ยี ม ของรูปหลาย - มคี วามเช่อื มน่ั ใน - มมุ ภายในของ เหลีย่ ม ตนเอง รปู หลายเหล่ียม - ใฝ่รู้ - ความยาวรอบรูป - มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อ และพื้นทขี่ องรูป คณติ ศาสตร์ หลายเหลยี่ ม ป.6/3 แสดงวธิ ี โจทย์ปญั หา แสดงวธิ หี าคำตอบ - ทำงานอย่างเป็น - การแก้โจทย์ หาคำตอบของ เกี่ยวกับความยาว ของโจทย์ปัญหา ระบบ ปัญหาเก่ยี วกับ โจทยป์ ญั หา รอบรปู และพน้ื ที่ - มวี ินัย ความยาวรอบรูป เก่ียวกับความยาว ของวงกลม - มีความรอบคอบ และพนื้ ทข่ี องรูป รอบรปู และพน้ื ที่ - มวี ิจารณญาณ หลายเหลีย่ ม ของวงกลม หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 23 ตวั ช้ีวัด ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะอันพงึ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ทอ้ งถ่นิ - มคี วามเชอื่ มัน่ ใน - ความยาวรอบรูป ตนเอง และพ้ืนท่ขี องรูป - ใฝ่รู้ วงกลม - มเี จตคติที่ดตี อ่ - การแก้โจทย์ คณิตศาสตร์ ปัญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรปู และพ้นื ทข่ี อง วงกลม มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัติของรปู เราขาคณิต ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตวั ชีว้ ัด ความรู้ ทักษะ/ คุณลักษณะอนั พงึ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ทอ้ งถน่ิ ป.6/1 จำแนกรูป สมบัตขิ องรปู จำแนกรูป รปู เรขาคณติ สอง สามเหล่ยี มโดย สามเหลีย่ ม สามเหลี่ยม - ทำงานอยา่ งเปน็ มติ ิ พจิ ารณาจาก ระบบ - ชนดิ และสมบตั ิ สมบัตขิ องรปู สรา้ งรูป - มวี นิ ยั ของรูปสามเหลยี่ ม สามเหลย่ี ม - มคี วามรอบคอบ - การสรา้ งรูป - มวี ิจารณญาณ สามเหลย่ี ม - มีความเช่อื มัน่ ใน - สว่ นตา่ งๆของ ตนเอง วงกลม - ใฝ่รู้ - การสรา้ งวงกลม - มีเจตคตทิ ดี่ ีต่อ ป.6/2 สรา้ งรูป การสร้างรูป คณิตศาสตร์ สามเหลย่ี มเม่ือ สามเหล่ียม - ทำงานอยา่ งเปน็ กำหนดความยาว ระบบ ของดา้ นและ - มวี นิ ัย ขนาดของมมุ - มีความรอบคอบ - มวี ิจารณญาณ - มีความเช่ือมัน่ ใน ตนเอง หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 24 ตวั ชวี้ ดั ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ทอ้ งถ่ิน ป.6/3 บอก รูปเรขาคณิตสาม ลกั ษณะของรูป ลกั ษณะของรูป บอกลักษณะของ - ใฝ่รู้ มติ ิ เรขาคณิตสามมติ ิ เรขาคณิตสามมติ ิ รูปเรขาคณติ สาม - มเี จตคติทด่ี ตี ่อ - ทรงกลม ชนิดต่างๆ มติ ิ คณติ ศาสตร์ ทรงกระบอก รปู เรขาคณิตสาม - ทำงานอยา่ งเปน็ กรวย พรี ะมิด ป.6/4 ระบุรปู มิติ และรปู คลีข่ อง ระบุรูปเรขาคณิต ระบบ - รปู คลี่ของ เรขาคณิตสามมิติ รปู เรขาคณิตสาม สามมิติ - มีวนิ ัย ทรงกระบอก ทป่ี ระกอบจาก รปู มิติ - มีความรอบคอบ กรวย ปริซมึ คลี่ และระบรุ ปู คลี่ - มวี จิ ารณญาณ พรี ะมดิ ของรูปเรขาคณิต - มคี วามเชื่อมัน่ ใน สามมติ ิ ตนเอง - ใฝร่ ู้ - มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อ คณติ ศาสตร์ - ทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ - มีวนิ ัย - มคี วามรอบคอบ - มีวิจารณญาณ - มีความเชือ่ มนั่ ใน ตนเอง - ใฝ่รู้ - มีเจตคติท่ีดตี อ่ คณติ ศาสตร์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 25 สาระที่ 3 สถิติและความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ัญหา ตัวช้ีวดั ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ทอ้ งถ่นิ ป.6/1 ใช้ขอ้ มูล แผนภูมิรูปวงกลม ใชข้ ้อมูลจาก จากแผนภูมิรูป แผนภมู ริ ปู วงกลม - ทำงานอย่างเป็น การนำเสนอ วงกลมในการหา ในการหาคำตอบ คำตอบของโจทย์ ของโจทย์ปัญหา ระบบ ข้อมลู ปญั หา - มีวนิ ยั - การอา่ นแผนภมู ิ - มีความรอบคอบ รปู วงกลม - มวี จิ ารณญาณ - มคี วามเชื่อมนั่ ใน ตนเอง - ใฝร่ ู้ - มเี จตคติท่ีดตี ่อ คณิตศาสตร์ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลกู สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 26 กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี เร่อื ง จำนวน (ช่ัวโมง) 1 ตัวประกอบ 2 การหาตัวประกอบ 1 3 จำนวนเฉพาะ 1 4 ตัวประกอบเฉพาะ 1 5 การแยกตวั ประกอบ 1 6 ตวั หารร่วมมาก (ห.ร.ม.) 1 7 ตวั หารรว่ มมาก (ห.ร.ม.) 1 8 การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ 1 9 การหา ห.ร.ม. โดยการตง้ั หาร 1 10 ตัวคูณร่วม (ค.ร.น.) 1 11 การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ 1 12 การหา ค.ร.น. โดยการต้งั หาร 1 13 โจทย์ปญั หา 1 14 โจทยป์ ญั หา 1 1 รวม 14 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลกู สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 2563

กำหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ห น้ า | 27 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เศษสว่ น จำนวน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี เรื่อง (ช่ัวโมง) 1 การเปรยี บเทยี บเศษส่วน 1 2 การเรยี งลำดับเศษส่วน 1 3 การบวกเศษส่วน 1 4 การบวกจำนวนคละ 1 5 การลบเศษสว่ น 1 6 การลบจำนวนคละ 1 7 การบวก ลบเศษสว่ นระคน 1 8 การบวก ลบจำนวนคละระคน 1 9 การคณู หารเศษสว่ นระคน 1 10 การคณู หารจำนวนคละระคน 1 11 การบวก ลบ คณู หารเศษสว่ นระคน 1 12 การบวก ลบ คูณ หารจำนวนคละระคน 1 13 โจทยป์ ญั หาการบวกเศษสว่ นและจำนวนคละ 1 14 โจทย์ปญั หาการบวกเศษส่วนและจำนวนคละ 1 15 โจทยป์ ญั หาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ 1 16 โจทยป์ ัญหาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ 1 17 โจทย์ปัญหาการคูณเศษส่วนและจำนวนคละ 1 18 โจทย์ปัญหาการคูณเศษสว่ นและจำนวนคละ 1 19 โจทยป์ ัญหาการหารเศษสว่ นและจำนวนคละ 1 20 โจทย์ปญั หาการหารเศษส่วนและจำนวนคละ 1 21 โจทยป์ ญั หาการบวก ลบเศษส่วนและจำนวนคละ 1 ระคน 1 22 โจทยป์ ญั หาการบวก ลบเศษส่วนและจำนวนคละ ระคน หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลูกสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี เรอ่ื ง ห น้ า | 28 23 โจทยป์ ญั หาการคูณ หารเศษส่วนและจำนวนคละ จำนวน ระคน (ชั่วโมง) 24 โจทย์ปญั หาการคูณ หารเศษสว่ นและจำนวนคละ 1 ระคน 1 25 โจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารเศษสว่ นและ จำนวนคละระคน 1 26 โจทยป์ ัญหาการบวก ลบ คูณ หารเศษสว่ นและ 1 จำนวนคละระคน รวม 26 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลกู สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563

กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ห น้ า | 29 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 ทศนิยม จำนวน แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี เรื่อง (ชั่วโมง) 1 การเขยี นเศษส่วนในรูปทศนิยม 1 2 การเขยี นจำนวนคละให้อยูใ่ นรูปทศนยิ ม 1 3 การหารทศนิยมด้วยจำนวนนับ 1 4 การหารทศนิยมด้วยจำนวนนบั 1 5 การหารทศนยิ มดว้ ยทศนิยมหนง่ึ ตำแหนง่ 1 6 การหารทศนยิ มด้วยทศนยิ มสองตำแหน่ง 1 7 การหารทศนยิ มด้วยทศนิยมสามตำแหน่ง 1 8 การแลกเปลยี่ นเงินตรา 1 9 โจทย์ปัญหาการบวกทศนิยม 1 10 โจทย์ปัญหาการบวกทศนิยม 1 11 โจทย์ปญั หาการลทศนยิ ม 1 12 โจทย์ปญั หาการลบทศนยิ ม 1 13 โจทยป์ ญั หาการคูณทศนิยม 1 14 โจทยป์ ญั หาการคูณทศนยิ ม 1 15 โจทย์ปญั หาการหารทศนยิ ม 1 16 โจทย์ปญั หาการหารทศนยิ ม 1 17 โจทย์ปัญหาการแลกเปล่ียนเงินตรา 1 17 รวม หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลกู สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2563

กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ห น้ า | 30 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 4 รอ้ ยละและอตั ราสว่ น จำนวน แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ เร่อื ง (ชว่ั โมง) 1 โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับร้อยละ 1 2 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั รอ้ ยละ 1 3 โจทย์ปญั หาการซ้ือขาย 1 4 โจทยป์ ญั หาการซ้ือขาย 1 5 โจทยป์ ัญหาการซื้อขาย 1 6 โจทยป์ ัญหาการซ้อื ขาย 1 7 โจทยป์ ัญหาการซอ้ื ขาย 1 8 โจทยป์ ญั หาการซือ้ ขาย 1 9 โจทยป์ ัญหาการซื้อขาย 1 10 โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ดอกเบีย้ 1 11 โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับดอกเบ้ีย 1 12 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ดอกเบีย้ 1 13 อัตราสว่ น 1 14 อตั ราส่วนทีเ่ ทา่ กนั 1 15 อัตราสว่ นทีเ่ ท่ากนั 1 16 อตั ราส่วนทเี่ ทา่ กนั 1 17 มาตราสว่ น 1 18 มาตราส่วน 1 19 โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับอตั ราสว่ น 1 20 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมาตราส่วน 1 20 รวม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ห น้ า | 31 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 แบบรูป จำนวน แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ เร่อื ง (ชัว่ โมง) 1 แบบรูปและความสมั พนั ธ์ 1 2 แบบรปู และความสัมพนั ธ์ 1 3 การแกป้ ญั หาเกี่ยวกับแบบรปู 1 4 การแกป้ ัญหาเกย่ี วกบั แบบรปู 1 4 รวม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะหห์ ลูกสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 32 กำหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 รูปสามเหลย่ี ม แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ เรอ่ื ง จำนวน (ชัว่ โมง) 1 ทบทวนการวดั ขนาดของมุม 2 ทบทวนการสรา้ งมุม 1 3 การจำแนกชนดิ ของรูปสามเหลย่ี มโดยพิจารณาจากขนาด 1 1 ของมุม 4 การจำแนกชนิดของรูปสามเหลย่ี มโดยพจิ ารณาจากขนาด 1 ของมมุ 1 5 การจำแนกชนดิ ของรปู สามเหล่ียมโดยพจิ ารณาจากความ 1 ยาวของดา้ น 6 การจำแนกชนิดของรปู สามเหล่ยี มโดยพิจารณาจากความ 1 ยาวของดา้ น 1 7 การจำแนกชนดิ ของรปู สามเหลีย่ มโดยพิจารณาจากมมุ 1 1 และด้าน 1 8 ส่วนต่างๆ ของรูปสามเหล่ียม 1 9 ส่วนสูงของรูปสามเหลย่ี ม 10 มุมภายในของรูปสามเหลยี่ ม 1 11 มุมภายในของรูปสามเหลย่ี ม 12 การสรา้ งรปู สามเหลย่ี ม เมอ่ื กำหนดความยาวของดา้ น 3 1 ด้าน 1 13 การสรา้ งรูปสามเหล่ียม เม่อื กำหนดความยาวของด้าน 2 1 ดา้ น และขนาดของมุม 1 มุม 14 การสร้างรูปสามเหล่ยี ม เม่ือกำหนดความยาวของดา้ น 1 ด้าน และขนาดของมุม 2 มุม 15 ความยาวรอบรปู ของรปู สามเหลย่ี ม 16 ความยาวรอบรูปของรปู สามเหลย่ี ม หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลกู สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 33 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ เร่ือง จำนวน (ชวั่ โมง) 17 พื้นท่ีของรูปสามเหลี่ยม 18 พนื้ ทีข่ องรูปสามเหลีย่ ม 1 19 พืน้ ที่ของรูปสามเหลยี่ ม 1 20 โจทย์ปญั หาเก่ยี วกับความยาวรอบรปู ของรูปสามเหลยี่ ม 1 21 โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับความยาวรอบรปู ของรปู สามเหล่ียม 1 22 โจทย์ปัญหาเก่ยี วกับพ้ืนทข่ี องรูปสามเหลี่ยม 1 23 โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับพ้ืนทีข่ องรูปสามเหลย่ี ม 1 24 โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับพื้นทแี่ ละความยาวรอบรูปของรูป 1 1 สามเหลย่ี ม 25 โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกบั พื้นที่และความยาวรอบรปู ของรปู 1 สามเหล่ียม 25 รวม หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลกู สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 2563

ห น้ า | 34 กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 รูปหลายเหลย่ี ม แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี เรื่อง จำนวน (ชวั่ โมง) 1 ทบทวนมมุ ภายในของรูปหลายเหลี่ยม 2 มมุ ภายในของรูปหลายเหลยี่ ม 1 3 มมุ ภายในของรูปหลายเหลีย่ ม 1 4 มุมภายในของรูปหลายเหลย่ี ม 1 5 มุมภายในของรูปหลายเหลีย่ ม 1 6 มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม 1 7 ความยาวรอบรปู ของรูปหลายเหล่ยี ม 1 8 ความยาวรอบรปู ของรปู หลายเหลีย่ ม 1 9 การหาพื้นทข่ี องรูปสี่เหล่ียมคางหมู 1 10 การหาพื้นท่ขี องรปู สเ่ี หลี่ยมคางหมู 1 11 การหาพ้นื ที่ของรูปส่ีเหล่ยี มจัตรุ สั โดยใชเ้ สน้ ทแยงมมุ 1 12 การหาพื้นท่ขี องรูปส่ีเหลย่ี มขนมเปยี กปนู โดยใชเ้ ส้นทแยง 1 1 มมุ 13 การหาพื้นที่ของรปู สเ่ี หลี่ยมรปู ว่าวโดยใชเ้ สน้ ทแยงมมุ 1 14 การหาพื้นทข่ี องรปู สี่เหล่ียมโดยแบ่งเป็นรปู สามเหลี่ยม 1 15 การหาพนื้ ทขี่ องรปู ส่เี หลี่ยมโดยแบ่งเป็นรูปสามเหลี่ยม 1 หรอื รูปสเ่ี หล่ียม 1 16 โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรปู ของรูปหลายเหลีย่ ม 1 17 โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับความยาวรอบรปู ของรปู หลายเหลี่ยม 1 18 โจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั พนื้ ทข่ี องรูปหลายเหล่ียม 1 19 โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับพน้ื ทข่ี องรปู หลายเหลี่ยม 19 รวม หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563

ห น้ า | 35 กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 8 วงกลม แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) 1 ส่วนต่างๆ ของวงกลม 2 สว่ นต่างๆ ของวงกลม 1 3 การสร้างวงกลมดว้ ยแถบกระดาษ 1 4 การสร้างวงกลมโดยใชว้ งเวียน 1 5 การสร้างวงกลมโดยใช้วงเวียน 1 6 การประดษิ ฐภ์ าพโดยใช้วงเวยี น 1 7 ความยาวของเสน้ รอบวง 1 8 ความยาวของเสน้ รอบวง 1 9 พ้ืนท่ีของวงกลม 1 10 พน้ื ทข่ี องวงกลม 1 11 โจทย์ปญั หาเกีย่ วกบั ความยาวของเส้นรอบวง 1 12 โจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับความยาวของเส้นรอบวง 1 13 โจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั พ้ืนท่ขี องวงกลม 1 14 โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั พ้นื ที่ของวงกลม 1 15 โจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั ความยาวของเสน้ รอบวงและพน้ื ที่ 1 1 ของวงกลม 16 โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั ความยาวของเส้นรอบวงและพื้นท่ี 1 ของวงกลม 16 รวม หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลกู สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา 2563

ห น้ า | 36 กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 รูปเรขาคณติ สามมิติ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี เรอื่ ง จำนวน (ชัว่ โมง) 1 ลกั ษณะและส่วนตา่ งๆ ของปรซิ มึ 2 ลกั ษณะและสว่ นตา่ งๆ ของพรี ะมิด 1 3 ลักษณะและสว่ นตา่ งๆ ของทรงกระบอก 1 4 ลักษณะและส่วนต่างๆ ของกรวย 1 5 ลักษณะและสว่ นตา่ งๆ ของทรงกลม 1 6 รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ 1 7 รูปคลข่ี องรปู เรขาคณิตสามมิติ 1 8 รปู คลข่ี องรปู เรขาคณติ สามมติ ิ 1 9 ปรมิ าตรของทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก 1 10 ปริมาตรของทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก 1 11 ความจขุ องทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉาก 1 12 ความจขุ องทรงสีเ่ หล่ยี มมมุ ฉาก 1 13 โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับปริมาตรหรือความจขุ องทรงสเ่ี หลี่ยม 1 1 มมุ ฉาก 14 โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกับปริมาตรหรือความจขุ องทรงสเ่ี หลี่ยม 1 มมุ ฉาก 1 15 โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับปริมาตรหรือความจขุ องทรงสีเ่ หลยี่ ม 15 มุมฉาก รวม หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา 2563

กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ห น้ า | 37 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 10 การนำเสนอข้อมลู จำนวน แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี เร่ือง (ชั่วโมง) 1 การอ่านแผนภมู ริ ปู วงกลม 1 2 การอ่านแผนภมู ริ ูปวงกลม 1 3 โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับแผนภูมิวงกลม 1 4 โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับแผนภูมิวงกลม 1 4 รวม หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 38 แนวทางการวดั ผล ประเมินผล วชิ า คณติ ศาสตร์ รหัส ค16101 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 160 ช่วั โมง ปกี ารศกึ ษา 2563 ดา้ นทีป่ ระเมิน วิธีการวดั / ประเมนิ เครอื่ งมอื ท่ีใชว้ ัด คะแนนการประเมนิ 1.ดา้ นความรู้ 1.ทดสอบโดยพิจารณา 1.แบบทดสอบ 50 คะแนน จากความถูกตอ้ ง 2.ด้านทกั ษะกระบวนการ 2.ประเมินผลงานนกั เรยี น - วัดด้านความรู้ - สอบกลางปี - วัดดา้ นความเขา้ ใจ - สอบปลายปี 3.ด้านเจตคติ 1.การตอบคำถาม - วัดด้านการนำไปใช้ - สอบระหวา่ งเรยี น 2.ตรวจแบบฝกึ หัด - วดั ด้านการวิเคราะห์ 3.ตรวจใบงาน - วดั ด้านการสงั เคราะห์ 40 คะแนน 4.ทดสอบ 2.แบบประเมินผลงาน - สอบระหว่างเรยี น 5.การอภิปราย 1.แบบทดสอบ - แบบฝึกหดั 6.ประเมินผลงาน 2.แบบประเมินผลงาน - ใบงาน 1.สงั เกตการมีสว่ นร่วมใน 3.แบบฝึกหดั - สอบกลางปี กิจกรรม 4.ใบงาน - สอบปลายปี 2.สังเกตความรับผิดชอบ 5.หัวขอ้ คำถาม ในการเรยี น 10 คะแนน 3.ตรวจอปุ กรณ์ในการ 1.แบบสังเกตพฤติกรรม การมีสว่ นร่วม เรยี น ความรับผดิ ชอบ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะหห์ ลูกสตู รกลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 39 ขอ้ ตกลงในการวดั -ประเมนิ ผล วิชา คณติ ศาสตร์ รหสั ค16101 กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 160 ชวั่ โมง ปกี ารศึกษา 2563 1.รายละเอียดในการวดั -ประเมนิ ผล = 70 : 30 อัตราส่วน คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 50 : 40 : 10 อัตราส่วน คะแนน K : P : A โดยมีรายละเอียดดังนี้ การประเมนิ คะแนน ตวั ชว้ี ัด วธิ วี ดั ชนิดของเครือ่ งมอื วัด ก่อนกลางปี 20 ค 1.1 - ทดสอบ - แบบทดสอบ กลางปี ป.6/1, ป.6/2, - ทำแบบฝกึ ทกั ษะ - แบบฝกึ ทักษะ หลงั กลางปี คุณลกั ษณะ ป.6/3, ป.6/4, - ประเมินชิน้ งาน - แบบประเมินชิน้ งาน ปลายปี 20 ป.6/5, ป.6/6, - ทดสอบ - แบบทดสอบ รวม 20 ป.6/7, ป.6/8, - ทดสอบ - แบบทดสอบ ป.6/9, ป.6/10, - ทำแบบฝึกทกั ษะ - แบบฝกึ ทกั ษะ ป.6/12 - ประเมนิ ช้นิ งาน - แบบประเมินชนิ้ งาน 10 ค 1.2 - สังเกต - แบบสงั เกต 30 ป.6/1 - ทดสอบ - แบบทดสอบ ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ค 3.1 ป.6/1 100 คะแนน หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลูกสูตรกลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563

ห น้ า | 40 2. กำหนดภาระงาน ในการเรยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์ (ค16101) ไดก้ ำหนดใหน้ กั เรียนทำกิจกรรม/ ปฏบิ ตั ิงาน(ช้นิ งาน) 4 ชิน้ ดังน้ี ท่ี ชอ่ื งาน ตัวชว้ี ัด ประเภทงาน กำหนดสง่ กลุ่ม เดย่ี ว วัน/เดอื น/ปี 1 แบบฝึกหัด ค 1.1 / ตลอดปกี ารศกึ ษา 2 แผนผังความคิดสรปุ เนอ้ื หา ป.6/1, ป.6/2, / ตุลาคม 2563 3 ผลงาน ชิน้ งาน ป.6/3, ป.6/4, / ตุลาคม 2563 ป.6/5, ป.6/6, / พฤศจกิ ายน 2563 4 สมุดบนั ทกึ การเรยี นรู้ ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9, ป.6/10, มนี าคม 2564 ป.6/12 / ค 1.2 ป.6/1 ค 2.1 5 หนงั สอื เล่มเล็กนทิ าน ป.6/1, ป.6/2, มนี าคม 2564 คณติ ศาสตร์ ป.6/3 ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ค 3.1 ป.6/1 ***หากนกั เรียนขาดส่งงาน 5 ช้ินและมคี ะแนนตลอดภาคเรยี นไม่ถงึ 50 คะแนน จะไดร้ บั ผลการ เรยี น “ร” ในรายวชิ านี้ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศักราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตารางวเิ คราะห์หลกู สตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2563

ห น้ า | 41 บรรณานุกรม คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน. (2560) . ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั . โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ .(2563). หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560). เอกสารอัด สำเนา.ศกึ ษาธิการ. (2551) . หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2562) . หนังสือเรยี นรายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สำนักพมิ พ์ สกสค.ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2562) . หนงั สือเรยี นรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ สกสค.ลาดพรา้ ว. หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตารางวิเคราะห์หลูกสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา 2563