หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ระดบั ประถมศกึ ษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ระดบั ประถมศกึ ษา กล่มุ บริหารงานวิชาการ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารวชิ าการลำดับท่ี ๐๒3/๒๕๖4 ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คำนำ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ได้จดั ทำหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ฉบับน้ี ซง่ึ เป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ให้ตรงตาม มาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โดยพิจารณาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2564 ซง่ึ มีองคป์ ระกอบดังนี้ - วสิ ัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย - สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น - คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ - คณุ ภาพผู้เรียน - ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง - รายวชิ าที่เปิด - คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน - โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน - สือ่ /แหล่งเรียนรู้ - การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ขอขอบคุณคณะครูและคณะผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนร่วมในการจัดทำทุกฝ่าย คณะกรรมการ สถานศึกษา นกั เรยี น และผ้ปู กครองนักเรียน ที่ทำให้การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี สำเรจ็ ได้ดว้ ยดี คณะผจู้ ัดทำ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 1 1 สารบัญ 1 2 คำนำ 3 สารบญั 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี 5 บทนำ 5 ทำไมต้องเรียนการงานอาชีพ 7 สาระสำคัญของกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 8 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 8 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8 หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 12 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้การงานอาชพี 12 ทักษะและกระบวนการทางการงานอาชพี 18 คุณภาพผ้เู รยี น 26 โครงสรา้ งเวลาเรยี น 32 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 43 45 สาระที่ 1 การดำรงชวี ิตและครอบครัว 46 สาระท่ี 2 การอาชพี 46 คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน โครงสร้างรายวิชา สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ อภธิ านศพั ท์ บรรณานุกรม ภาคผนวก คณะผจู้ ัดทำ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี บทนำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และกรอบหลักสูตร ท้องถ่ินของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ มาใช้เป็นกรอบและทิศทางในการ จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหม บำรุงราษฎร์) ให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการ เปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรเู้ พอื่ พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ติ ทำไมตอ้ งเรียนการงานอาชพี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเปน็ กลมุ่ สาระท่ีช่วยพัฒนาให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ มี ทักษะพื้นฐานท่ีจำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการ ดำรงชีวิต การอาชีพ มาใช้ประโยชน์ในการทำงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทย และสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน และมีเจตคติท่ีดีต่อการทำงาน สามารถ ดำรงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้อยา่ งพอเพียงและมีความสขุ สาระสำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี มุ่งพัฒนาผเู้ รียนแบบองค์รวม เพื่อให้มคี วามรู้ความสามารถ มี ทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี สาระสำคญั ดังน้ี • การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเก่ียวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน ช่วยเหลือ ตนเองครอบครัวและสังคมไดใ้ นสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไมท่ ำลายสิ่งแวดลอ้ ม เน้นการปฏิบัติจรงิ จนเกิด ความมนั่ ใจและภมู ิใจในผลสำเรจ็ ของงาน เพอ่ื ให้ค้นพบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนเอง ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ • การอาชีพ เป็นสาระทเี่ กย่ี วขอ้ งกับทกั ษะที่จำเปน็ ตอ่ อาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมและเจตคตทิ ่ีดีตอ่ อาชีพ เห็นคุณค่าของอาชีพท่ีสจุ รติ และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพอย่าง เหมาะสม สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาผเู้ รยี นให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรทู้ ่ีกำหนดน้ันจะช่วยให้ ผ้เู รียนเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี นข้อมลู ขา่ วสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ิธกี ารสอื่ สารทีม่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทมี่ ีต่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพ่อื การตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและแกไ้ ขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตอ่ ตนเอง สังคมและส่งิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูด้ ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จัก หลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ นื่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ ทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานเป็นพลเมือง ไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑.๑ ร่วมกิจกรรมแสดงความรักชาติ เช่น เชิญธง ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ รักษาชื่อเสยี ง และหวงแหนสมบตั ิของชาติ ๑.๒ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา และปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา เช่น รักษาศีล ปฏิบตั ิธรรม ๑.๓ รว่ มกจิ กรรมเพอ่ื แสดงความจงรักภกั ดตี อ่ พระมหากษตั ริย์ ๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต ๒.๑ ให้ข้อมูลที่ถกู ต้องและเปน็ จรงิ ไมโ่ กหก ๒.๒ ไมถ่ ือเอาส่งิ ของหรอื ผลงานของผู้อน่ื มาเป็นของตนเอง ไมล่ ักขโมย ๒.๓ ไมห่ าผลประโยชนใ์ นทางท่ไี ม่ถูกต้อง ไม่คดโกง ๓. มีวนิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง กฎระเบยี บของครอบครวั โรงเรยี นและสังคม ๓.๒ ตรงต่อเวลาและรับผดิ ชอบในการเรียน การปฏบิ ตั ิงาน ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรตู้ ่าง ๆ ๔.๒ แสวงหา ศกึ ษา คน้ คว้าความรจู้ ากแหลง่ การเรียนร้ตู ่าง ๆ ๔.๓ บนั ทึกความรูว้ ิเคราะห์ตรวจสอบ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเองและของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า รวมทั้งใช้เวลาอย่าง เหมาะสม ๕.๒ ปฏบิ ัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบมีเหตผุ ล ๕.๓ วางแผนการเรียนการทำงานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร มีภูมิคุ้มกันใน ตวั ทดี่ ี ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๖. มุ่งม่นั ในการทำงาน ๖.๑ ตั้งใจและรับผดิ ชอบในการทำงานใหส้ ำเร็จ ๖.๒ ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหาและอุปสรรค ๖.๓ ปรบั ปรงุ พฒั นาการทำงานและผลงานด้วยตนเอง ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๗.๑ ปฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี การงานอาชีพ วฒั นธรรมไทย ๗.๒ ใช้ภาษาไทย เลขไทยในการส่อื สารได้อยา่ งถูกต้อง ๗.๓ ร่วมกจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกับภมู ิปญั ญาไทย นำมาใช้ใหเ้ หมาะสมในวิถีชีวติ ๘. มจี ิตสาธารณะ ๘.๑ ช่วยเหลือผู้อ่ืน แบ่งปันสิ่งของ อาสาทำงานให้ด้วยความเต็มใจ ไม่หวัง ผลตอบแทน ๘.๒ เขา้ ร่วมกจิ กรรมที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชมุ ชนและสังคม ๘.๓ ดูแลรกั ษาสาธารณสมบัตแิ ละสิง่ แวดล้อมดว้ ย ความเตม็ ใจ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยน้อมนำหลกั เศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ➢ ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือ ว่าน้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรอื ผอู้ ืน่ ใหเ้ ดอื ดรอ้ น ➢ ห่วงท่ี 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยที่เก่ียวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทานั้นๆ อย่าง รอบคอบ ➢ ห่วงท่ี 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะ เกิดขึ้น โดยคำนึ งถึงความเป็ น ไป ได้ของ สถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ท้งั ใกลแ้ ละไกล ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ สาระท่ี ๑ การดำรงชีวติ และครอบครวั มาตรฐาน ง๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทกั ษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึก ในการใช้ พลงั งานทรัพยากร และสง่ิ แวดล้อมเพือ่ การดำรงชวี ิตและครอบครัว สาระที่ ๒ การอาชีพ มาตรฐาน ง ๒.๑ เขา้ ใจ มีทักษะทีจ่ ำเป็น มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพ่อื พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติทีด่ ีต่ออาชีพ ทักษะด้านการงานอาชีพ ทกั ษะการทำงาน ทักษะกระบวนการทำงานเป็นการลงมือทำด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นฝึกวิธีการทำงานตามขั้นตอน อยา่ งสมำ่ เสมอ เพ่อื ใหส้ ามารถทำงานไดบ้ รรลุวัตถุประสงคข์ น้ั ตอนของกระบวนการทำงาน ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 การวิเคราะห์งาน เป็นการศึกษาข้อมูลเพื่อนำมาวางแผนในการทำงาน ได้แก่ ลักษณะของงาน คณุ สมบัติของผปู้ ฏิบตั งิ าน ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนในการทำงาน เป็นการกำหนดวัตถุประสงค์และวิธีการไว้ล่วงหน้าอยา่ ง คร่าวๆ โดยอาศยั ขอ้ มลู จากข้ันตอนที่ 1 มาใชป้ ระกอบการพิจารณาและตัดสินใจ ข้ันตอนที่ 3 การปฏิบัติงานตามลำดับขั้นตอน เป็นการลงมือตามแผนที่วางไว้เพ่ือให้งานสำเร็จ ตามวตั ถปุ ระสงค์การลงมือทำงานในขน้ั ตอนน้ีตอ้ งมกี ารควบคมุ ด้วย เพราะบางคนวางแผนไว้อย่างละเอียด แต่ไม่ได้ปฏิบัติตามซ่ึงอาจทำให้เกิดผลเสียตามมาได้นอกจากน้ีควรตรวจสอบความก้าวหน้าของแผนด้วย บางคร้งั อาจมกี ารปรบั เปลย่ี นแผนเพ่ือหลีกเล่ยี งปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นโดยไม่คาดคิดมากก่อน ข้ันตอนท่ี4 การประเมินผลการทำงาน สามารถประเมินได้ท้ังก่อนทำงาน ขณะทำงาน และ หลังจากทำงานเสร็จแล้ว ซ่ึงทำให้ทราบว่างานที่ทำประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้หรือไม่ ถ้า ไม่สำเรจ็ มสี าเหตุมาจากอะไรและมีวิธกี ารปรับปรุงแกไ้ ขอย่างไร โดยสรปุ เป็นแผนทค่ี วามคิดดังน้ี ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการแกป้ ญั หา มขี ั้นตอน ดงั น้ี 1. การพิจารณาปัญหา เป็นการกำหนดปัญหา สังเกตและทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดข้ึน โดยสังเกตลกั ษณะของปญั หาและพยายามมองให้ถูกจดุ ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 2. การวิเคราะห์ปัญหา โดยแยกแยะว่าปัญหาท่ีต้องการแก้ไขน้ันมีสภาพเป็นอย่างไร เป็นต้นแล้ว รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ พิจารณาว่า ข้อมูลหรือเง่ือนไขท่ีกำหนดมีเพียงพอท่ีจะแก้ปัญหาหรือไม่ ถ้าไม่พอก็ ควรหาเพ่ิมเตมิ 3. การสร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา หมายถึง การคิดแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย จน สามารถแกป้ ญั หาน้ัน ๆ ได้หรือไม่ ทักษะการทำงานรว่ มกนั การทำงานร่วมกับผู้อ่ืน หมายถึง การทำงานร่วมกับผู้อื่นต้ังแต่สองคนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายในการทำงานอย่างเดียวกัน สมาชิกในกลุ่มรู้จักหน้าท่ีของตนเอง และยึดหลักของการทำงาน เป็นกลุม่ เป็นสำคัญ รวมท้งั การมีมนุษย์สมั พันธท์ ดี่ เี พ่อื ดำเนินงานต่าง ๆ ให้ประสบผลสำเรจ็ กระบวนการใน การทำงานร่วมกัน มขี ้นั ตอนดังนี้ 1. การเลือกหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้นำ คือ ผู้ที่ทำให้งานสำเร็จตามเป้าหมายโดยอาศัยความร่วมมือ จากสมาชิกในกลุ่ม หัวหน้ากลุ่มที่มีความสามารถจะสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกับกลุ่ม เป็นศูนย์กลางในการ ประสานพลงั เพอ่ื ดำเนินงานใหบ้ รรลุเป้าหมายทีต่ ้องการได้ 2. การกำหนดเป้าหมาย เป็นตัวกำหนดส่ิงที่กลุ่มต้องการว่าคืออะไร สมาชิกในกลุ่มจะต้องมี เป้าหมายตรงกัน มีความชัดเจนและมองเห็นผลท่จี ะได้รับเมือ่ ปฏบิ ัตงิ านเสรจ็ 3. การวางแผนในการทำงาน เป็นการกำหนดกจิ กรรมไว้ลว่ งหน้าว่าจะตอ้ งทำอะไรบา้ ง แบง่ หนา้ ท่ี ในการทำงานอย่างไร มีข้ันตอนอย่างไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งการวางแผนท่ีดีจะช่วยให้บรรลุเป้าหมาย ได้งา่ ยข้ึนและจะต้องอาศัยวิสัยทัศน์ของสมาชิกในกลมุ่ ด้วย 4. การแบ่งงานตามความสามารถ เป็นการป้องกนั ปญั หาการก้าวก่ายหนา้ ที่ซึ่งกนั และกัน หรือการ ทำงานท่ซี ำ้ ซ้อนกนั ซึ่งเปน็ หนา้ ที่ของหวั หนา้ กลุ่มท่จี ะมอบหมายงาน 5. การปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ี เม่ือสมาชิกแต่ละคนได้รับมอบหมายงาน จึงลงมือปฏิบัติตาม หนา้ ที่และควบคมุ การปฏิบตั ิงานของตนเองใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทวี่ างไว้ 6. การประเมินผลและปรับปรุงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการทำงานร่วมกัน ทำให้ ทราบว่าการทำงานของกลุ่มบรรลุตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้หรือไม่ หรือมีขอ้ บกพร่องใดเพ่ือนำมาปรบั ปรุง การทำงานให้ดขี ้นึ ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการแสวงหาความรู้คือ วิธีการและกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพ่ือนำไปใช้ ประกอบการเรียนเนื้อหาต่าง ๆ หรือการทำงานอาชีพ เป็นการพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้า ทันสมัย และสามารถดำรงชีวิตอยกู่ บั ความเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยไี ดอ้ ย่างมคี วามสุข ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ทกั ษะการจัดการ ทักษะการจดั การเป็นความพยายามของบุคคลที่จะจัดระบบงานและจัดระบบคน เพ่ือให้ได้ผลงาน สำเรจ็ ตามเปา้ หมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ มีข้นั ตอนดังน้ี 1. การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการได้รับจากการทำงานไว้ล่วงหน้า ซ่ึงอาจเป็น เป้าหมายระยะสัน้ ระยะยาว หรอื เป้าหมายท่ีมกี ารเปลยี่ นแปลงได้ 2. การวิเคราะห์ทรัพยากร เป็นการพิจารณาว่าทรัพยากรที่นำมาใช้สามารถทำให้บรรลุเป้าหมาย ท่ีตัง้ ไว้หรือไม่ 3. การวางแผนและกำหนดทรัพยากร เป็นการกำหนดกิจกรรมไว้ลว่ งหน้าวา่ จะต้องทำอะไร สิ่งใด อยา่ งไร เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ตี ้งั ไวโ้ ดยใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยู่อยา่ งเหมาะสมและเกิดประโยชนส์ ูงสดุ 4. การปฏิบัติตามแผนและการปรบั แผน เป็นการนำแนวทางปฏิบัติงานท่ีกำหนดมาดำเนนิ การให้ สำเร็จตามวัตถุประสงคห์ รือเป้าหมายทต่ี ้งั ไวห้ รือปรับเปล่ียนแผนทีว่ างไว้เพื่อหลกี เลี่ยงปัญหาท่จี ะเกิดข้นึ 5. การประเมินผล เป็นการตรวจสอบเพ่ือให้ทราบว่าการปฏิบัติงานของตนเองหรือของทีมงาน บรรลุตามเป้าหมายท่กี ำหนดไวห้ รอื ไม่ (www.wpp.co.th) คณุ ภาพผู้เรยี น จบช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ • เข้าใจวิธีการทำงานเพ่ือช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ เครื่องมือถูกตอ้ งตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทำงาน มีลักษณะนิสัยการทำงาน ท่ีกระตอื รือร้น ตรงเวลา ประหยัด ปลอดภยั สะอาด รอบคอบ และมีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อม • เข้าใจประโยชน์ของส่ิงของเคร่ืองใช้ในชีวิตประจำวัน มีความคิดในการแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการสร้างของเล่น ของใช้อย่างง่าย โดยใช้ กระบวนการเทคโนโลยี ได้แก่ กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดยถ่ายทอด ความคิดเป็นภาพรา่ ง ๒ มติ ิ ลงมือสร้าง และประเมินผล เลอื กใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างถูกวิธี เลือกใชส้ ิ่งของ เครือ่ งใช้ในชวี ติ ประจำวันอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมีการจดั การส่ิงของเครื่องใช้ด้วยการนำกลบั มาใชซ้ ้ำ จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ • เข้าใจการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละข้ันตอน มีทักษะการจัดการ ทักษะ การ ทำงานร่วมกัน ทำงานอย่างเป็นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลักษณะนิสัยการทำงานท่ีขยัน อดทน รบั ผิดชอบ ซอื่ สตั ย์ มมี ารยาท และมีจติ สำนกึ ในการใชน้ ้ำ ไฟฟ้าอยา่ งประหยัดและค้มุ ค่า • รแู้ ละเข้าใจเกย่ี วกับอาชพี รวมทัง้ มคี วามรู้ ความสามารถและคุณธรรมที่สัมพันธ์กับอาชีพ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสรา้ งเวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ระดับชัน้ รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา จำนวนชัว่ โมง/ป/ี ภาค ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๒๐ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๒0 ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑. ๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู้ มี คุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อ การดำรงชีวิตและครอบครัว ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป. ๑ ๑. บอกวิธีการทำงานเพือ่ ช่วยเหลอื • การทำงานเพื่อช่วยเหลอื ตนเอง เชน่ การแต่งกาย ตนเอง ๒. ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และ การเกบ็ ของใช้ การหยบิ จบั และใช้ของใชส้ ว่ นตัว เครอ่ื งมอื ง่าย ๆ ในการทำงานอย่าง การจัดโต๊ะ ตู้ ชนั้ ปลอดภัย ๓. • การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือง่าย ๆ ในการทำงานอยา่ งปลอดภยั เชน่ ทำงานเพื่อชว่ ยเหลือตนเองอย่าง - การทำความคุน้ เคยการใช้เครือ่ งมอื - การรดนำ้ ต้นไม้ กระตือรือร้นและตรงเวลา - การถอนและเกบ็ วชั พชื - การพับกระดาษเปน็ ของเล่น ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๒ ๑. บอกวิธีการและประโยชน์การทำงาน • การทำงานเพื่อช่วยเหลอื ตนเองและ เพือ่ ช่วยเหลือตนเองและครอบครัว ครอบครวั เชน่ ๒. ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ - บทบาทและหนา้ ท่ีของสมาชิกในบา้ น ในการทำงานอยา่ งเหมาะสมกบั งานและ - การจดั วาง เกบ็ เสอื้ ผ้า รองเท้า ประหยัด - การช่วยครอบครัวเตรียมประกอบอาหาร ๓. ทำงานเพอ่ื ช่วยเหลอื ตนเองและ - การกวาดบา้ น ครอบครวั อยา่ งปลอดภัย - การล้างจาน • การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ เชน่ - การเพาะเมลด็ - การดูแลแปลงเพาะกลา้ - การทำของเล่น - การประดิษฐข์ องใช้สว่ นตวั ป. ๓ ๑.อธิบายวธิ ีการและประโยชน์ • การทำงานเพื่อชว่ ยเหลือตนเอง ครอบครวั การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง และส่วนรวม เชน่ ครอบครัว - การเลือกใช้เส้ือผ้า และสว่ นรวม - การจดั เตรียมอุปกรณก์ ารเรยี น ๒ ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมือ ตรง - การทำความสะอาดรองเท้า กระเปา๋ นักเรยี น กับลักษณะงาน - การกวาด ถู ปดั กวาด เช็ดถู บ้านเรอื น ๓.ทำงานอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนตาม - การทำความสะอาดห้องเรียน กระบวนการทำงานดว้ ยความสะอาด • การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ เช่น ความรอบคอบ และอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม - การปลกู ผกั สวนครวั - การบำรุงรกั ษาของเลน่ - การซอ่ มแซมของใชส้ ่วนตวั - การประดิษฐข์ องใช้ในโอกาสตา่ งๆ โดยใช้ วัสดุในทอ้ งถ่ิน ป. ๔ ๑. อธบิ ายเหตุผลในการทำงานใหบ้ รรลุ • การทำงาน เชน่ เป้าหมาย - การดแู ลรักษาของใชส้ ว่ นตัว ๒. ทำงานบรรลุเปา้ หมายทีว่ างไว้ - การจัดต้เู ส้อื ผ้า โต๊ะเขยี นหนังสอื และกระเป๋า อย่างเปน็ ข้ันตอน ด้วยความขยัน อดทน นักเรยี น รับผดิ ชอบ และซื่อสัตย์ - การปลูกไม้ดอก หรือ ไม้ประดบั ๓. ปฏบิ ัติตนอยา่ งมีมารยาท - การซอ่ มแซมวสั ดุ อุปกรณ์ และเครอื่ งมอื ในการทำงาน - การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแตง่ จากใบตอง ๔.ใช้พลงั งานและทรัพยากร และกระดาษ ในการทำงานอยา่ งประหยัด และคมุ้ ค่า - การจัดเก็บเอกสารส่วนตัว ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง • มารยาท เช่น - การตอ้ นรบั บดิ ามารดาหรือผู้ปกครอง ในโอกาสตา่ ง ๆ - การรับประทานอาหาร - การใช้ห้องเรยี น ห้องน้ำ และห้องส้วม ป. ๕ ๑. อธบิ ายเหตุผลการทำงานแต่ละ • ขน้ั ตอนการทำงาน เชน่ ขัน้ ตอนถกู ต้องตามกระบวนการทำงาน - การซ่อมแซม ซกั ตาก เก็บ รีด พบั เสื้อผา้ ๒. ใชท้ ักษะการจัดการในการทำงาน - การปลูกพชื อย่างเป็นระบบ ประณตี และมีความคิด - การทำบญั ชคี รัวเรือน สรา้ งสรรค์ • การจดั การในการทำงาน เชน่ ๓. ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งมีมารยาทใน - การจดั โตะ๊ อาหาร ตู้อาหาร ตเู้ ยน็ และ การทำงานกบั สมาชิกในครอบครวั หอ้ งครัว ๔. มจี ิตสำนกึ ในการใช้พลังงานและ - การทำความสะอาดห้องน้ำและหอ้ งสว้ ม ทรัพยากรอย่างประหยัดและคมุ้ ค่า - การซอ่ มแซมอุปกรณ์ของใชใ้ นบา้ น - การประดิษฐข์ องใช้ ของตกแต่งจากวัสดุ เหลือใช้ทม่ี ีอยูใ่ นท้องถน่ิ - การจัดเกบ็ เอกสารสำคญั - การดแู ลรักษาและใชส้ มบัติส่วนตัว สมาชกิ ในครอบครวั และส่วนรวม • มารยาท เช่น - การทำงานกับสมาชิกในครอบครัว ป. ๖ ๑. อภปิ รายแนวทางในการทำงานและ • การทำงานและการปรับปรุงการทำงาน เชน่ ปรับปรงุ การทำงานแต่ละขัน้ ตอน - การดแู ลรกั ษาสมบัติภายในบา้ น ๒. ใชท้ ักษะการจัดการในการทำงาน - การปลกู ไม้ดอก หรือ ไม้ประดับ หรอื และมที ักษะการทำงานร่วมกัน ปลกู ผกั หรือเล้ยี งปลาสวยงาม ๓. ปฏบิ ัตติ นอยา่ งมีมารยาท - การบนั ทึกรายรับ – รายจา่ ยของห้องเรียน ในการทำงานกบั ครอบครวั และผอู้ นื่ - การจดั เก็บเอกสารการเงนิ • การจดั การในการทำงานและทักษะการ ทำงานรว่ มกนั เช่น - การเตรียม ประกอบ จดั อาหาร ใหส้ มาชิก ในครอบครัว - การติดตั้ง ประกอบ ของใช้ในบา้ น - การประดิษฐข์ องใช้ ของตกแตง่ ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั หรอื เพ่ือน ในโอกาสตา่ ง ๆ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง • มารยาท เชน่ - การทำงานกบั สมาชิกในครอบครวั และผู้อ่ืน สาระที่ 2 การอาชีพ มาตรฐาน ง 2.1 เขา้ ใจ มีทกั ษะท่จี ำเปน็ มีประสบการณ์เห็นแนวทางในงานอาชีพ มีคณุ ธรรม และมีเจตคตทิ ี่ตอ่ อาชพี ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป๑ - - ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ ๑. อธิบายความหมายและความสำคญั • ความหมายและความสำคัญของอาชีพ ของอาชพี ป.๕ ๑. สำรวจขอ้ มูลท่ีเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ • อาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชน ในชุมชน - คา้ ขาย ๒. ระบุความแตกต่างของอาชพี - เกษตรกรรม - รับจา้ ง - รับราชการ พนักงานของรฐั - อาชีพอิสระ • ความแตกต่างของอาชีพ - รายได้ - ลกั ษณะงาน - ประเภทกจิ การ • ขอ้ ควรคำนึงเกีย่ วกับอาชีพ - ทำงานไม่เปน็ เวลา - การยอมรับนับถือจากสังคม - มีความเสย่ี งตอ่ ชีวิตสูง ป.๖ ๑. สำรวจตนเองเพ่ือวางแผนในการ • การสำรวจตนเอง เลอื กอาชพี - ความสนใจ ความสามารถ และทักษะ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. ระบคุ วามรู้ ความสามารถ และ • คุณธรรมในการประกอบอาชพี เช่น คุณธรรมท่ีสัมพนั ธ์กบั อาชพี ที่สนใจ - ความซอ่ื สตั ย์ - ความขยัน อดทน - ความยุติธรรม - ความรับผิดชอบ คำอธบิ ายรายวชิ า คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ง๑๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง ศึกษา วิธีการทำงานเพ่ือช่วยเหลือตนเอง วิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์และเคร่อื งมือง่ายๆ ฝึกแต่งกาย เก็บของใช้ การหยิบจับและใช้ของส่วนตัว การจัดโต๊ะ ตู้ ชั้น อย่างสม่ำเสมอ สังเกตการใช้เครื่องมือรดน้ำ ต้นไม้ อุปกรณ์ถอนและเก็บวัชพืช ฝึกใชเ้ ครือ่ งมอื ในการทำงานอย่างปลอดภยั มลี ักษณะนิสัยในการทำงาน ทดี่ ี มีความกระตือรือร้นในการทำงานและตรงต่อเวลาฝกึ พับกระดาษเปน็ ของเล่น ในรปู แบบต่างๆ เพ่ือให้ มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือง่ายๆ มีความกระตือรือร้นในการ ทำงานและตรงต่อเวลา มจี ิตอาสาและสำนึกรักสิง่ แวดล้อม รหัสตัวชีว้ ดั ง๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ รวมทั้งหมด ๓ ตวั ช้วี ดั ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน รหัสวิชา ง๑๒๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง ศึกษาวิธีการทำงานตามบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในบ้าน การจัดเก็บเส้ือผ้า รองเท้า การช่วย ครอบครัวเตรียมประกอบอาหาร การกวาดบ้าน การล้างจาน ซักถามและสรุปในเร่ืองผลของการปฏิบตั ิท่ี มีต่อความเป็นอยู่ของตนเองและครอบครัว ฝึกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเพาะเมล็ด การดูแล แปลงเพาะกล้า การทำของเล่น จากใบมะพร้าว การประดิษฐ์ของใช้ส่วนตัว การทำงานเพื่อตนเองและ ครอบครวั อย่างปลอดภัย ศึกษา สังเกตประโยชน์ของสงิ่ ของเครอ่ื งใช้ในชีวติ ประจำวัน สร้างของเล่น หรอื ของใช้จากใบมะพร้าว อย่างเป็นข้ันตอนต้ังแต่กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิด เป็นภาพร่าง ๒ มิติ ก่อนลงมือสร้างและประเมินผลการทำงานอย่างเป็นกระบวนการ นำความรู้เกี่ยวกับ การใชอ้ ปุ กรณ์ เคร่ืองมือท่ีถูกวธิ ีไปประยุกตใ์ ช้ ในการสร้าง ของเล่นของใช้อย่างง่าย มคี วามคดิ สร้างสรรค์ อยา่ งนอ้ ย ๑ ลักษณะ ในการแก้ปัญหา โดยความคิดสร้างสรรค์มี ๔ ลกั ษณะ ประกอบดว้ ยความคิดริเร่ิม ความคลอ่ งในการคดิ ความยดื หยนุ่ ในการคิด และความคิดละเอยี ดลออ รหสั ตัวชี้วดั ง๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ง๑.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวมทั้งหมด ๖ ตัวชีว้ ดั ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน รหสั วิชา ง๑๓๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง ศึกษา สังเกต เข้าใจ อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และทำงานให้เกิดผลอย่างเป็นข้ันตอนตามกระบวนการ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน การเลือกใช้เสื้อผ้า การจัดเตรียมอุปกรณ์ การเรยี น การทำความสะอาดรองเท้า กระเป๋านักเรียน การปัดกวาด เช็ดถูบ้านเรือน การทำความสะอาดห้องเรียน การใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือให้เหมาะสมตรงกับกับลักษณะงาน ช่วยให้ประหยัดและปลอดภัย เช่น การปลูกผักสวนครัว การบำรุงรักษาของเล่น การซ่อมแซมของใช้ส่วนตัว การประดิษฐ์ของใช้ในโอกาส ต่างๆโดยใช้วัสดุในท้องถ่ิน ทำงานอย่างเป็นข้ันตอนตามกระบวนการ ด้วยความสะอาด รอบคอบ และ อนรุ กั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม เปน็ คณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ัยในการทำงาน รหัสตวั ชี้วัด ง๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ รวมท้ังหมด ๓ ตวั ชี้วัด ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รหสั วิชา ง๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง ศกึ ษาอธิบาย และปฏิบัติ ในการดูแลรักษาของใชส้ ่วนตัว การจัดตู้เสื้อผ้า โต๊ะเขยี นหนังสือ และ กระเป๋านักเรียน การจัดเก็บเอกสารส่วนตัว มารยาทในการปฏิบัติตน การต้อนรับบิดามารดาหรือ ผู้ปกครองในโอกาสตา่ งๆ การใช้ห้องเรยี น ห้องน้ำและห้องสว้ ม การรับประทานอาหารการปลูกไมด้ อกหรือ ไม้ประดับ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เคร่ืองมือและเครื่องใช้ การประดิษฐ์ของใช้ ฝึกห่อขนมทรงสูง ทรงเตี้ย จากใบตองและกระดาษ มีความคิดสร้างสรรค์ความประณีต ทำงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็น ขน้ั ตอน ศกึ ษา อธิบาย ความหมายและความสำคัญของอาชพี รหัสตัวช้ีวัด ง๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ง๒.๑ ป.๔/๑ รวมทั้งหมด ๕ ตัวช้ีวดั ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน รหัสวชิ า ง๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลาเรียน ๔๐ ชัว่ โมง ศกึ ษา อธิบาย ข้ันตอนการทำงานตามกระบวนการทำงาน ในเรอ่ื งการซ่อมแซม ชัก ตาก เก็บ รีด พับ เสอื้ ผา้ การทำบัญชีครัวเรอื น การจัดเก็บเอกสารสำคัญ การดแู ลรกั ษาและใช้สมบัตสิ ่วนตวั สมาชกิ ใน ครอบครวั มารยาทในเรือ่ งการทำงานกับสมาชิกในครอบครวั ฝึกทักษะการจัดการในการทำงานในเรื่อง การจัดโต๊ะอาหารตู้อาหาร ตู้เย็น และห้องครัวการทำ ความสะอาดหอ้ งนำ้ และห้องสว้ ม การซอ่ มแซมอุปกรณข์ องใช้ในบา้ น ฝกึ ปลูกพชื ในเรื่องพืชผกั สวนครวั โดยใชก้ ระบวนการเกษตรอินทรยี ์ ฝึกประดิษฐ์ไม้กวาดจากรกมะพร้าว พรมเช็ดเท้าจากเศษผ้าที่ตักผงจากปี๊บของตกแต่งจากวัสดุ เหลือใชท้ ี่มีอย่ใู นทอ้ งถิ่น ศึกษา สำรวจข้อมูลอาชีพต่างๆ ในชุมชนได้แก่ อาชีพค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้าง รับราชการ พนักงานของรัฐ อาชีพอิสระ ความแตกต่างของอาชีพในเรื่องรายได้ ลักษณะงาน ประเภทกิจการ ข้อควร คำนึงเก่ียวกับอาชีพในเร่ืองทำงานไม่เป็นเวลาการยอมรับนับถือจากสังคม ปัจจัยเส่ียงของอาชีพกับชีวิต ระบคุ วามแตกตา่ งของอาชพี รหัสตวั ชว้ี ดั ง๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ง๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวมทัง้ หมด ๖ ตัวชวี้ ดั ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วิชา ง๑๖๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ช่วั โมง ศึกษา ฝึกปฏิบัติ ในเรื่องแนวทางในการทำงาน เช่น การดูแลสมบัติภายในบ้าน บันทึกรายรับ รายจ่ายของห้องเรียน การจัดเก็บเอกสาร การปลูกไม้ดอก หรือเลี้ยงปลาสวยงาม มารยาท การทำงาน กบั สมาชิกในครอบครวั และผู้อ่นื แลว้ นำมาอภิปรายเพ่ือปรบั ปรงุ การทำงานแตล่ ะข้ันตอน ฝึกบันทกึ รายรบั รายจา่ ยของห้องเรยี น การจดั การในการทำงานร่วมกนั เช่น การเตรยี มประกอบ อาหาร จัดอาหารให้สมาชกิ ในครอบครวั การติดตง้ั ของใช้ในบา้ นและสมาชิกในครอบครัวในโอกาสต่างๆ สำรวจ ฝึกปฏิบัติ การจักสาน/การประดิษฐ์ ของเล่น ของประดับตกแต่ง ของใช้จากวัสดุ ท่ีมใี นทอ้ งถนิ่ วสั ดเุ หลือใช้ และวสั ดทุ ี่จัดหาไดง้ า่ ยในราคาประหยัด สำรวจ ฝึกทำอาหารและขนมพื้นบ้านสุรินทร์ที่นิยมใช้ในงานแซนโฎนตา ประจำปีของทุกปี โดย เน้นให้นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ใหเ้ กิดความรู้และทักษะสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ ศึกษา สำรวจตนเองในเรื่องความสนใจในอาชีพ คุณธรรม ในการประกอบอาชีพ ในเรื่องความ ซอ่ื สตั ย์ ความขยัน อดทน ความยตุ ิธรรม ความรับผิดชอบ เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในการจัดการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน เป็นผู้มีมารยาทในการ ทำงานกบั ครอบครวั และผูอ้ นื่ มีทกั ษะการสรา้ งชน้ิ งาน ร้จู ักประยกุ ตค์ วามรใู้ นการสรา้ งส่ิงของเครอ่ื งใช้ เพอ่ื ให้นกั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถทำงานตามข้ันตอน กระบวนการวางแผนแก้ปัญหา ตรวจสอบและปรบั ปรุงงานอยู่เสมอ เพอื่ ใช้ในชีวติ ประจำวนั อยา่ งมจี ติ สำนึกและความรบั ผิดชอบ รหัสตัวชว้ี ัด ง๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ง๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ รวมทั้งหมด ๕ ตวั ชว้ี ัด ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสรา้ งรายวชิ าการงานอาชีพ โครงสรา้ งรายวิชา รหสั วชิ า ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ปี ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ การทำงานเพ่ือ ง ๑.๑ ป.๑/๑ การทำงานเพื่อช่วยเหลือ 6 30 ช่วยเหลือตนเอง ตนเองเปน็ การมงุ่ เนน้ การฝึก 6 20 ทำงานอย่างสม่ำเสมอ เช่น 8 20 - การแต่งกาย - การเกบ็ ของใช้ - การหยิบจับและใชข้ องใช้ ส่วนตัว - การจดั โตะ๊ ตู้ ช้ัน ๒ การใชว้ สั ดุ ง ๑.๑ ป.๑/๒ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ อุปกรณ์และ ง ๑.๑ ป.๑/๓ เคร่อื งมืองา่ ยๆ ในการทำงาน เครอ่ื งมอื อยา่ งปลอดภัย เช่น - การทำความคุ้นเคยกบั การ ใชเ้ ครอื่ งมือ - การรดนำ้ ตน้ ไม้ - การถอนและเก็บวัชพชื ๓ เรยี นรู้การ ง ๑.๑ ป.๑/๒ - เรียนรูก้ ารทำงานด้วย ทำงาน ง ๑.๑ ป.๑/๓ ตนเอง (หนทู ำได้) - ฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ - พบั กระดาษเปน็ ของเล่น อย่างงา่ ยๆ - ความกระตือรือรน้ และตรง เวลาเปน็ ลักษณะนสิ ัยในการ ทำงาน สรปุ ทบทวนสอบ (สอบกลางปี) - 10 สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) - 20 ๒๐ ๑๐๐ รวมท้ังสนิ้ ตลอดปี ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสรา้ งรายวชิ า รหสั วิชา ง๑2๑๐๑ การงานอาชีพ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ปี ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวชวี้ ดั (ช่ัวโมง) คะแนน ๑ การทำงานเพ่ือ ง๑.๑ ป.๒/๑ - การทำงานเพ่ือชว่ ยเหลือ 7 30 ชว่ ยเหลือตนเอง ตนเองและครอบครัว เชน่ 6 20 และครอบครัว - บทบาทและหนา้ ที่ของ สมาชิกในบา้ น - การจัดวาง เกบ็ เส้อื ผ้า รองเท้า - การช่วยครอบครัวเตรยี ม ประกอบอาหาร - การกวาดบ้าน - การลา้ งจาน ๒ ร้จู ักเลือก รจู้ ัก ง๑.๑ ป.๒/๒ - การใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ ใชใ้ ห้เหมาะสม เครื่องมอื งา่ ยใหเ้ หมาะสมกบั กับงาน งาน ช่วยให้ประหยัดและ ปลอดภัย ๓ มาทำงานกนั ง๑.๑ ป.๒/๓ เรียนรกู้ ารทำงานดว้ ยตนเอง 7 20 เถอะ ฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ - การเพาะเมลด็ - 10 - การดแู ลแปลงเพาะกลา้ - 20 - การทำของเล่น ๒๐ ๑๐๐ - การประดษิ ฐข์ องใชส้ ่วนตัว ความปลอดภัยเปน็ ลกั ษณะ นสิ ยั ในการทำงาน สรุปทบทวนสอบ (สอบกลางป)ี สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) รวมทั้งสนิ้ ตลอดปี ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสร้างรายวชิ า รหสั วิชา ง๑31๐๑ การงานอาชีพ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ 3 เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ปี ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชวี้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน ๑ การทำงานเพื่อ ง๑.๑ ป.๓/๑ - วธิ ีการและประโยชน์การ 5 20 ช่วยเหลือตนเอง ทำงานเปน็ การใช้เวลาว่างให้ 5 10 ครอบครัวและ เกดิ ประโยชนแ์ ละทำงานให้ 5 20 สว่ นรวม เกดิ ผลอยา่ งเปน็ ขั้นตอนตาม กระบวนการทำงาน เชน่ - การเลอื กใชเ้ สอ้ื ผ้า - การจัดเตรียมอปุ กรณ์การ เรยี น - การทำความสะอาด รองเท้า กระเป๋านักเรยี น - การปัดกวาด เชด็ ถู บา้ นเรอื น - การทำความสะอาด หอ้ งเรยี น ๒ รจู้ กั เลือก รจู้ กั ง๑.๑ ป.๓/๒ - การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และ ใช้ใหเ้ หมาะสม เคร่อื งมือใหเ้ หมาะสมตรงกบั ลักษณะงานช่วยใหป้ ระหยดั และปลอดภัย เชน่ - การบำรงุ รักษาของเล่น - การซอ่ มแซมของใช้ สว่ นตวั - การประดิษฐ์ของใชใ้ น โอกาสต่างๆ โดยใชว้ สั ดใุ น ทอ้ งถน่ิ ๓ เรียนรู้ ง๑.๑ ป.๓/๓ - การทำงานอยา่ งเป็น กระบวนการ ข้นั ตอนตามกระบวนการ ทำงาน ทำงานดว้ ยความสะอาด รอบคอบ และอนุรกั ษ์ สิ่งแวดลอ้ มเป็นคุณธรรมและ ลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ นำ้ หนกั คะแนน ลำดบั ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา ที่ เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ช่วั โมง) 20 ๔ ปลกู ผกั สวนครัว ง๑.๑ ป.๓/๒ - การปลกู ผักสวนครัว 5 10 20 รัว้ กินได้ - ๑๐๐ - สรปุ ทบทวนสอบ (สอบกลางปี) ๒๐ สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) รวมท้ังสนิ้ ตลอดปี ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โครงสร้างรายวิชา รหสั วิชา ง๑4๑๐๑ การงานอาชีพ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 4๐ ชั่วโมง/ปี ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ เรียนรู้ ง๑.๑ ป.๔/๑ -การทำงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย 6 10 กระบวนการ ป.๔/๒ เป็นการทำงานตามลำดับ 10 10 ทำงาน อยา่ งเปน็ ขั้นตอนตาม 10 กระบวนการทำงาน 10 ๒ มารยาทในการ ง๑.๑ ป.๔/๓ - มารยาทในการปฏบิ ัติตน 6 10 ปฏิบตั ิตน 10 ๓ รคู้ า่ พลงั งาน ง๑.๑ ป.๔/๔ -การใชพ้ ลังงานและทรัพยากร 6 10 20 และทรัพยากร อยา่ งประหยัด และคุม้ ค่าเป็น ๑๐๐ คณุ ธรรมในการทำงาน ๔ งานบา้ น ง๑.๑ ป.๔/๑ - การดแู ลรกั ษาของใช้ 6 ป.๔/๒ ส่วนตวั - การจดั ต้เู สื้อผ้า โต๊ะเขียน หนงั สือและกระเป๋านกั เรียน - การจัดเกบ็ เอกสารสว่ นตัว ๕ งานเกษตร ง๑.๑ ป.๔/๑ - การปลกู ไม้ดอกหรือไม้ 6 ป.๔/๒ ประดับ - ปลูกผักสวนครัว ๖ งานช่างและงาน ง๑.๑ ป.๔/๑ - การซ่อมแซมอุปกรณ์ 6 ประดิษฐ์ ป.๔/๒ เครื่องมือและเคร่ืองใช้ - การประดิษฐ์ของใช้ ของ ตกแต่งจากใบตองและ กระดาษ 7 อาชพี นา่ รู้ ง 2.๑ ป.๔/๑ - ความหมายและ 4 ความสำคญั ของอาชพี สรุปทบทวนสอบ (สอบกลางปี) - สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) - รวมทั้งสิ้น ตลอดปี ๒๐ ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสร้างรายวชิ า รหัสวชิ า ง๑5๑๐๑ การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 4๐ ชั่วโมง/ปี ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน ๑ ทกั ษะและ กระบวนกา ง๑.๑ ป.๕/๑ - ขั้นตอนการทำงาน เป็น 6 10 ทำงาน สว่ นหนึ่งของการปฏิบัติงาน 6 10 ๒ งานบา้ น ตามกระบวนการทำงาน 6 10 ๓ งานเกษตร 6 10 ๔ งานชา่ ง - ทกั ษะการจดั การเปน็ การ 8 15 ๕ สร้างสรรค์งาน จัดระบบงานและระบบคน ประดิษฐ์ เพ่อื ให้ทำงานสำเรจ็ ตาม เปา้ หมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ง๑.๑ ป.๕/๑ - การทำงานโดยทำ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ตามลำดับขั้นตอนท่ีวางไว้ ป.๕/๔ - การซ่อมแซม ซกั ตาก เกบ็ รดี พบั เสอื้ ผา้ - การทำบญั ชีครัวเรือน - การจดั โต๊ะอาหาร ตู้เย็น และห้องครัว - การทำความสะอาดห้องนำ้ และหอ้ งส้วม ง๑.๑ ป.๕/๑ - การปลูกพืช การดแู ล ป.๕/๒ ป.๕/๓ บำรุงรกั ษา การเกบ็ เกยี่ ว ป.๕/๔ ง๑.๑ ป.๕/๑ - การซอ่ มแซมอุปกรณ์ของ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ใช้ในบ้าน ป.๕/๔ ง๑.๑ ป.๕/๑ - การประดิษฐข์ องใช้ ของ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ตกแตง่ จากวสั ดเุ หลือใชท้ ี่มีอยู่ ป.๕/๔ ในทอ้ งถน่ิ - ความคิดสรา้ งสรรค์ - ความประณีตเป็นลักษณะ นสิ ยั ในการทำงาน - มารยาทในการทำงานกบั สมาชกิ ในครอบครัว ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ น้ำหนัก คะแนน ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา ที่ เรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด (ชั่วโมง) 15 10 - การมีจติ สำนกึ ในการใช้ 8 20 - ๑๐๐ พลงั งานและทรัพยากรอยา่ ง - ๒๐ ประหยดั และคุ้มคา่ เป็น คณุ ธรรมในการทำงาน 6 หลากหลาย ง 2.๑ ป.๕/๑ - อาชีพตา่ งๆ ในชุมชน อาชีพน่ารู้ ป.๕/๒ - ความแตกต่างของอาชีพ สรุปทบทวนสอบ (สอบกลางป)ี สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) รวมท้ังสิน้ ตลอดปี ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โครงสร้างรายวิชา รหสั วชิ า ง๑6๑๐๑ การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 4๐ ช่ัวโมง/ปี ลำดับ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั (ช่ัวโมง) คะแนน ๑ ทักษะและ กระบวนกา ง ๑.๑ ป.๖/๑ - การทำงานและการ 8 15 ทำงาน ป.๖/๒ ป.๖/๓ ปรบั ปรุงการทำงาน 8 15 ๒ งานบา้ น - ทกั ษะการจดั การในการ 8 15 ๓ งานเกษตร 8 15 ทำงาน ๔ งานชา่ ง งาน ประดษิ ฐ์ - ทักษะการทำงานร่วมกนั - การวางแผนการทำงาน - การปฏบิ ัติตนอยา่ งมี มารยาทในการทำงานกับ ครอบครวั และผู้อื่น ง ๑.๑ ป.๖/๑ - การดแู ลรกั ษาสมบตั ภิ ายใน ป.๖/๒ ป.๖/๓ บ้าน - การบันทกึ รายรับ - รายจา่ ย - การจดั เก็บเอกสารการเงนิ - การเตรยี ม ประกอบ จดั อาหาร ง ๑.๑ ป.๖/๑ - การปลกู ไม้ดอกหรือไม้ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ประดบั - การปลูกผัก หรือเลยี้ งปลา สวยงาม ง ๑.๑ ป.๖/๑ - การติดตั้ง ประกอบ ของ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ใช้ในบ้าน - การประดษิ ฐ์ของใช้ ของ ตกแตง่ ให้สมาชิกในครอบครัว หรอื เพื่อนในโอกาสต่างๆ 5 อาชพี ที่ฉันสนใจ ง 2.๑ ป.๖/๑ - สำรวจตนเอง ตามความ 8 10 ป.๖/๒ สนใจ ความถนัด ❖ ระดบั ประถมศึกษา ความสามารถและทักษะ
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ นำ้ หนัก คะแนน ลำดบั ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา ท่ี เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั (ช่ัวโมง) 10 20 - วางแผนในการเลือกอาชพี ๑๐๐ - คณุ ธรรมในการประกอบ อาชีพ ความซื่อสัตย์ ความขยนั อดทน ความยตุ ิธรรม ความ รบั ผดิ ชอบ สรุปทบทวนสอบ (สอบกลางป)ี - สรปุ ทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) - รวมทั้งส้นิ ตลอดปี ๒๐ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ กลุ่มสาระการงานอาชีพได้เห็นความสำคัญของผู้เรียน ในการที่จะได้รับความรู้ ความเข้าใจ ใน บทเรียนเพือ่ ทจี่ ะนำความรู้ ความสามารถไปพฒั นาต่อยอดในอนาคต ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละครั้ง จงึ มีความจำเป็นที่จะตอ้ งมีสื่อการสอนเพื่อเป็นตัวกลางทจี่ ะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึน้ ดังน้ี ส่ือการเรียนการสอน หมายถึง ตัวกลางท่ีใช่ถา่ ยทอด หรือนำความรู้ ในลักษณะต่าง ๆ จากผู้สอน ไปยังผู้เรียนให้เข้าใจความหมายได้ตรงกัน ในการเรียนการสอนสื่อท่ีใช้เป็นตัวกลางนำความรู้ใน กระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้สอนกบั ผูเ้ รยี น เรียกวา่ ส่ือการสอน (Instruction Media) เช่น ส่อื การ สอน (Instructional Media or Teaching Media) สื่อการสอน (Educational media) อุปกรณ์ช่วยสอน (Teaching Aids) เป็นต้นในปัจจุบันมักจะเรียกการนำส่ือการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มารวมกันว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา(Educational) ซึ่งหมายถึงการนำเอาวัสดุอุปกรณ์และวิธีการมาใช้ร่วมกันอย่างมี ระบบในการเรยี นการสอนเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพในการสอน สื่อการเรียนการสอน หมายถึง สง่ิ ตา่ งๆ ที่เป็นบคุ คล วสั ดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควธิ กี าร ซ่ึงเป็น ตวั กลางทำให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ขอการเรียนการสอนที่กำหนดไว้ไดอ้ ย่างง่ายและรวดเร็ว เป็นเครื่องมือและตัวกลางซ่ึงมีความสำคัญในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าท่ีเป็นตัวนำความต้องการ ของผู้สอนไปสู่ตัวผูเ้ รียนอย่างถูกตอ้ งและรวดเร็วเป็นผลให้ผเู้ รียนเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมงุ่ หมาย การเรียนการสอนได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม เช่น อปุ กรณ์การสอน โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา สื่อ การเรยี นการสอน สือ่ การศึกษา เปน็ ตน้ หลกั การใช้สือ่ การเรียนการสอน การใช้ส่ือการเรียนการสอนนัน้ อาจจะใช้เฉพาะขั้นตอนใดขัน้ ตอนหนงึ่ ของการสอน หรอื จะใช้ในทกุ ขัน้ ตอนกไ็ ดด้ งั น้ี 1. ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อหาที่กำลังจะ เรียน หรือเน้ือหาท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนในคร้ังก่อน แต่มิใช่สื่อที่เน้นเนื้อหาเจาะลึกอย่าง แทจ้ ริง เปน็ ส่ือท่ีง่ายในการนำเสนอในระยะเวลาอนั สัน้ 2. ขั้นดำเนินการสอน หรือประกอบกิจกรรมการเรียน เป็นขั้นสำคัญในการเรียน เพราะเป็นข้ันที่จะให้ความรู้เนื้อหาอย่างละเอียดเพื่อสนองวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ต้องมีการ จดั ลำดับขน้ั ตอนการใชส้ อื่ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกิจกรรมการเรยี น 3. ข้ันวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ สื่อในข้ันนี้จึงเป็นส่ือที่เป็นประเด็นปัญหาให้ผู้เรียน ได้ขบคดิ โดยผเู้ รยี นเปน็ ผ้ใู ช้ส่ือเองมากทส่ี ดุ 4. ขั้นสรุปบทเรียน เป็นขั้นของการเรียนการสอนเพื่อการย้ำเน้ือหาบทเรียนให้ ผ้เู รียนมคี วามเข้าใจที่ถูกตอ้ งและตรงตามวัตถปุ ระสงคท์ ตี่ งั้ ไว้ ควรใช้เพยี งระยะเวลาสน้ั ๆ ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 5. ข้ันประเมินผู้เรียน เป็นการทดสอบความสามารถของผู้เรียนว่าผู้เรียนเข้าใจใน สิ่งท่ีเรียนถูกต้องมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการประเมินจากคำถามจากเนื้อหา บทเรียนโดยอาจจะมภี าพประกอบด้วยกไ็ ด้ ประเภทของสือ่ การเรยี นการสอน 1. ส่ือประเภทวัสดุ ได้แก่ สื่อเล็ก ซึ่งทำหน้าที่เก็บความรู้ในลักษณะของภาพเสียง และอักษรในรูปแบบต่าง ๆ ที่ผู้เรียนสามารถใช้เป็นแหล่งหาประสบการณ์ หรือศึกษาได้อย่าง แท้จริงและกวา้ งขวาง แบ่งออกเปน็ 2ลกั ษณะ คือ 1.1 วัสดุที่เสนอความรู้ได้จากตัวมันเอง ได้แก่หนังสือเรียนหรือตำราของจริง หนุ่ จำลอง รปู ภาพแผนภมู ิแผนท่ี ป้ายนิเทศ เป็นต้น 1.2 วัสดุท่ีต้องอาศัยส่ือประเภทเคร่ืองกลไก เป็นตัวนำเสนอความรู้ได้แก่ฟิล์ม ภาพยนตร์ แผ่นสไลด์ฟิล์มสตริป เส้นเทปบันทึกเทป รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ รายการที่ ใช้เครอ่ื งชว่ ยสอน เปน็ ตน้ 2. ส่ือประเภทเครื่องมือ หรือโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ สื่อใหญ่ ท่ีเป็นตัวกลาง หรือ ทางผ่านของความรู้ท่ถี า่ ยทอดไปยงั ครูและผเู้ รียน ส่ือประเภทนีต้ วั มันเองแทบไม่มีประโยชน์ต่อ การสื่อความหมายเลยถ้าไม่มีความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ มาป้อนผ่านเคร่ืองกลไกลเหล่านี้ ส่ือ ประเภทนี้จึงจำเป็นต้องอาศัยส่ือประเภทวัสดุบางชนิดเป็นแหล่งความรู้ให้มันส่งผ่าน ซึ่งจะทำ ให้ความรู้ที่ส่งผ่านมีการเคล่ือนไหวไปสู่ผู้เรียนจำนวนมากได้ไกลๆ และรวดเร็วและบางทีก็ทำ หน้าท่ีเหมือนครูเสียเอง เช่น เคร่ืองช่วยสอน ได้แก่เครื่องฉายภาพยนตร์เคร่ืองเล่นแผ่นเสียง เครอื่ งบนั ทกึ เสียง เครอ่ื งรับวทิ ยุ เครอื่ งฉายภาพน่ิงทง้ั หลาย 3. ส่ือประเภทเทคนิค หรือวิธีการ ตัวกลางในกระบวนการเรียนการสอนไม่ จำเป็นต้องใช้แต่วัสดุหรือเคร่ืองมือเท่านั้น บางครั้งจะต้องใช้เทคนิคและกลวธิ ีต่าง ๆ ควบคู่กัน ไป โดยเน้นท่ีเทคนิคและวิธีการเป็นสำคญั ส่ือการเรียนการสอนจำแนกตามประสบการณ์ 1. ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย ประสบการณ์ข้ันน้ี เป็นรากฐานสำคัญ ของการศึกษาทั้งปวงเป็นประสบการณ์ท่ีผู้เรียนได้รับมาจากความเป็นจริงและด้วยตัวเอง โดยตรง ผู้รับประสบการณ์นี้จะได้เห็น ไดจ้ ับได้ทำ ได้รสู้ ึกและได้ดมกลิ่นจากของจรงิ ดังน้ันสื่อ การสอนท่ีไห้ประสบการณ์การเรียนรู้ในขั้นน้ีก็คือของจริงหรือความเป็นจริงในชีวิตของคนเรา นน่ั เอง 2. ประสบการณ์จำลอง เป็นท่ียอมรับกันว่าศาสตร์ต่าง ๆ ในโลก มีมากเกินกว่าที่ จะเรียนรู้ได้หมดสิ้นจากประสบการณ์ตรงในชีวิต บางกรณีก็อยู่ในอดีต หรือซับซ้อน เร้นลับ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ หรือเป็นอันตรายไม่สะดวกต่อการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จึงได้มีการจำลองส่ิงต่าง ๆ เหล่านั้นมาเพ่ือการศกึ ษา ของจำลองบางอย่างอาจจะเรยี นได้งา่ ยกวา่ และสะดวกกวา่ 3. ประสบการณต์ ่าง ๆ ของคนเราน้ันมีหลายส่ิงหลายอย่างที่เราไม่สามารถประสบ ได้ด้วยตนเอง เช่นเหตุการณ์ในอดีต เร่ืองราวในวรรณคดี การเรียนในเรื่องท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับ สถานที่ หรือเรื่องธรรมชาติที่เป็นนามธรรม การแสดงละครจะช่วยไปให้เราได้เข้าไปใกล้ความ เป็นจรงิ มากทส่ี ดุ เช่น ฉากเครื่องแต่งตวั เครอ่ื งมอื หุ่นตา่ ง ๆ เป็นต้น 4. การสาธิต คือ การอธิบายถึงข้อเท็จจริงหรอื แบ่งความคิด หรือกระบวนการต่าง ๆ ให้ผู้เรียนแลเห็นไปด้วย เช่น ครูสอนการงานเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนดู ก็เป็นการ สาธิตเหมือนกับนาฏการหรือการศึกษานอกสถานที่เราถือเป็นส่ือการสอนอย่างหนึ่ง ซึ่งในการ สาธิตน้ีอาจรวมเอาสิ่งของท่ีใช้ประกอบหลายอย่างนับต้ังแต่ของจริงไปจนถึงตัวหนังสือ หรือ คำพูดเข้าไว้ด้วย แต่เราไม่เพ่งเล็งถึงส่ิงเหล่านี้ เราจะให้ความสำคัญกับกระบวนการท้ังหมดท่ี ผู้เรียนจะตอ้ งเฝา้ สงั เกตอยโู่ ดยตลอด 5. การศึกษานอกสถานที่ เปน็ การสร้างเสรมิ ประสบการณช์ ีวติ เพอื่ ให้ไดเ้ รียนรูจ้ าก แหล่งข้อมูลแหล่งความรู้ท่ีมีอยู่จริงภายนอกห้องเรียน ดังน้ันการศึกษานอกสถานท่ีจึงเป็น วิธกี ารหนงึ่ ทเ่ี ป็นสอ่ื กลางใหไ้ ด้เรยี นจากของจริง 6. นิทรรศการ มีความหมายที่กว้างขวาง หมายถึง การจัดแสดงส่ิงต่าง ๆ เพื่อให้ ความรู้แก่ผู้ชม ดังน้ันนิทรรศการจึงเป็นการรวมสื่อต่าง ๆ มากมายหลายชนิด การจัด นิทรรศการท่ีให้ผู้เรียนมามีส่วนร่วมในการจัดจะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสคิดสร้างสรรค์มี สว่ นร่วมและได้รับข้อมูลยอ้ นกลับด้วยตวั ของเขาเอง 7. โทรทัศน์และภาพยนตร์ โทรทัศน์เป็นสื่อการสอนที่มีบทบาทมากในปัจจุบัน เพราะได้เห็นท้ังภาพและได้ยินเสียงในเวลาเดียวกนั และยังสามารถแพร่และถ่ายทอดเหตุการณ์ ที่กำลังเกิดขึ้นได้ด้วย นอกจากน้ันโทรทัศน์ยังมีหลายรูปแบบ เช่น โทรทัศน์วงจรปิด ซึ่ง โรงเรียนสามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดีนอกจากน้ียังมีโทรทัศน์วงจรปิดท่ี เออื้ ประโยชน์ต่อการศึกษาอยา่ งกวา้ งขวาง ภาพยนตรเ์ ป็นสือ่ ทจ่ี ำลองเหตุการณ์มาให้ผ้ชู ม หรือ ผู้เรียนได้ดูและได้ฟังอย่างใกล้เคียงกับความจริง แต่ไม่สามารถถ่ายทอดเหตุการณ์ท่ีกำลัง เกิดขึ้นได้ ถึงอย่างไรก็ตามภาพยนตร์ก็ยังนับว่าเป็นส่ือที่มีบทบาทมากในการเรียนการสอน เช่นเดียวกนั กบั โทรทัศน์ 8. ภาพน่ิง การบันทึกเสียงและวิทยุ ภาพนิ่ง ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพวาดซ่ึงมีทั้งภาพ ทึบแสงและโปร่งแสงภาพทึบแสงคือรูปถ่าย ภาพวาด หรือภาพในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ส่วนภาพนิ่ง โปร่งใสหมายถึงสไลด์ ฟิล์มสตริป ภาพโปร่งใสท่ีใช้กับเครื่องฉายวัสดุโปร่งใส เป็นต้น ภาพน่ิง สามารถจำลองความเป็นจริงมาให้เราศึกษาบนจอได้ การบันทึกเสียง ได้แก่ แผ่นเสียงและ เครอ่ื งเล่นแผ่นเสยี ง เทปและเครื่องบนั ทึกเสียงและเคร่ืองขยายเสยี งตลอดจนอปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๙ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เกี่ยวกับเสียงซึ่งนอกจากจะสามารถนำมาใช้อย่างอิสระในการเรียนการสอนด้วยแล้ว ยังใช้กับ รายการวิทยแุ ละกิจกรรมการศึกษาอ่ืน ๆ ไดด้ ้วย สว่ นวิทยุน้นั ปจั จุบนั ท่ียอมรบั กันแล้วว่า ช่วย ในการศึกษาและการเรียนการสอนได้มาก ซ่ึงไม่จำกัดอยู่แต่เพียงวิทยุโรงเรียนเท่านั้น แต่ยัง หมายรวมถึงวทิ ยทุ ัว่ ไปอีกด้วย 9. ทัศนสญั ลกั ษณ์ สือ่ การสอนประเภททัศนสัญลักษณ์น้ี มีมากมายหลายชนดิ เช่น แผนภูมแิ ผนภาพแผนท่ี แผนผัง ภาพโฆษณา การ์ตูน เป็นต้น ส่ือเหลา่ นี้เปน็ สื่อที่มีลักษณะเป็น สญั ลกั ษณส์ ำหรับถา่ ยทอดความหมายใหเ้ ขา้ ใจได้รวดเร็วข้นึ 10. วจนสัญลักษณ์ สื่อขั้นน้ีเป็นสื่อที่จัดว่า เป็นข้ันท่ีเป็นนามธรรมมากที่สุด ซ่ึง ได้แก่ตัวหนังสือหรืออักษร สัญลักษณ์ทางคำพูดที่เป็นเสียงพูด ความเป็นรูปธรรมของส่ือ ประเภทน้ีจะไม่คงเหลืออยู่เลย อย่างไรก็ดีถงึ แม้สื่อประเภทนี้จะมีลักษณะที่เป็นนามธรรมท่ีสุด ก็ตามเรากใ็ ชป้ ระโยชน์จากสอื่ ประเภทนี้มาก เพราะต้องใช้ในการสอื่ ความหมายอยู่ตลอดเวลา ประโยชน์ของสอื่ การเรยี นการสอน สื่อการเรยี นการสอนเป็นตัวกลางทจ่ี ะทำให้ผู้เรียนเข้าใจในบทเรียนมากขึ้น สือ่ การ สอนจึงมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ได้แก่ 1.1 เรียนร้ไู ด้ดขี ้นึ จากประสบการณท์ มี่ คี วามหมายในรปู แบบตา่ งๆ 1.2 เรยี นรไู้ ดอ้ ย่างถูกต้อง 1.3 เรียนรไู้ ด้งา่ ยและเขา้ ใจได้ชดั เจน 1.4 เรยี นร้ไู ดม้ ากข้นึ 1.5 เรียนรู้ไดใ้ นเวลาท่ีจำกัด 2. ชว่ ยใหส้ ามารถเอาชนะข้อจำกัดตา่ ง ๆ ในการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ 2.1 ทำส่ิงนามธรรมให้เป็นรปู ธรรมมากข้นึ 2.2 ทำสิ่งซับซ้อนใหง้ ่ายข้ึน 2.3 ทำสิ่งเคล่อื นไหวช้าใหเ้ รว็ ขนึ้ 2.4 ทำสิ่งเคลือ่ นไหวเร็วให้ชา้ ลง 2.5 ทำส่ิงเล็กให้ใหญ่ขนึ้ 2.6 ทำสิ่งใหญใ่ ห้เล็กลง 2.7 นำสิง่ ทีอ่ ย่ไู กลมาศกึ ษาได้ 2.8 นำสิง่ ท่ีเกดิ ในอดีตมาศกึ ษาไดช้ ่วยกระตนุ้ ความสนใจของผู้ 2.9 ช่วยให้จดจำได้นาน เกดิ ความประทบั ใจและมนั่ ใจในการเรยี น 2.10 ช่วยให้ผู้เรียนได้คดิ และแกป้ ัญหา 2.11 ช่วยแกป้ ญั หาเรื่องความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คณุ ค่าของสอื่ การเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอนสามารถทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจในสิ่งที่ผู้สอนถ่ายทอด ออกมาในเวลานนั้ ได้เข้าใจตรงกัน สื่อจึงเปน็ สิ่งท่ีมคี ุณคา่ ดงั น้ี 1. สื่อการเรียนการสอนสามารถเอาชนะข้อจำกัดเร่ืองความแตกต่างกันของ ประสบการณ์ดั้งเดิมของผู้เรียน คือเมื่อใช้สื่อการเรียนการสอนแล้วจะช่วยให้ผู้ซ่ึงมี ประสบการณเ์ ดิมตา่ งกนั เข้าใจได้ใกลเ้ คยี งกนั 2. ขจดั ปญั หาเก่ียวกับเรอื่ งสถานที่ ประสบการณต์ รงบางอย่าง หรอื การเรยี นรู้ 3. ทำใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณต์ รงจากสิ่งแวดล้อมและสงั คม 4. สื่อการเรียนการสอนทำให้เดก็ มีความคดิ รวบยอดเปน็ อยา่ งเดียวกนั 5. ทำใหเ้ ด็กมมี โนภาพเร่มิ แรกอย่างถกู ตอ้ งและสมบรู ณ์ 6. ทำให้เด็กมีความสนใจและต้องการเรียนในเรื่องต่าง ๆ มากข้ึน เช่นการอ่าน ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ทัศนคติ การแก้ปญั หา ฯลฯ 7. เป็นการสร้างแรงจงู ใจและเร้าความสนใจ 8. ช่วยให้ผูเ้ รยี นได้มปี ระสบการณ์จากรปู ธรรมสนู่ ามธรรม สอ่ื อการเรียนการสอนมีประโยชน์สำหรับครผู ูส้ อน สื่อการเรียนการสอนสามรถช่วยการเรียนการสอนของผู้สอนได้ดีมาก ซ่ึงเราจะเห็นว่า ผู้สอนน้ันสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้มาก แถมยังช่วยให้ผู้สอนมีความรู้ มากข้ึนในการจัดแหล่งวิทยาการท่ีเป็นเน้ือหาเหมาะสมแก่การเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายในการ สอนช่วยผ้สู อนในด้านการคุมพฤติกรรม การเรยี นรู้และสามารถสนับสนนุ การเรียนรขู้ องผ้เู รียน ได้มาก สือ่ การสอนจะช่วยส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนได้ทำกิจกรรมหลาย ๆรูปแบบ เชน่ การใชศ้ ูนยก์ าร เรียน การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสาธิต การแสดงนาฏการ เป็นต้น ช่วยให้ผู้สอนได้สอน ตรงตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนและยังช่วยในการขยายเน้ือหาที่เรียน ทำให้การสอนง่าย ข้ึนและยังจะช่วยประหยัดเวลาในการสอน ผู้เรียนจะได้มีเวลาในการทำกิจกรรมการเรียนมาก ข้ึนจากข้อมูลเราจะได้เห็นถึงประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน ซึ่งทำให้เรามองเห็นถึง ความสำคัญของส่ือมีประโยชน์และมีความจำเป็นสามารถช่วยพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ การเลือกและจดั หาสื่อการเรยี นการสอน ในการเลือกส่ือการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอนน้ัน ผสู้ อนจำเป็นต้องคำนึงถึงองค์ประกอบในการเลือกส่ือ ได้แก่ จุดมงุ หมายของการสอน รูปแบบ และระบบของการเรียนการสอนลักษณะของผู้เรียน เกณฑ์เฉพาะของส่ือ วัสดุอุปกรณ์และ ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีอยู่นอกจากน้ียังต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเภท ของสอื่ กบั คณุ สมบตั เิ ฉพาะและจุดประสงค์ของการเรยี นการสอน ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 1. อัตราสว่ นคะแนน (ระดบั ประถมศึกษา) คะแนนระหวา่ งปกี ารศึกษา : สอบปลายปกี ารศกึ ษา = ๘0 : ๒0 รายการวัด คะแนน ❖ระหวา่ งภาค (80) 70 การวัดและประเมนิ ผล ดังน้ี 1. คะแนนระหวา่ งปีการศึกษา 10 1.1 วดั โดยใช้แบบทดสอบ (20) 1.2 วัดทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวัดตามแผนการจดั การเรียนรู้) 100 1.2.1 ภาระงานทมี่ อบหมาย - การทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ - การศกึ ษาค้นคว้าทางการงานอาชีพ - การร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ 1.2.2 แฟ้มสะสมงานการงานอาชีพ 1.2.3 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1.3 วัดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ วชิ าการงานอาชีพ - รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ - ซอื่ สตั ย์สจุ ริต - มวี นิ ัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพยี ง - มุ่งมนั่ ในการทำงาน - รกั ความเป็นไทย - มีจิตสาธารณะ 2. คะแนนสอบกลางปกี ารศกึ ษา การวัดและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ ❖ คะแนนสอบปลายปกี ารศึกษา การวดั และประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ รวมท้งั ภาคเรยี น ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 2. เกณฑ์การวัดผลประเมนิ ผล 1. การวัดและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละ แบบทดสอบ ดังนี้ 1.1 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ พิจารณาจากความถูกผิดของการ เลอื กตอบตอบถกู ให้1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน 1.2 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบถกู ผิด พิจารณาจากความถูกผิดของคำตอบ ตอบ ถูกให้ 1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน 1.3 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบจับคู่ พิจารณาจากความถูกผิดของการจับคู่ จับคู่ ถูกให้ 1 คะแนน จับคผู่ ิดให้ 0 คะแนน 1.4 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเปรียบเทียบ พิจารณาจากความถูกผิดของการ เปรียบเทยี บเปรยี บเทียบถกู ให้ 1 คะแนน เปรยี บเทียบผดิ ให้ 0 คะแนน 1.5 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเติมค า พิจารณาจากความถูกผิดของคำตอบตอบ ถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน 1.6 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเขียนตอบ พิจารณาจากคำตอบในภาพรวม ทงั้ หมดโดยกำหนดระดบั คะแนนเป็น 4 ระดบั ดังนี้ ระดับคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 4 ตอบได้ถูกต้อง และสามารถอธิบายเหตุผลได้อย่างชัดเจน พร้อมท้ังแสดงแนวคิดเชิง เปรยี บเทียบ 3 ตอบไดถ้ ูกต้อง และสามารถอธบิ ายเหตุผลไดอ้ ยา่ งชดั เจน 2 ตอบไดถ้ ูกตอ้ ง และสามารถอธิบายเหตผุ ลไดเ้ ปน็ บางสว่ น แต่ยังไมอ่ ยา่ งชดั เจน 1 ตอบไดถ้ ูกตอ้ ง แตไ่ ม่สามารถอธบิ ายเหตผุ ลได้ 0 ตอบไดถ้ ูกต้อง และไมส่ ามารถอธบิ ายเหตุผลได้ 1.7 เกณฑใ์ หค้ ะแนนแบบทดสอบแบบต่อเนอ่ื ง 1.7.1 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบต่อเนื่องที่กำหนดสถานการณ์พจิ ารณา จากความถูกผดิ ของคำตอบ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน 1.7.2 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบต่อเน่ืองสองข้นั ตอนโดยกำหนดระดับ คะแนนเปน็ 3 ระดับ ดังน้ี ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน 2 เลอื กคำตอบและบอกเหตุผลประกอบถกู ตอ้ ง 1 เลือกคำตอบถกู ตอ้ ง แตบ่ อกเหตุผลประกอบไม่ถูกต้อง หรือ เลอื กคำตอบไมถ่ กู ต้อง แต่บอกเหตุผลประกอบไดส้ อดคลอ้ งกบั คำตอบท่เี ลือก 0 เลือกคำตอบและบอกเหตุผลประกอบไม่ถูกต้อง ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 1.8 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบแสดงวิธที ำ โดยกำหนดระดบั คะแนนเปน็ 4 ระดบั ดังนี้ ระดับคะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 4 คำตอบถูกตอ้ งและแสดงวธิ ีทำทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดยแสดงถึงการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ และการคิดวเิ คราะห์ 3 คำตอบถูกตอ้ งและแสดงวธิ ที ำถกู ต้องสมบูรณ์ 2 คำตอบถูกตอ้ ง แตแ่ สดงวธิ ที ำถกู ตอ้ ง 1 คำตอบถกู ตอ้ ง มกี ารแสดงแสดงวธิ ที ำ แตย่ ังไมส่ มบรู ณ์ 0 คำตอบไม่ถูกต้อง และแสดงวิธที ำไมถ่ กู ต้อง 2. การวดั และประเมนิ ผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ 2.1 ภาระงานทม่ี อบหมาย ดังนี้ - ใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะ กำหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลของการทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝกึ ทกั ษะ เป็น 4 ระดบั ดังน้ี ระดับคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 4 - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทกั ษะครบถ้วนและเสรจ็ ตามกำหนดเวลา (ดมี าก) - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทักษะได้ถกู ต้อง - แสดงลำดบั ขน้ั ตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะชดั เจนเหมาะสม 3 - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะครบถ้วนและเสรจ็ ตามกำหนดเวลา (ดี) - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะได้ถกู ตอ้ ง - สลับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะ หรือไมร่ ะบขุ ้นั ตอนของการ - ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝกึ ทกั ษะ 2 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทกั ษะครบถว้ น แต่เสรจ็ หลงั กำหนดเวลาเล็กน้อย (พอใช้) - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะขอ้ ไม่ถูกตอ้ ง - สลับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทักษะ หรือไมร่ ะบขุ ั้นตอนของการ - ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทกั ษะ 1 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทักษะไม่ครบถ้วน หรือไมเ่ สรจ็ ตามกำหนดเวลาเลก็ (ตอ้ งปรับปรุง) - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝึกทักษะไม่ถูกต้อง - แสดงลำดับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะไม่สัมพันธ์กับโจทย์ หรอื ไม่แสดงลำดับขั้นตอน ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ - การประเมนิ ผลการศึกษาค้นควา้ ทางการงานอาชพี 1) กำหนดเกณฑ์การประเมินผลการศกึ ษาค้นควา้ ทางการงานอาชพี ด้านทฤษฎีเป็น 4 ระดับ ดงั นี้ ระดบั คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 4 - การวางแผนชัดเจนและทำงานเป็นระบบ (ดมี าก) - แสดงข้อมลู ที่ละเอยี ดชัดเจน - แสดงความเชือ่ มโยงระหวา่ งเน้ือหาวชิ าไดช้ ัดเจน - ลงขอ้ สรุปทถ่ี ูกตอ้ งชัดเจน - นำเสนอผลงานอยา่ งเหมาะสม 3 - การวางแผนชดั เจน (ด)ี - แสดงขอ้ มลู ที่ละเอยี ดชดั เจน - แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งเนือ้ หาวิชาไดช้ ัดเจน - ลงขอ้ สรุปท่ถี ูกต้องชดั เจน - นำเสนอผลงานไดย้ งั ไมช่ ัดเจน 2 - การวางแผนไมช่ ดั เจน (พอใช้) - แสดงข้อมูลบางสว่ นผดิ พลาด - แสดงความเชือ่ มโยงระหวา่ งเนอื้ หาวิชาไดไ้ มช่ ัดเจน - ลงขอ้ สรปุ บางส่วนผิดพลาด - นำเสนอผลงานได้ไม่ชัดเจน 1 - การวางแผนไมช่ ดั เจน (ตอ้ งปรบั ปรุง) - แสดงขอ้ มลู ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง - แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งเนือ้ หาวิชาไดไ้ ม่ชัดเจน - ลงข้อสรปุ ทไ่ี มถ่ กู ต้อง - นำเสนอผลงานไดไ้ มถ่ ูกตอ้ ง - การประเมินผลการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การรว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ส่วนใหญจ่ ะมอบหมายภาระงานเป็นกลมุ่ กำหนดเกณฑก์ าร ประเมนิ ผลการร่วมกิจกรรมการเรียนรดู้ ังนี้ รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การพิจารณา 1. การวางแผน 3 (ด)ี -วางแผนและมอบหมายหน้าท่คี วามรับผิดชอบให้ สมาชกิ ไมช่ ัดเจน 2 (พอใช้) - วางแผน แตม่ อบหมายหน้าท่คี วามรับผิดชอบให้ สมาชกิ ไมช่ ดั เจน 1 (ตอ้ งปรบั ปรุง) - ไม่มกี ารวางแผน ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา 2. ความร่วมมือในกลุ่ม 3 (ด)ี - ทุกคนทำงานตามหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ 2 (พอใช้) - สมาชิกสว่ นมากทำงานตามหนา้ ที่ 1 (ต้องปรับปรงุ ) - สมาชกิ ไมท่ ำงานตามหนา้ ท่ี 3. ทกั ษะการปฏบิ ตั กิ าร 3 (ด)ี - ปฏิบัติได้ครบทุกอย่างถกู ต้องเหมาะสม 3.1 การสงั เกต 2 (พอใช้) - ปฏิบัติได้ครบทกุ ข้อแตย่ งั มีข้อผดิ พลาดเปน็ บางส่วน 3.2 การสร้างขอ้ ความ 1 (ตอ้ งปรับปรุง) - ไม่สามารถปฏบิ ตั ิได้ครบทกุ ข้อด้วยตนเองและมคี วาม คาดการณ์ ผิดพลาดในการลงข้อสรุป 3.3 การสำรวจ ตรวจสอบ 3.4 การแปลความ และประเมินผล 3.5 การลงข้อสรุป 4. การเขยี นรายงาน 3 (ด)ี - เขยี นรายงานดว้ ยรปู แบบที่ถูกต้องเหมาะสมและ นำเสนอได้สมบูรณ์ 2 (พอใช้) - เขียนรายงานได้ไม่สมบรู ณ์ 1 (ต้องปรับปรงุ ) - รายงานมีข้อผิดพลาด หรือไม่เขียนรายงาน 5. เวลา 3 (ด)ี - ปฏิบัติงานเสร็จสมบรู ณต์ ามเวลาท่กี ำหนด 2 (พอใช้) - ปฏบิ ตั ิงานเสร็จตามเวลาที่กำหนดแตไ่ มส่ มบรู ณ์ 1 (ตอ้ งปรับปรุง) - ปฏิบัติงานไม่เสรจ็ สมบูรณต์ ามเวลาที่กำหนด 2.2 แฟม้ สะสมงานการงานอาชพี การประเมนิ ผลแฟ้มสะสมงานการงานอาชีพกำหนดเกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน 4 - ผลงานมรี ายละเอยี ดอยา่ งเพยี งพอที่แสดงถึงระดับความรแู้ ละพฒั นาการของผ้เู รียน (ดมี าก) และแสดงถงึ ความเข้าใจในเรอื่ งที่ศึกษา การนำเสนอขอ้ มลู แสดงถึงการบรู ณาการ หรือเช่ือมโยงมโนทศั นต์ ่าง ๆ เข้าดว้ ยกนั 3 - ผลงานมีรายละเอยี ดอย่างเพยี งพอทีแ่ สดงถงึ ระดบั ความรูแ้ ละพัฒนาการของผูเ้ รยี น (ด)ี ไม่มีข้อผดิ พลาดท่ีแสดงวา่ ไม่เขา้ ใจ แต่การนำข้อมลู ไม่แสดงถึงการบูรณาการ ระหว่างขอ้ มูลหรือมโนทัศน์ในเรอื่ งท่ีศกึ ษา 2 - ผลงานมรี ายละเอยี ดแสดงไวใ้ นบนั ทกึ ใหเ้ หน็ ถึงระดบั ความร้แู ละพฒั นาการของ (พอใช้) ผูเ้ รยี น แตพ่ บวา่ บางส่วนมคี วามผดิ พลาดหรอื ไมช่ ดั เจนหรอื แสดงถงึ ความไมเ่ ขา้ ใจ ในเร่ืองที่ศกึ ษาของผู้เรยี น 1 - ผลงานมขี ้อมูลน้อย ไมม่ รี ายละเอียดแสดงไว้ในบันทกึ หรอื แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ระดบั (ต้องปรับปรุง) ความรแู้ ละพัฒนาการของผ้เู รยี น ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 3.การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กำหนดเป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกำหนดเกณฑ์ การตดั สนิ เป็นดีเย่ียม ดี และผ่าน และความหมายของแตล่ ะระดับ ดังนี้ ระดบั คณุ ภาพ ความหมาย (3) ดเี ยีย่ ม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามสมรรถนะจนเป็นนิสัย และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (2) เพ่ือประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ดี จำนวน 3-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ำกว่าระดบั ดี (1) หมายถึง ผู้เรียนมสี มรรถนะในการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ เพ่ือใหเ้ ปน็ การยอมรบั ของ ผ่าน สังคม โดยพจิ ารณาจาก (0) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดีเยยี่ ม จำนวน 1-2 สมรรถนะ และไมม่ ี ไม่ผา่ น สมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ำกวา่ ระดับดี หรือ 2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยยี่ ม จำนวน 2 สมรรถนะ และ ไม่มี สมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน หรือ 3. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี จำนวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มสี มรรถนะ ใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ำกว่าระดับผา่ น หมายถึง ผเู้ รยี นรบั รแู้ ละปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขที่สถานศกึ ษากำหนด โดย พิจารณาจาก 1.ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผา่ น จำนวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มี คณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดับผา่ น หรอื 2. ได้ผลการประเมินระดบั ดี จำนวน 2 สมรรถนะ และ ไมม่ ีสมรรถนะใด ได้ผลการประเมินต่ำกวา่ ระดับผา่ น หมายถึง ผูเ้ รียนรบั รแู้ ละปฏบิ ัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีกำหนด โดย พจิ ารณาจากผลการประเมินระดับไมผ่ ่าน ตัง้ แต่ 1 สมรรถนะ เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดับคุณภาพ ให้ 3 คะแนน ดเี ยย่ี ม - พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ิชดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ดี - พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิชดั เจนและบอ่ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน ผ่าน - พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 0 คะแนน ไม่ผ่าน - ไมเ่ คยปฏบิ ตั ิพฤติกรรม เกณฑ์การสรปุ ผล ดเี ยยี่ ม 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน ผา่ น 1-8 คะแนน ไมผ่ า่ น 0 คะแนน ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ๔.การประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำหนดเป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกำหนด เกณฑ์การตดั สนิ เปน็ ดีเยี่ยม ดี และผ่าน และความหมายของแตล่ ะระดบั ดังนี้ ระดับคณุ ภาพ ความหมาย (3) ดีเยย่ี ม ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณ ลักษณ ะจนเป็นนิสัยและนําไปใช้ในชีวิตประจ ำวันเพื่ อ (2) ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ทั้ง 8 คุณลักษณะ ดี คอื ได้ระดับ 3 จำนวน 5-8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่ำ กวา่ ระดบั 2 (1) ผา่ น ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามเกณฑ์ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของสังคมโดย พิจารณาจาก (0) ไม่ผ่าน 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั 3 จำนวน 1-4 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะ ใดไดผ้ ลการประเมินต่ำกว่าระดบั 2 หรือ 2. ได้ผลการประเมินระดบั 3 จำนวน 4 คณุ ลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ไดผ้ ลการประเมนิ ต่ำกว่าระดับ 1 หรอื 3. ได้ผลการประเมินระดบั 2 จำนวน 5-8 คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลักษณะ ใด ไดผ้ ลการประเมินต่ำกวา่ ระดบั 1 ผู้เรยี นรับรูแ้ ละปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ และเง่ือนไขท่ีสถานศกึ ษากำหนดโดยพิจารณา จาก 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับ 1 จำนวน 5-8 คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลักษณะ ใดไดผ้ ลการประเมินต่ำกวา่ ระดับ 1 หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดับ 2 จำนวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับ 1 ผเู้ รยี นรับรู้และปฏิบตั ิได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีสถานศึกษากำหนด โดย พจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดับ 0 ต้ังแต่ 1 คณุ ลักษณะขนึ้ ไป เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ัติบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติบางคร้งั ให้ 0 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั นิ ้อยครง้ั ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๙ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 5. การตดั สินผลการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๘ กลุ่ม การตัดสินผลการเรียนให้นำผลการประเมินระหว่างเรียนรวมกับผลการประเมินปลาย ปี โดยใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี ชว่ งคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรยี น ๘๐ - ๑๐๐ ผลการเรยี นดเี ยยี่ ม ๔ ๗๕ - ๗๙ ผลการเรยี นดีมาก ๓.๕ ๗๐ - ๗๔ ผลการเรยี นดี ๓ ๖๕ - ๖๙ ผลการเรียนค่อนขา้ งดี ๒.๕ ๖๐ - ๖๔ ผลการเรยี นปานกลาง ๒ ๕๕ - ๕๙ ผลการเรยี นพอใช้ ๑.๕ ๕๐ - ๕๔ ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ้นั ตำ่ ทก่ี ำหนด ๑ ๐ - ๔๙ ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ขนั้ ต่ำที่กำหนด ๐ เมอื่ ครผู สู้ อนตัดสนิ ผลการเรียนแลว้ ใหด้ ำเนินการดงั นี้ ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่งให้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพื่อนำเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผล การเรียน ส่งผลการเรียนให้ ครูที่ปรึกษากรอกผลการเรียนลงในแบบ ปพ.๖ และนายทะเบียน วัดผลกรอกในแบบ ปพ.๑ การให้ผลการเรยี น “ร” 1. การให้ผลการเรียน “ร” หมายถึง ผเู้ รียนท่ีมลี กั ษณะดังน้ี ๑) ผ้เู รยี นไม่ได้รบั การประเมิน หรือประเมนิ แล้วไมผ่ ่านเกณฑ์ระหว่างเรียน ๒) ผเู้ รยี นไมไ่ ดร้ ับการประเมินปลายภาค 2. วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เม่ือผู้สอนพบว่าผู้เรียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผล ระหว่างเรียนหรือปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพื่อ อนุมตั ิผลการเรยี น “ร” แล้วประกาศผลให้นักเรยี นทราบ การให้ผลการเรียน “มส” 1. การให้ผลการเรียน “มส” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเรยี นไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลา ทัง้ หมด 2. วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน เสนอผ้บู รหิ ารเพื่ออนุมตั ิผลการเรียน “มส” กอ่ นประเมินผลปลายภาค ๒ สัปดาห์ ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ การแกไ้ ข “๐” 1. ผู้เรยี นนำใบแจ้งความจำนงการแก้ไข “๐” พบครผู สู้ อนประจำวชิ า 2. ผู้สอนดำเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถ บรรลผุ ลตามเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ โดยให้ผลการเรียนไม่เกนิ “๑” 3. ผูส้ อนรวบรวมและสรปุ ผลการแก้ไข “๐” ไปยังงานวดั ผลของโรงเรยี นเพื่อเสนอต่อ ผ้บู ริหารอนมุ ัติ และแจง้ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง การแก้ไข “ร” 1. ผูเ้ รยี นนำใบแจง้ ความจำนงการแก้ไข “ร” พบครูผ้สู อนประจำวิชา 2. ผู้สอนดำเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” นั้นๆ โดยให้ผลการเรียนตาม เกณฑข์ อ้ ๔ 3. ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการเหน็ ชอบ เพือ่ เสนอตอ่ ผูบ้ รหิ ารอนุมัติ แล้วแจง้ ผเู้ กีย่ วข้อง การแกไ้ ข “มส” 1. ผเู้ รยี นนำใบแจง้ ความจำนงไปพบครผู ู้สอนประจำวชิ า 2. ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรียนมีข้อบกพร่องอะไร ให้ดำเนินการพัฒนาแก้ไขในสิ่งน้ันจน บรรลุเกณฑ์ขัน้ ตำ่ ท่ีกำหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรยี นไมเ่ กิน “๑” 3.ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการเหน็ ชอบ เพอื่ เสนอผู้บรหิ ารอนมุ ัติ แล้วแจง้ ผ้เู กี่ยวข้อง การแก้ไข “๐” “ร” และ “มส” ให้ดำเนินการตามประกาศโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร)์ เร่ือง แนวทางการปฏบิ ตั ิการดำเนินการสอบแก้ตวั 6. การประเมิน การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น จำนวน ๓ ข้อ คือ ๑. อ่านและเข้าใจ สามารถคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลเป็นระบบ และ เขียนเสนอความคิดได้ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑ เขียนรายงานเรื่องทศ่ี ึกษาค้นควา้ ได้ ตวั บง่ ช้ีที่ ๒ ตอบคำถามจากเร่ืองทศี่ กึ ษาคน้ ควา้ ได้ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เขยี นแสดงความคดิ เห็นจากเร่ืองทีอ่ า่ นได้ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๔ เขยี นสรุปจากเร่อื งท่ีอา่ นได้ ๒. นำความร้คู วามเข้าใจที่ได้จากการอ่านไปใช้ในการแกป้ ัญหา ตดั สินใจ คาดคะเน เร่อื งราวหรือเหตุการณ์ และสรปุ เป็นแนวปฏิบัตไิ ด้ ตวั บง่ ช้ีท่ี ๑ ทำโครงงาน / รายงานในเร่ืองที่สนใจไดต้ ามศกั ยภาพ ตวั บ่งชที้ ่ี ๒ นำเสนอโครงงาน / รายงานไดต้ ามศกั ยภาพ ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓ เน้อื หาในการทำโครงงาน / รายงานสอดคล้องกับเรื่องท่ีเรยี น ❖ ระดับประถมศึกษา
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๔ เขียนขั้นตอนในการปฏิบัติงานได้ ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถเขียนถ่ายทอดความคดิ เพ่ือการสื่อสารได้ ตัวบ่งชี้ท่ี ๑ เขียนเรื่องราวเชิงสร้างสรรคไ์ ด้ตามศักยภาพ ตัวบง่ ชที้ ี่ ๒ เขยี น / วาดภาพจากจนิ ตนาการในเร่ืองทตี่ นสนใจได้ แนวทางและวธิ กี ารประเมิน การประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใช้แนวทางการวัด และการประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกำหนดแนวทาง และวธิ ีการประเมนิ ใหค้ รผู ้สู อนทุกกลุม่ สาระการเรียนรนู้ ำไปใชใ้ นการประเมนิ ดังน้ี ๑. วธิ กี ารประเมนิ ๑.๑ ความสามารถจรงิ ของผเู้ รยี นในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางการเรียนรายวิชาต่างๆ ใน ส่วนท่ีเกยี่ วกับการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน โดยการสังเกตของครู ๑.๒ มอบหมายให้ผู้เรียนไปศึกษาคน้ ควา้ แลว้ เขียนเป็นรายงาน ๑.๓ ผลงานเชิงประจกั ษต์ า่ งๆ เก่ยี วกบั การอา่ น การคิด การวิเคราะห์ และเขยี นท่ี รวบรวมและนำเสนอในรูปของแฟ้มสะสมงาน ๑.๔ การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ หรอื เขียนเรยี งความ ๑.๕ การเขียนรายงานจากการปฏิบัติโครงงาน ๒. เกณฑ์การประเมนิ ผลงาน : การเขยี นจากการอา่ น คดิ วิเคราะห์ ๒.๑ การใช้กระบวนการอา่ นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒.๒ การแสดงความคดิ เหน็ อย่างมวี จิ ารณญาณ ๒.๓ ใชก้ ระบวนการเขียนส่ือความอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๓. เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ : การอา่ น ระดับ ดเี ย่ยี ม ระบสุ าระของเรื่องท่ีอา่ นไดถ้ ูกต้องครบถว้ น ลำดบั เรื่องที่อา่ นได้ถูกต้อง ระบปุ ระเดน็ สำคัญของเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้อง ระบุจุดมงุ่ หมาย และเจตคติ ของผู้เขยี น ดี ระบุสาระของเรื่องท่ีอา่ นไดถ้ ูกต้องครบถว้ น ลำดับเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้อง ระบปุ ระเด็นสำคัญของเรื่องท่ีอ่านได้ถูกต้อง ระบุจุดมงุ่ หมาย และเจตคติ ของผู้เขยี นไม่ครบถ้วน ผ่าน ระบสุ าระของเรื่องท่ีอา่ นไดถ้ ูกต้องครบถ้วน ลำดบั เรอื่ งที่อา่ นค่อนขา้ งถกู ตอ้ ง ระบปุ ระเด็นสำคญั ของเรื่องที่อา่ นได้ไมส่ มบรู ณ์ ระบจุ ุดมุ่งหมาย และ เจต คตขิ องผ้เู ขียนเพียงเล็กน้อย ไมผ่ ่าน ระบสุ าระของเร่ืองที่อา่ นได้ไม่ครบถว้ น ลำดบั เรอ่ื งที่อา่ นผิดพลาดเลก็ น้อย ระบปุ ระเดน็ สำคัญของเร่ืองท่ีอ่านไมถ่ กู ตอ้ ง ไมร่ ะบุจุดมุ่งหมาย และเจตคติของผเู้ ขยี น ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ : การคดิ วเิ คราะห์ ระดับ ดีเยี่ยม แสดงความคดิ เห็นชัดเจน มเี หตุผลระบุขอ้ มลู สนับสนุนที่นา่ เช่ือถือมคี วามคดิ ท่ี แปลกใหม่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ สังคมโดยสว่ นรวม ดี แสดงความคิดเห็นค่อนขา้ งชัดเจน มีเหตผุ ลระบุขอ้ มูลสนับสนุนมคี วามคดิ ท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ สังคมโดยสังคมรอบข้างตนเอง ผ่าน แสดงความคิดเหน็ ท่มี ีเหตผุ ลระบขุ ้อมลู สนบั สนุนที่พอรับได้มคี วามคิดทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ไมผ่ า่ น แสดงความคิดเหน็ มเี หตุผลไม่ชัดเจน ขาดข้อมูลสนับสนนุ มีความคิดที่ยัง มองไมเ่ ห็นประโยชน์ทช่ี ัดเจน เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ : การเขยี น ระดับ ดีเย่ียม มจี ดุ ประสงค์ในการเขยี นชัดเจนได้เนือ้ หาสาระ รปู แบบการเขียนถูกต้องมี ขั้นตอนการเขยี นชัดเจนงา่ ยต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณแ์ ละสะกดคำถกู ต้อง พัฒนาสำนวนภาษาท่ีส่อื ความหมายได้ชัดเจนกะทัดรัด ดี มีจดุ ประสงค์ในการเขียนชดั เจนได้เนือ้ หาสาระ รูปแบบการเขยี นถกู ต้องมี ขนั้ ตอนการเขียนชัดเจนงา่ ยต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณแ์ ละสะกดคำผิดพลาด ไม่เกิน ๓ แห่ง พฒั นาสำนวนภาษาท่ีสอ่ื ความหมายไดช้ ดั เจน ผ่าน มจี ุดประสงค์ในการเขยี นชัดเจนและค่อนข้างได้เน้ือหาสาระ รปู แบบการเขียน ถูกต้องมีขัน้ ตอนการเขยี นชัดเจนง่ายตอ่ การติดตาม ใช้ไวยากรณแ์ ละสะกดคำ ผิดพลาดมากกว่า ๓ แหง่ ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาที่ส่ือความหมายได้ ชดั เจน ไมผ่ า่ น ขาดจุดประสงคใ์ นการเขยี นและเนอ้ื หาสาระนอ้ ย ใช้ไวยากรณแ์ ละสะกดคำ ผดิ พลาดมาก ขาดการพฒั นาสำนวนภาษาทีส่ อ่ื ความหมาย การสรุปผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1. ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขยี น มาเป็นระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะรายวิชา 2. ให้คิดคา่ ฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของ แต่ละรายวิชา สรปุ เปน็ ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ของผู้เรยี นรายบุคคล เกณฑ์การตดั สนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น 1. ระดับปีการศึกษา ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน อยู่ ในระดบั คุณภาพ ผ่าน ขนึ้ ไปถอื ว่า ผา่ น 2. การเลื่อนช้ัน / จบหลักสูตร ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขยี น ผา่ นทุกรายภาค ❖ ระดับประถมศึกษา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ อภธิ านศพั ท์ สาระท่ี ๑ การดำรงชีวติ และครอบครวั กระบวนการกลมุ่ กระบวนการในการทำงานกลุ่ม มีข้ันตอน ดังน้ี การเลือกหัวหน้ากลุ่ม การกำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของงาน วางแผนการทำงาน แบ่งงานตามความสามารถของแต่ละบุคคล ปฏิบัติตาม บทบาทหนา้ ที่ ประเมินผล และปรบั ปรุงการทำงาน การดำรงชีวติ เป็นการทำงานในชีวิตประจำวันเพ่ือช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม ที่ว่าด้วย งาน บา้ น งานเกษตร งานช่าง งานประดิษฐ์ งานธรุ กิจ และงานอน่ื ๆ การทำงานเพื่อการดำรงชีวิต เป็นการทำงานท่ีจำเป็นเก่ียวกับความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวัน ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจพอเพยี ง ไม่ทำลายส่งิ แวดล้อม เน้นการปฏิบัตจิ รงิ จนเกิดความม่ันใจ และ ภมู ิใจในผลสำเร็จของงาน เพอ่ื ใหค้ น้ พบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน ประกอบด้วย ความซ่ือสัตย์ เสียสละ ยุติธรรม ประหยัด ขยัน อดทน รับผิดชอบ ตรง เวลา รอบคอบ ปลอดภัย คุ้มค่า ยั่งยืน สะอาด ประณีต มีเหตุผล มีมารยาท ช่วยเหลือตนเอง ทำงานบรรลุเป้าหมาย ทำงานถูกวิธี ทำงานเป็นขั้นตอน ทำงานเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ มี ประสิทธภิ าพ รกั ษาสง่ิ แวดล้อม ฯลฯ ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา เป็นกระบวนการท่ีต้องการให้ผู้เรยี นได้เกิดความคิดหาวิธีการแกป้ ัญหาอย่างมีขน้ั ตอน การสังเกต การวเิ คราะห์ การสร้างทางเลอื ก และการประเมินทางเลือก ทักษะการจัดการ ความพยายามของบุคคลที่จะจัดระบบงาน (ทำงานเป็นรายบุคคล) และจัดระบบคน (ทำงาน เปน็ กล่มุ ) เพ่ือใหท้ ำงานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายอย่างมีประสทิ ธิภาพ ทกั ษะกระบวนการทำงาน การลงมือทำงานด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นการฝึกวิธีการทำงานอย่างสม่ำเสมอ ท้ังการทำงาน เป็นรายบุคคล และการทำงานเป็นกลุ่ม เพ่ือให้สามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมาย ได้แก่ การวิเคราะห์ งาน การวางแผนในการทำงาน การปฏิบตั งิ าน และการประเมินผลการทำงาน ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ทกั ษะการทำงานร่วมกนั การทำงานเป็นกลุ่ม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้ ทำงานอย่างมีกระบวนการตามข้ันตอนการทำงาน และฝึกหลักการทำงานกลุ่ม โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ ภายในกล่มุ มที กั ษะในการฟงั - พูด มีคณุ ธรรมในการทำงานร่วมกัน สรปุ ผล และนำเสนอรายงาน ทักษะการแสวงหาความรู้ วิธีการและกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้แสวงหาข้อมูลความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับเร่ืองหรือเน้ือหา น้นั ๆ ได้แก่ การศกึ ษาค้นควา้ การรวบรวม การสงั เกต การสำรวจ และการบันทกึ สาระที่ 2 การอาชีพ การจำลองอาชพี เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับอาชีพท่ีสถานศึกษาจัดทำให้เสมือนจริงเพ่ือให้ผู้เรียน มีทักษะการทำงานอาชีพ เห็นคุณค่าของงานอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ เช่น การจัดนิทรรศการ บทบาทสมมติ ฯลฯ การประเมนิ ทางเลอื กอาชีพ เป็นการรู้จักตนเองด้านความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสัยทัศน์ แนวโน้ม ด้านอาชีพท่ีต้องการของตลาดแรงงาน ที่เหมาะสมกับความสนใจ ความถนัด และทักษะทางด้านอาชีพ ก่อนตดั สนิ ใจเลือกอาชีพ การอาชีพ เป็นสาระท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะที่จำเป็นต่ออาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ ทกั ษะท่จี ำเป็นต่ออาชพี ประกอบด้วย ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทกั ษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ ประสบการณใ์ นอาชพี เป็นการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้เห็น และได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับอาชีพ ท่ีตนเองถนัด และสนใจ สถานการณแ์ รงงาน ประกอบด้วย การมีงานทำ การจ้างงาน การคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม ทั้งใน ปจั จุบนั และอนาคต ❖ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ บรรณานกุ รม สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. กรอบแนวทางการปรบั ปรุงหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์ การเกษตร, ๒๕๕๐. . ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและ เทศ โนโลยี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวทางการบริหารจดั การหลกั สตู ร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์ การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุม สหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. ❖ ระดับประถมศึกษา
Search