1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1รหัสวชิ า 2100 - 1006 ช่อื วิชา งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ท่ี 1ชือ่ หนว่ ย ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ จํานวน 4 ชว่ั โมง*******************************************************************************************เนอื้ หาสาระ1. ความหมายและสาเหตุของอบุ ัติเหตุ2. คณุ สมบัตขิ องไฟฟา้3. อนั ตรายของไฟฟ้าตอ่ ร่างกายมนุษย์4. ขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นการใช้ไฟฟ้าอยา่ งถูกต้องปลอดภัย5. การปฏบิ ัติงานดา้ นไฟฟ้าที่ปลอดภยั6. การชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบอันตรายจากไฟฟ้าดดู7. การปฐมพยาบาลผปู้ ระสบอันตรายจากไฟฟา้ ดูดสาระสาํ คญั ไฟฟา้ เปน็ ปจั จยั พื้นฐานในการดําเนนิ ชีวิต เนื่องจากในชีวิตประจาํ วนั ของมนษุ ย์ ต้องมกี ารเก่ียวข้องกับกระแสไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา และเป็นที่ทราบกันดีว่า ไฟฟ้ามีคุณอนันต์แต่ก็มีโทษมหันต์เช่นกัน อันตรายที่เกิดขึ้นจากไฟฟ้ามีโอกาสเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ท้ังจากการปฏิบัติงานกับอุปกรณ์วงจรไฟฟ้าโดยตรง หรือจากการใช้อุปกรณ์ท่ีใช้พลังงานไฟฟ้าอืน่ ๆ ดังนั้น การมีความรู้ความเข้าใจถึงสาเหตุและผลของอันตรายท่ีเกิดข้ึน จะช่วยให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับกระแสไฟฟ้าได้มีความระมัดระวังมากขึ้น อุบัติภัยท่ีจะเกิดจากกระแสไฟฟ้าก็จะลดลง ความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินก็จะลดลงเช่นกนัจุดประสงคก์ ารเรียน จุดประสงคท์ ว่ั ไป 1. นักเรยี นมคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั ความหมายและสาเหตุของอุบัติเหตุ 2. นักเรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั คณุ สมบัติของไฟฟ้า 3. นกั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับอนั ตรายของไฟฟา้ ตอ่ รา่ งกายมนษุ ย์
2 4. นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ขอ้ ควรปฏบิ ัติในการใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งถูกต้องปลอดภัย 5. นักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตงิ านด้านไฟฟา้ ท่ีปลอดภยั 6. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดูด 7. นกั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลผปู้ ระสบอันตรายจากไฟฟ้าดูดจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. ด้านความรู้ (K) 1.1 นกั เรียนบอกความหมายและสาเหตขุ องอบุ ตั ิเหตไุ ด้ 1.2 นกั เรยี นอธบิ ายคณุ สมบตั ขิ องไฟฟา้ ได้ 1.3 นกั เรียนอธิบายอันตรายของไฟฟ้าต่อรา่ งกายมนุษย์ได้ 1.4 นกั เรยี นอธิบายข้อควรปฏบิ ตั ิในการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้องปลอดภยั ได้ 1.5 นักเรียนอธิบายการปฏิบตั ิงานด้านไฟฟ้าที่ปลอดภยั ได้ 1.6 นกั เรยี นอธบิ ายการช่วยเหลอื ผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าดดู ได้ 1.7 นกั เรยี นบอกวธิ ีการปฐมพยาบาลผู้ประสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดูดได้ 2. ดา้ นทักษะ (S) 2.1 นกั เรยี นมีความรแู้ ละทกั ษะดา้ นความหมายและสาเหตุของอบุ ตั ิเหตุได้ถกู ตอ้ ง 2.2 นกั เรยี นมคี วามรู้และทกั ษะด้านคณุ สมบตั ิของไฟฟา้ ได้ถูกต้อง 2.3 นักเรยี นมีความรูแ้ ละทักษะดา้ นอันตรายของไฟฟ้าต่อรา่ งกายมนษุ ย์ได้ถกู ต้อง 2.4 นักเรียนมีความรแู้ ละทกั ษะด้านข้อควรปฏบิ ัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกตอ้ งปลอดภัยไดถ้ กู ต้อง 2.5 นักเรียนมคี วามรแู้ ละทกั ษะด้านการปฏบิ ตั งิ านดา้ นไฟฟา้ ที่ปลอดภยั ได้ถกู ต้อง 2.6 นักเรยี นมีความร้แู ละทักษะด้านการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดดู ไดถ้ ูกตอ้ ง 2.7 นกั เรียนมีความร้แู ละทักษะดา้ นการปฐมพยาบาลผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟา้ ดดูไดถ้ กู ตอ้ ง 3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) 3.1 เขา้ เรยี นตรงตามเวลา 3.2 แต่งกายตามระเบียบสถานศึกษา 3.3 ความมั่นใจในการทาํ งาน
3 3.4 ความกระตือรอื รน้ ในการทาํ งาน 3.5 มนี ํา้ ใจชว่ ยเหลอื ผู้อน่ืกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. นกั เรียนทําแบบทดสอบก่อนเรยี น ข้ันนาํ เขา้ สู่บทเรยี น 1. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ 2. ครูนําเขา้ สู่บทเรียนโดยครพู ูดถงึ เนอื้ หาโดยรวมของความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และครูตัง้ คําถามเพอื่ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภปิ ราย จากประสบการณ์ ทีเ่ คยไดพ้ บเห็นตวั อยา่ งคาํ ถาม เช่น 2.1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า ทน่ี ักเรียนพบมีอะไรบ้าง 2.2 ให้นกั เรยี นยกตัวอย่างความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า ขั้นสอน/ประกอบกจิ กรรม 1. ครอู ธิบายเน้ือหาโดยใช้ส่ือ Power Point สอื่ ของจรงิ สอ่ื วีดิทัศน์ สอนประกอบการบรรยายเพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้าใจเนื้อหาสาระของการเรยี นรู้เรอื่ ง 1.1 ความหมายและสาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตุ 1.2 คุณสมบตั ขิ องไฟฟ้า 1.3 อนั ตรายของไฟฟา้ ต่อรา่ งกายมนุษย์ 1.4 ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการใช้ไฟฟ้าอย่างถกู ต้องปลอดภยั 1.5 การปฏิบัติงานดา้ นไฟฟ้าทปี่ ลอดภยั 1.6 การชว่ ยเหลือผูป้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดดู 1.7 การปฐมพยาบาลผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าดดู 1.8 นกั เรียนปฏิบัตงิ านตามใบงาน เรื่องความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า โดยครูอธบิ ายวิธกี ารปฏิบัติงานตามใบงาน ก่อนให้นักเรียนปฏิบัติงานแล้วสังเกตการปฏิบัติงานและควบคุมดูแลอย่างใกล้ชดิ ขั้นสรปุ 1. ครอู ธบิ ายสรปุ เนอื้ หา เรื่องความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานตามใบงานและเสนอแนะการแก้ปัญหาในการปฏบิ ตั งิ าน
4 2. นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่องความปลอดภัยในงานไฟฟ้า จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย ตรวจคําตอบเพื่อประเมินผลการเรียน 3. ทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น 4. ตรวจประเมินใบงาน สรุปผลการตรวจให้นกั เรียนทราบสือ่ การเรยี นการสอน สอ่ื ส่ิงพมิ พ์ 1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2. แบบฝกึ หัด พร้อมเฉลย 3. แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น พร้อมเฉลย ส่อื โสตทศั นปู กรณ์ 1. สอื่ Power Point ประกอบการสอน เรอื่ งความปลอดภัยในงานไฟฟ้า 2. เครอื่ งคอมพิวเตอร์ 3. สื่อของจรงิ 4. เครอื่ งโปรเจคเตอร์ พรอ้ มจอ 5. สื่อวดี ิทัศนค์ วามปลอดภยั ในงานไฟฟา้การวัดผลและประเมนิ ผล 1. คะแนนจากการอภิปรายประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน เรื่องความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า 2. คะแนนจากแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 เรือ่ งความปลอดภัยในงานไฟฟ้า 3. คะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรียนหน่วยที่ 1 เร่ืองความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า 4. คะแนนจากแบบประเมินผลใบงาน เร่อื งความปลอดภัยในงานไฟฟ้า 5. คะแนนจากแบบสงั เกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรียนและการปฏบิ ัตงิ านแหล่งการเรยี นรู้เพมิ่ เติม 1. หอ้ งสมดุ 2. สถานประกอบการ 3. ขอ้ มลู จากอินเตอร์เน็ต 4. เอกสารวารสารเก่ียวกับความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า
5กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรยี นศกึ ษาเพ่ิมเตมิ จากเอกสารขอ้ มูลเก่ยี วกับความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ 2. นกั เรียนสบื ค้นข้อมลู เพิ่มเติม หรอื ทบทวนเนอ้ื หาจากเว็บไซต์ทห่ี อ้ งศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ในเวลาวา่ ง เรอื่ งความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า
6 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยท่ี 1 เรื่องความปลอดภัยในงานไฟฟ้า*******************************************************************************************คําชีแ้ จง ให้นกั เรยี นทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคําตอบ ก , ข , ค และ งที่เป็นคําตอบท่ีถูกต้องทส่ี ุดเพียงคําตอบเดียว1. ขอ้ ใดหมายถึงเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดขึ้นโดยมไิ ดว้ างแผนไวล้ ว่ งหน้า ก. Safety ข. Accident ค. Danger ง. Damage2. ขอ้ ใดคอื สาเหตุของการเกิดอบุ ตั ิเหตทุ ่สี งู ท่สี ุด ก. คน ข. เครือ่ งจักร ค. ภยั ธรรมชาติ ง. ดวงชะตา3. เตาไฟฟ้า เตาอบ เตารีดไฟฟา้ หม้อหุงข้าวไฟฟา้ เป็นการใชป้ ระโยชน์จากไฟฟา้ ในด้านใด ก. ความรอ้ น ข. พลงั งานกล ค. อํานาจแมเ่ หลก็ ง. แสงสวา่ ง4. สภาวะท่ีกระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร โดยไม่ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือภาระ(Load) คอื ข้อใด ก. ไฟฟา้ กระแสตรง ข. ไฟฟา้ ชอ็ ต ค. ไฟฟ้าดูด ง. ไฟฟ้ารว่ั
75. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ เป็นการสมั ผัสไฟฟ้าโดยตรง ก. A ถกู ฟา้ ผา่ ที่กลางหลัง ข. B ถกู ไฟดดู ขณะเปล่ยี นลวดเชื่อม ค. C โดนไฟดูดตอนใช้ไขควงซ่อมปล๊กั ไฟ ง. D โดนไฟดดู เพราะไม่ไดส้ วมรองเทา้ ปฏิบตั งิ าน6. การสัมผสั ไฟฟ้าในลกั ษณะใด เป็นการสมั ผสั ไฟฟ้าโดยออ้ ม ก. ขณะอาบนํา้ ด้วยเครอื่ งทาํ นา้ํ อนุ่ ข. ขณะเสยี บปลั๊กเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ค. ขณะซ่อมเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ง. ถกู ทุกขอ้7. ขอ้ ใดคอื ส่ิงสําคัญทต่ี ้องคํานงึ ถึงเปน็ อนั ดับแรกในการปฏบิ ตั ิงานดา้ นไฟฟา้ ก. ความปลอดภัย ข. ความสะดวก ค. ความคุ้มคา่ ง. ความประหยดั8. ขอ้ ใดคือส่งิ สําคญั ทคี่ วรปฏิบัติ กอ่ นการปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟา้ ก. ศกึ ษาข้อมูลใหเ้ ขา้ ใจ ข. แขวนปา้ ยเตอื น ค. ตดั กระแสไฟฟา้ ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู9. ขอ้ ใดไม่ใช่ วธิ ีการช่วยเหลอื ผู้ประสบอนั ตรายจากไฟฟา้ ดูด ก. รบี ดงึ ผูป้ ระสบอันตรายออก ข. หาทางตัดทางเดินของไฟฟา้ ค. แจง้ การไฟฟ้าทร่ี ับผดิ ชอบใหท้ ราบโดยเร็ว ง. ใชข้ วานด้ามไม้ตัดสายไฟ
810. ในกรณที ม่ี ีผปู้ ระสบอันตรายกบั สายไฟฟา้ แรงสงู ผใู้ ห้ความช่วยเหลอื ควรปฏบิ ัติอยา่ งไร ก. ตัดสวติ ชต์ ดั วงจรอตั โนมตั หิ รือสวติ ชป์ ระธาน ข. ลากตัวผูป้ ระสบอนั ตรายใหพ้ น้ จากสงิ่ ท่ีมีไฟฟ้า ค. ใช้ไมแ้ ห้งเข่ียสายไฟฟ้าให้หลดุ พ้นออกจากตัวผูป้ ระสบอนั ตราย ง. พยายามหลกี เลย่ี งอย่าเข้าไปใกลแ้ ละรบี แจง้ การไฟฟา้ ทร่ี บั ผิดชอบ
9 บัตรบันทึกกิจกรรม แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 1 เรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า******************************************************************************************* กระดาษคาํ ตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สรุปคะแนนสอบก่อนเรียน 10
10 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟา้*******************************************************************************************เฉลยข้อที่ 1 เฉลยข้อที่ 2 เฉลยขอ้ ที่ 3 เฉลยข้อท่ี 4 เฉลยข้อท่ี 5 ตอบ ข. ตอบ ก. ตอบ ก. ตอบ ข. ตอบ ค.เฉลยข้อที่ 6 เฉลยขอ้ ที่ 7 เฉลยขอ้ ที่ 8 เฉลยข้อท่ี 9 เฉลยขอ้ ท่ี 10 ตอบ ก. ตอบ ก. ตอบ ค. ตอบ ก. ตอบ ง.
11 ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 เร่ืองความปลอดภัยในงานไฟฟ้า*******************************************************************************************1. ความหมายและสาเหตขุ องอุบตั ิเหตุ (Causes of accident) การเกิดอุบัติเหตุในการทํางานแต่ละคร้ัง มิใช่จะเกิดข้ึนจากโชคชะตาหรือเคราะห์กรรมของแต่ละบุคคลเท่านั้น ซ่ึงอาจจะเกิดขึน้ ได้โดยมสี าเหตุทช่ี ้ีชดั ลงไปได้ การเสรมิ สร้างความปลอดภัยในการทํางานจะเกิดข้ึนได้โดยการแก้ไขป้องกันที่ สาเหตุของอุบัติเหตุได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการศึกษาถงึ สาเหตขุ องอุบตั เิ หตุและการปอ้ งกันตอ่ ไป 1.1 ความหมายของอุบตั เิ หตุ ในการศกึ ษาถงึ สาเหตุของอุบัติเหตแุ ละการปอ้ งกนั อบุ ัติเหตุ ควรทจ่ี ะทราบคําจํากดั ความของคาํ ตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้องกัน ดงั นี้ 1.1.1 ความปลอดภยั (Safety) โดยปกติทัว่ ๆ ไปหมายถงึ การปราศจากภัย ซ่ึงในทางปฏิบัติเปน็ ไปไม่ได้ท่ีจะขจัดภัยทุกชนดิ ใหห้ มดไปโดยส้ินเชิง ความปลอดภยั จึงให้รวมถึงการปราศจากอนั ตรายที่มโี อกาสจะเกิดขน้ึ ด้วย 1.1.2 อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนโดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้าซง่ึ กอ่ ใหเ้ กิดความบาดเจบ็ พกิ าร หรือตายและทาํ ใหท้ รพั ย์สินไดร้ บั ความเสยี หาย 1.1.3 ภัย (Hazard) เป็นสภาพการณ์ซึ่งมีแนวโน้มท่ีจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อบุคคลหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินหรือวัสดุ หรือกระทบกระเทือนต่อขีดความสามารถในปฏิบัติงานตามปกติของบคุ คล 1.1.4 อันตราย (Danger) หมายถึงระดบั ความรุนแรงทีเ่ ป็นผลเน่ืองมาจากภยั (Hazard)อันตรายจากภัยอาจจะมีระดับสูงหรือมากน้อยก็ได้ ข้ึนอยู่กับมาตรการท่ีใช้ในการป้องกันอุบัติเหตุเช่น การทํางานบนท่ีสูงสภาพการณ์เช่นน้ีถือได้ว่าเป็นภัย (Hazard) ซึ่งอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บถึงตายได้หากมีการพลัดตกลงมาในกรณีนี้ถือได้ว่ามีอันตรายอยู่ระดับหน่ึง หากแต่ระดับอันตรายจะลดน้อยลง ถ้าผู้ปฏิบัติงานใช้สายนิรภัย (Harness) ขณะทํางานเพราะโอกาสของการพลัดตกและกอ่ ใหเ้ กดิ ความบาดเจบ็ ลดน้อยลง
12 1.1.5 ความเสียหาย (Damage) เป็นความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือความเสียหายทางด้านกายภาพ หรอื ความเสียหายที่เกิดข้ึนต่อการปฏิบัติงาน หรือความเสียหายท่ีเกิดขึ้นทางด้านการเงินท่ีเกดิ ขึ้น เนื่องจากการขาดการควบคุมภัย ความหมายในเชิงวิศวกรรมความปลอดภัย นอกจากความหมายท่ีได้กล่าวมาข้างต้นแล้วอุบัติเหตุยังมีความหมายครอบคลุมไปถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว มีผลกระทบต่อขบวนการผลิตปกติทําใหเ้ กิดความล่าช้า หยุดชะงกั เสียเวลา แมจ้ ะไมก่ อ่ ใหเ้ กิดการบาดเจ็บหรอื พิการกต็ าม 1.2 สาเหตุของอุบัติเหตุ (Causes of accident) สาเหตุของอุบัติเหตุ ที่สําคัญมี 3ประการ สรุปไดด้ ังน้ี 1.2.1 สาเหตุท่ีเกิดจากคน (Human Causes) มีจํานวนสูงท่ีสุด คือ 88 เปอร์เซ็นของการเกิดอุบัติเหตุทุกคร้ัง ตัวอย่างเช่น การทํางานท่ีไม่ถูกต้อง ความพล้ังเผลอ ความประมาทการมีนิสัยชอบเส่ียงในการทาํ งาน เปน็ ตน้ 1.2.2 สาเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของเครื่องจักร (Mechanical failure) มีจํานวนเพียง 10 เปอร์เซ็น ของการเกิดอุบัติเหตุทุกคร้ัง ตัวอย่างเช่น ส่วนที่เป็นอันตรายของเครื่องจักรไม่มีเครื่องป้องกัน เคร่ืองจักรเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ชํารุดบกพร่อง รวมถึงการวางผังโรงงานไม่เหมาะสม สภาพแวดล้อมในการทํางานไม่ปลอดภยั เป็นตน้ 1.2.3 สาเหตุที่เกิดจากดวงชะตา (Acts of God) มีจํานวนเพียง 2 เปอร์เซ็น สาเหตุท่เี กิดขนึ้ โดยธรรมชาตนิ อกเหนือการควบคมุ ได้ เชน่ พายุ นาํ้ ทว่ ม ฟ้าผา่ เป็นต้น 1.3 สาเหตจุ ากสภาพแวดล้อม ในโรงฝกึ งานหรอื บรเิ วณพื้นทป่ี ฏิบัตงิ านจะต้องมีสภาพบรรยากาศในการทํางานทเี่ หมาะสมเช่น แสงสว่างต้องเพียงพอ มีเสียงไม่ดังเกินมาตรฐานท่ีกําหนด การมีฝุ่นละอองมาก มีกลิ่นเหม็นลว้ นเป็นสาเหตุท่อี าจเกดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน2. คณุ สมบัตขิ องไฟฟา้ ไฟฟ้าจัดเป็นพลังงานชนิดหนึ่ง ช่วยอํานวยความสะอาดแก่มวลมนุษย์ชว่ ยให้มนุษย์บนโลกมีความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน โดยใช้ไฟฟ้าเป็นแหล่งพลังงานจ่ายไปให้กับอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆให้สามารถทํางานได้ปัจจุบันมีความตอ้ งการใช้พลังงานไฟฟ้าในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วัน และการทํากิจกรรมต่าง ๆ เพ่ิมมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลต่อการก่อให้เกิดโอกาสท่ีจะขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า
13เพราะไม่สามารถหาแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้ามาเพิ่มเติมได้เพียงพอ การผลิตไฟฟ้าและการนําไฟฟ้าไปใช้งาน ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.1 สายส่งกาํ ลังแรงดนั สูง หมอ้ แปลงไฟฟา้สถานีผลิตพลังงานไฟฟ้า เมือง สาํ นกั งาน รูปที่ 1.1 แสดงการผลิตไฟฟ้าและการนาํ ไฟฟ้าไปใช้งาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานได้ โดยอาศัยค่าแรงดันและกระแสจา่ ยไปให้อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื และเครื่องใช้ไฟฟา้ ให้เกิดการทํางาน โดยจ่ายไปในรปู กระแสไหลไฟฟ้าเคลื่อนท่ีได้ดีในวัตถุตัวนําจําพวกโลหะชนิดต่าง ๆ เช่น ทองคํา ทองแดง เงิน เหล็ก ตะก่ัว และอลูมิเนียม เป็นต้น ไฟฟ้าไม่สามารถเคล่ือนที่ผ่านไปได้หรือเคล่ือนท่ีไปได้ลําบากในวัตถุที่เป็นฉนวนเช่น พลาสติก ยาง แก้ว ไม้ และเซรามิก เป็นต้น ไฟฟ้าเป็นสิ่งท่ีมองไม่เห็น ไม่สามารถรับรู้ได้นอกจากไปสัมผัสโดยตรง ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้สัมผัสถูกไฟฟ้า จึงมักเรียกว่าภัยมืด การทดสอบว่าสายไฟฟ้ามีไฟฟ้าหรือไม่ หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดต้ังพร้อมใช้งานมีไฟฟ้าหรือไม่ จะต้องทดลองใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านน้ั หรอื ใช้เครื่องมือวัดไฟฟา้ ตรวจวดั ทดสอบดู ไฟฟ้ามีประโยชน์อนันต์และมีโทษมหันต์ เป็นคํากล่าวท่ีทันสมัยอยู่เสมอผู้ท่ีใช้ไฟฟ้าทุกคนจําเป็นต้องคํานึงถึงความปลอดภัยในการใช้งานทุกคร้ัง และใช้งานด้วยความระมัดระวังโดยไม่ตกอยู่ในความประมาท
14 2.1 ประโยชน์ของไฟฟา้ ประโยชน์ของไฟฟ้ามีมากมายมหาศาล ถูกนําไปใช้งานกันอย่างแพร่หลายโดยท่ัวไป เช่นงานการผลิตทางอุตสาหกรรม งานทางเกษตร งานด้านสื่อสารโทรคมนาคม งานด้านให้บริการงานด้านของการอํานวยความสะดวก และการให้ความรู้ ความบันเทิง เป็นต้น ประโยชนข์ องไฟฟ้าเมอ่ื พิจารณาทางด้านการนําไปใชง้ าน แบ่งออกดังน้ี 2.1.1 ให้ความร้อน โดยเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นความร้อน เช่น เตาไฟฟ้า เตาอบเตารดี ไฟฟ้า หม้อหุงขา้ วไฟฟา้ เครอ่ื งเปาผม และหัวแร้งบดั กรี เปน็ ต้น 2.1.2 ให้ความเย็น โดยเปล่ียนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นความเย็น เช่น ตู้แช่เข็ง ตู้น้ําเย็นตเู้ ย็น และเครอ่ื งปรบั อากาศ เปน็ ต้น 2.1.3 ให้พลังงานกล โดยเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เช่น มอเตอร์ พัดลมสวา่ นไฟฟา้ เคร่ืองซักผา้ และเคร่อื งดดู ฝนุ่ เป็นตน้ 2.1.4 ให้อํานาจแม่เหล็ก โดยเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นสนามแม่เหล็ก เช่น ลําโพงกระดง่ิ ไฟฟา้ หม้อแปลงไฟฟา้ และแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า เป็นต้น 2.1.5 ให้แสงสว่าง โดยเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นแสงสว่าง เช่น ไฟฉาย หลอดไฟฟ้าและการเกดิ ประกายไฟจากการเชื่อมไฟฟ้า เป็นตน้ 2.1.6 ให้ความสะดวกสบาย โดยจ่ายพลังงานไฟฟ้าไปให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทําให้เกิดการทํางานในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่าง ๆ เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องขยายเสียง เคร่ืองเล่นวดี ที ัศน์ คอมพวิ เตอร์ และวทิ ยุสือ่ สาร เปน็ ต้น 2.2 โทษของไฟฟ้า โทษของไฟฟ้ามีมากมายมหาศาลเช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่เกิดจาการใช้ไฟฟ้าอย่างผิดวิธีขาดความระมัดระวัง หรือใช้ไฟฟ้าด้วยความประมาทเลินเล่อ ก่อให้เกิดอันตรายตามมาอย่างมากมายท้ังตอ่ ทรพั ย์สนิ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ชํารุดเสียหาย และทาํ ให้เกดิ เพลิงไหม้เป็นต้น หรือต่อร่างการมนุษย์ เช่น ร่างกายพิการ และเสียชีวิต เป็นต้น จึงจําเป็นต้องมีการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ไฟฟ้า อันตรายเกิดจากไฟฟ้าแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ ไฟฟ้าซ็อต (Short Circuit) และไฟฟ้าดูด (Electric Shock) ซ่ึงท้ังสองลักษณะนี้มีสาเหตุของการเกิดทตี่ ่างกนั และอนั ตรายทไ่ี ดร้ ับก็ต่างกนั ดว้ ย 2.2.1 ไฟฟ้าซ็อต หรือเรียกอีกช่ือว่าไฟฟ้าลัดวงจร คือ เกิดจากสภาวะที่กระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร โดยไม่ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือภาระ (Load) ผลของไฟฟ้าซ็อตจะทําให้เกิดความร้อนสงู เมื่อความร้อนถึงจุดลุกไหม้ ทําให้เกดิ เพลิงไหม้ข้ึนได้ การเกิดไฟฟ้าซอ็ ต ดังแสดงในรปู ท่ี 1.2
15 รปู ท่ี 1.2 แสดงลักษณะเพลงิ ไหม้เกิดจากไฟฟ้าชอ็ ต 2.2.2 ไฟฟ้าดูด คือ เกิดจากสภาวะที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ครบวงจรจะก่อให้เกิดอาการเกร็งของกล้ามเน้ือ จนร่างกายมนุษย์ไม่สามารถดิ้นหรือสะบัดให้หลุดออกจากไฟฟา้ ได้ หรอื อาจถงึ เสยี ชวี ติ ได้ การเกดิ ไฟฟา้ ดดู ดังแสดงในรูปที่ 1.3 รูปท่ี 1.3 แสดงลักษณะของไฟฟ้าดูด3. อนั ตรายของไฟฟา้ ตอ่ รา่ งกายมนษุ ย์ ไฟฟ้าเป็นพลังงานที่สามารถเคล่ือนที่ได้ โดยการนําไฟฟ้าไปใช้งานโดยใช้ปริมาณของแรงดันท่ีแหล่งกําเนิดไฟฟ้าผลิตขึ้นมา และปริมาณของกระแสท่ีเกิดจากภาระต้องการใช้งานคุณสมบัติของไฟฟ้า คือ กระแสไหลผ่านได้ดีในวัตถุตัวนําจําพวกโลหะทุกชนิด โดยที่ขณะกระแสไหลไม่สามารถมองเห็น เพียงแต่รับรู้ได้จากการท่ีอุปกรณ์ เคร่ืองมือ และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทํางานและจากการตรวจวัดด้วยเครื่องมือวัดทดสอบทางไฟฟ้า หรือจากสัมผัสโดยตรงของร่างกายมนุษย์ทําให้เกิดกระแสไหลครบวงจร นน่ั คือเป็นผลของการเกดิ ไฟฟา้ ดูด
16 ร่างกายมนุษย์เป็นตัวนําไฟฟ้าเช่นเดียวกับตัวนําอื่น ๆ ไฟฟ้าสามารถผ่านร่างกายไปได้อย่างสะดวก ดังน้ัน ควรระมัดระวังไม่ให้ร่างกายทุกส่วนสัมผัสถูกตัวนําไฟฟ้าที่ต่อรับพลังงานอยู่กับแหล่งกําเนิดไฟฟ้า หรือในขณะที่มีกระแสไหลผ่านตัวนําไฟฟ้าเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะท่ีส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายมนุษย์สัมผัสอยู่กับพ้ืนนํ้า พื้นดิน พื้นปูน หรือโลหะที่ต่อถึงพ้ืนดินหรือพ้นื น้าํ กระแสสามารถไหลผา่ นร่างกายลงสู่พืน้ ดนิ หรอื พน้ื น้าํ ได้สะดวก หรือในอีกกรณหี นงึ่ ทร่ี า่ งกายมนุษย์สัมผัสถูกสายตัวนําไฟฟ้าพร้อมกันมากกว่าหน่ึงเส้น ร่างกายมนุษย์จะกลายเป็นภาระไฟฟ้าทันทีแทนเคร่ืองใช้ไฟฟ้า จะทําให้เกิดกระแสไหลผ่านร่างกายมนุษย์ครบวงจร เรียกการเกิดกระแสไหลในลักษณะนว้ี ่าไฟฟ้าดดู การถูกไฟฟา้ ดดู ของร่างกายมนุษยจ์ ากการสัมผัสสว่ นท่ีมีไฟฟ้า สามารถแยกตามลักษณะของการสัมผัสไฟฟ้าได้ 2 แบบ คือ การสัมผัสโดยตรง (Direct Contact) และการสมั ผัสโดยอ้อม (Indirect Contact) 3.1 การสมั ผสั ไฟฟ้าโดยตรง การสัมผัสไฟฟ้าโดยตรง คือ เป็นกรณีที่ส่วนของร่างกายสัมผัสถูกส่วนท่ีมีไฟฟ้าจ่ายมาโดยตรง เช่น สายไฟฟ้ารั่วเพราะฉนวนชํารุดมีคนใช้มือจับสายไฟฟ้าท่ีรั่ว และจากการที่ใช้น้ิวมือหรือโลหะขนาดเล็ก เช่น ลวด ไขควง หรือโลหะอื่น ๆ แหย่เข้าไปในรูของเต้ารับไฟฟ้า เป็นต้นลกั ษณะการสมั ผัสไฟฟ้าโดยตรงน้ี จะมีผลให้เกิดกระแสจํานวนมากไหลผ่านเข้าสู่ร่างกายคนไปลงดินทําใหเ้ กดิ อนั ตราย คนอาจพกิ ารหรอื ถงึ เสยี ชีวติ ได้ การสัมผัสไฟฟ้าโดยตรง ดงั แสดงในรูปที่ 1.4 3.2 การสัมผสั ไฟฟา้ โดยออ้ ม การสัมผัสไฟฟ้าโดยอ้อม เป็นการสัมผัสท่ีคนไม่ได้สัมผัสกับส่วนที่มีไฟฟ้าโดยตรง แต่เกิดจากคนสัมผัสกับอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าตามปกติ ซึ่งโดยปกติจะไม่มีไฟฟ้าจ่ายออกมาที่ตัวถังโลหะ แต่ถ้าเมื่ออุปกรณ์ไฟฟ้า หรือใช้ไฟฟ้าเกิดไฟฟ้าร่ัว จึงมีไฟฟ้าจ่ายอยู่ท่ีตัวถังโลหะของอุปกรณไ์ ฟฟ้า หรอื เคร่ืองใช้ไฟฟา้ นัน้ เมอ่ื คนไปสัมผัสจึงเกิดกระแสไหลผ่านเข้าสู่ร่างกายคนไปลงดินเช่นเดียวกับการสัมผัสส่วนท่ีมีไฟฟ้า การสัมผัสไฟฟ้าโดยอ้อมมีอันตรายสูงมาก เพราะเกิดจากการขาดความระมดั ระวังของผใู้ ช้งาน การสมั ผัสไฟฟ้าโดยออ้ ม ดงั แสดงในรูปท่ี 1.5
17 รูปท่ี 1.4 แสดงลกั ษณะของการสมั ผสั ไฟฟา้ โดยตรง รปู ที่ 1.5 แสดงลักษณะของการสัมผัสไฟฟา้ โดยอ้อม ร่างกายมนุษย์เมื่อถูกไฟฟ้าดูด จะเกิดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อจนไม่มีแรงสะบัดให้หลุดออกจากไฟฟ้าได้ ผลของไฟฟ้าดูดอาจทําให้บาดเจ็บ พิการ หรืออาจเสียชีวิตได้ อันตรายท่ีเกิดขึ้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของกระแสท่ีไหลผ่านร่างกายไป กระแสไหลผ่านน้อยเกิดอันตรายน้อย กระแสไหลผ่านมากเกิดอันตรายมาก ความสัมพันธ์ของปริมาณกระแสไหลผ่านร่างกายมนุษย์มผี ลต่อปฏิกิรยิ าทีเ่ กดิ ขนึ้ ดงั แสดงในตารางที่ 1.1
18 ตารางท่ี 1.1 ความสัมพนั ธ์ของปรมิ าณกระแสไหลผา่ นรา่ งกายคนมผี ลต่อปฏิกิริยาที่เกดิ ข้นึปรมิ าณกระแสไหลผา่ นรา่ งกายคน ปฏกิ ริ ิยาทีเ่ กิดขน้ึตา่ํ กวา่ 0.5 มิลลแิ อมป์ (mA) ยงั ไมม่ ผี ลหรือไมร่ ู้สึก1 mA รูส้ ึกจ๊ักจห้ี รอื กระตกุ เลก็ น้อย5 mA รู้สึกส่ันเล็กน้อย แต่ไม่เจ็บ คนส่วนใหญ่สามารถหนีได้ แตก่ ารเคลอ่ื นท่อี ยา่ งไม่ระมัดระวงั จะทาํ ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้6 - 25 mA (ผูห้ ญิง) รู้สึกเจ็บปวด สูญเสียการควบคุมกล้ามเน้ือ น่ีคือปริมาณ9 - 30 mA (ผูช้ าย) กระแสท่รี า่ งกายไมส่ ามารถขยบั เขยื้อนได้ ได้รับความเจ็บปวดเป็นอย่างมาก อวัยวะท่ีเก่ียวกับการ50 - 150 mA หายใจหยุดทํางาน กลา้ มเนอื้ หดตวั อย่างรุนแรง กล้ามเน้ือ ขอ้ ตอ่ จะแข็ง ทําใหเ้ สียชีวติ ได้1 - 4.3 แอมแปร์ (A) หัวใจหยุดเต้น กล้ามเนื้อหดตัว เส้นประสาทถูกทําลาย ทําใหเ้ สียชีวติ10 A หวั ใจหยุดเตน้ และถกู เผาไหม้อยา่ งรุนแรง เสยี ชวี ติ15 A กระแสเกินค่าตํ่าสุดที่ฟิวส์ หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์จะตัด วงจร นอกจากน้ันระยะเวลาท่ีกระแสไหลผ่านร่างกายคน จะส่งผลถึงอันตรายท่ีจะเกิดขึ้นน้อยหรือมากด้วย กระแสไหลผา่ นใชเ้ วลาน้อยเกิดอันตรายน้อย กระแสไหลผ่านใช้เวลามากเกิดอันตรายมาก ในระยะเวลาท่ีถูกไฟฟ้าดดู ดังนน้ั ถ้าไม่มีบุคคลอนื่ ที่ชว่ ยเหลืออยา่ งทันทว่ งที อันตรายท่ีไดร้ ับก็จะสาหัสมากขึ้น คือหัวใจเต้นรัวเร็วหรือช้า ซึ่งอาจได้รับอันตรายถึงเสียชีวิต เม่ือระยะเวลาที่ถูกไฟฟ้าดูดนานเกินกวา่ ระยะเวลากําหนดท่ีบอกไว้ ดงั แสดงในตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 ความสัมพันธ์ของปริมาณกระแสไหลผ่านร่างกายคนกับระยะเวลาท่ีทําให้เสยี ชีวิต ปริมาณกระแสไหลผ่านรา่ งกายคน ระยะเวลา หมายเหตุ15 mA นานกว่า 2 นาที20 mA นานกว่า 1 นาที30 mA 35 วินาที เสียชีวติ100 mA นานกวา่ 3 วนิ าที500 mA นานกว่า 0.11 วินาที1 A นานกวา่ 0.01 วนิ าที
194. ขอ้ ควรปฏิบัติในการใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งถูกต้องปลอดภัย 4.1 การใช้ไฟฟ้าทุกคร้ังควรคํานึงถึงความปลอดภัย ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด และใช้อย่างประหยัด ซึ่งนอกจากกระเป็นการช่วยประหยัดพลังงานแล้ว ยังมีผลดีต่อส่วนรวมของประเทศในแงข่ องการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยังช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อีกด้วย ผู้ใช้ไฟฟ้าจึงจําเป็นต้องเรียนรู้วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้อง ข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างถกู ต้องปลอดภัย ปฏบิ ตั ไิ ดด้ ังนี้ 4.1.1 ควรตรวจสอบให้แน่ชัดก่อนจ้างงานหรือทําสัญญากับบริษัท หรือช่างที่จะดําเนินการออกแบบ และเดินสายไฟติดตั้งระบบไฟฟ้าว่าเป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์ มีความรู้ความชาํ นาญเช่อื ถือไดเ้ ทา่ น้นั 4.1.2 อุปกรณ์ในการติดต้ังทางไฟฟ้าต้องเป็นชนิดท่ีได้รับการรับรองจากมาตรฐานต่าง ๆที่น่าเชอ่ื ถือ เช่น สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) UL, VDE และ IEC เป็นต้นเครื่องหมายมาตรฐานอุปกรณไ์ ฟฟ้าประเทศต่าง ๆ ดงั แสดงในรปู ที่ 1.6 มอก. มาตรฐานไทย มาตรฐานอเมริกา มาตรฐานเยอรมัน มาตรฐานยุโรป รปู ที่ 1.6 แสดงเครอื่ งหมายมาตรฐานอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ประเภทต่าง ๆ 4.1.3 การเดินสายและการติดต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้า ต้องเป็นไปตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง หรือตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าท่ีการไฟฟ้านครหลวงยอมรบั 4.1.4 ก่อนใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ต้องอ่าน ศึกษาคู่มือแนะนําการใช้งานให้เข้าใจ ปฏิบัติตามคาํ แนะนําอย่างเคร่งครดั 4.1.5 ทุกครั้งท่จี ะใชเ้ ครือ่ งใช้ไฟฟา้ ควรทําการตรวจสอบสายไฟ และเตา้ เสยี บ (ปลกั๊ ไฟ)ของเครือ่ งวา่ มีรอ่ งรอยของการชาํ รดุ หรอื ไม่
20 4.1.6 เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าที่มีเปลอื กห้มุ ภายนอกทําด้วยโลหะทกุ ชนดิ หรือเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ทีอ่ าจมไี ฟฟา้ รวั่ มากบั นา้ํ เช่น เตารดี หม้อหงุ ขา้ ว เตาไมโครเวฟ เครื่องซักผ้า หม้อตม้ นาํ้ รอ้ น พดั ลมกระทะไฟฟ้า เครื่องทาํ น้าํ อนุ่ เตาไฟฟ้า และเคร่อื งปรบั อากาศ เป็นต้น จาํ เปน็ ต้องมีการตอ่ สายดินของเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับระบบสายดิน เพ่ือช่วยป้องกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน ระบบสายดินเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ดงั แสดงในรปู ที่ 1.7 รปู ท่ี 1.7 แสดงเต้าเสียบเต้ารับชนดิ มีขั้วสายดนิ 4.1.7 เมื่อร่างกายเปียกชื้น ห้ามแตะต้องส่วนที่มีไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยเด็ดขาดหากมีไฟฟ้ารั่วจะทําให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายได้สะดวก และจําเป็นต้องติดตั้งเคร่ืองตัดไฟร่ัวท่ไี ดม้ าตรฐานความปลอดภยั (มอก.) เครอื่ งตัดไฟร่ัว ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.8 รปู ท่ี 1.8 แสดงลักษณะเคร่ืองทํานํ้าอนุ่ ที่มรี ะบบตดั ไฟร่ัว 4.1.8 ในการเดินสายไฟหรือลากสายไฟไปใช้งานนอกอาคารเป็นการชั่วคราวหรือถาวรเช่น งานก่อสร้าง นอกจากอุปกรณ์ไฟฟ้าและสายไฟต้องเป็นชนิดท่ีกันน้ํา และทนทานต่อสภาวะแวดล้อมทางกลและแสงแดดแล้ว วงจรไฟฟ้าหรือเต้ารับจะต้องมีการป้องกันด้วยเคร่ืองตัดไฟรั่วด้วยจึงจะปลอดภัย
21 4.1.9 ควรแยกวงจรไฟฟา้ ที่นํ้าอาจท่วมถงึ เช่น บริเวณช้ันล่างของอาคาร เพ่ือใหส้ ามารถปลดไฟออกไดท้ นั ทเี มอ่ื เกดิ นา้ํ ท่วม หรอื อาจตดิ ต้ังเคร่ืองตดั ไฟรว่ั ร่วมดว้ ยกไ็ ด้ 4.1.10 หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ติดต้ังทางไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเป็นประจําอย่างน้อยปลี ะ 1 ครงั้ 4.1.11 ฝึกเป็นคนช่างสังเกตส่ิงผิดปกติจากสี กล่ิน เสียง และการสัมผัสอุณหภูมิรวมท้ังการใช้เคร่อื งมือตรวจสอบอย่างงา่ ย เช่น ไขควงทดสอบไฟฟ้าแตะดูว่ามีไฟร่ัวหรือไม่ เป็นต้นการใชไ้ ขควงทดสอบไฟร่วั ดังแสดงในรปู ที่ 1.9 รูปที่ 1.9 แสดงการใชไ้ ขควงลองไฟทดสอบไฟรั่ว 4.1.12 ไม่ควรใช้ไฟฟ้าหรือเปิดสวิตช์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เช่น พัดลมระบายอากาศ ในบริเวณท่ีมีไอของสารระเหยหรือก๊าซที่ไวไฟปกคลุมอยู่เต็มพ้ืนที่ เช่น ก๊าซหุงต้ม ทินเนอร์ หรือไอนํ้ามันเบนซิน เป็นตน้ 4.1.13 ระมัดระวังการใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้าราคาถูกจากบางประเทศท่ีผลิตแบบไม่ได้มาตรฐานนอกจากจะมีอายุการใช้งานส้ันแล้ว อาจไมป่ ลอดภัยในการใชง้ านโดยเฉพาะในเรอื่ งของอคั คีภยั 4.1.14 อุปกรณ์ที่มีการเสียบปล๊ักท้ิงไว้นาน ๆ โดยไม่มีผู้ดูแล เช่น หลอดไฟทางเดินหรือบันได หม้อแปลงไฟท่ีมีขนาดเล็ก (อะแดปเตอร์) และเครื่องชาร์จแบตเตอร่ีขนาดเล็ก เป็นต้นหากมีความจําเปน็ ต้องใช้ใหห้ ลีกเลยี่ งการใชใ้ นบรเิ วณท่มี ีวสั ดุทต่ี ดิ ไฟไดง้ ่ายอยใู่ กล้ ๆ 4.1.15 ทุกคร้ังท่ีเลิกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ควรปิดสวิตช์ท่ีเคร่ืองใช้ไฟฟ้า และถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้ง เพ่ือไม่ให้เครื่องใช้ไฟฟ้าชํารุดเสียหายง่าย การถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกคร้งั เมอื่ เลิกใชง้ านเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ดังแสดงในรปู ท่ี 1.10
22 รูปที่ 1.10 แสดงการถอดเตา้ เสียบออกจากเตา้ รบั ทกุ ครง้ั เมอื่ เลกิ ใชง้ านเคร่ืองใช้ไฟฟ้า 4.1.16 อย่าซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าด้วยตนเอง หรือซ่อมโดยช่างท่ีไม่มีความชํานาญ เพราะเคร่อื งใช้ไฟฟา้ บางประเภทจาํ เปน็ ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์ตรวจสอบด้านความปลอดภยั เชน่ เตาไมโครเวฟต้องมีการตรวจสอบการร่ัวของคลื่นไมโครเวฟไม่ให้มากเกินอัตราท่ีกําหนด หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีมีสายดินต้องตรวจสอบความต่อเน่ืองของสายดิน ทดสอบการทนกระแสลัดวงจรของจุดต่อสายดินและทดสอบความเป็นฉนวนระหวา่ งสายดนิ กบั สายศูนย์ เปน็ ตน้ 4.1.17 หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในขณะที่ฝนตกฟ้าคะนอง เช่น โทรทัศน์เคร่ืองเสียง คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร และโทรศัพท์เคล่ือนท่ี เป็นต้น เพื่อป้องกันการชํารุดเสียหาย ขณะมีฝนตกฟ้าคะนองควรปิดเคร่ืองและถอดปล๊ักไฟ รวมทั้งสายอากาศ แลสายโทรศัพท์ออกจากเครื่องทกุ ครงั้ การเกิดฟา้ ผา่ ดงั แสดงในรูปที่ 1.11 4.1.18 เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าท่ีควบคุมการเปิดปิดด้วยรีโมทคอนโทรล เช่น โทรทัศน์ เคร่ืองเสียงเครื่องเล่นวีดีทัศน์ เคร่ืองปรับอากาศ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซ่ึงเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่าน้ีเมอ่ื ปดิ เครอื่ งแล้ว จะยงั มีไฟเล้ียงวงจรควบคมุ ภายในอยู่ตลอดเวลา จงึ มักเกิดอปุ กรณค์ วบคุมภายในชํารดุ ในบางครั้งทําให้เกิดไฟลุกไหม้ทรัพย์สินเสียหายได้ ดังนั้น เม่ือเลิกใช้งานทุกคร้ังควรถอดปลั๊กหรือติดตั้งวงจรสวิตช์ตัดต่อวงจร เพื่อตัดไฟออกทุกครั้งที่เลิกใช้งาน ลักษณะการเกิดเพลิงไหม้ของคอมพิวเตอร์ ดังแสดงในรูปท่ี 1.12
23 รูปที่ 1.11 แสดงลักษณะการเกดิ ฟ้าผ่า รปู ที่ 1.12 แสดงลกั ษณะการเกิดเพลงิ ไหม้เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ 4.1.19 เมื่อไฟฟ้าทีจ่ ่ายมาจากการไฟฟ้าดับ ให้ปิดสวิตชเ์ ครื่องใช้ทุกชนิดทเี่ ปิดค้างอยู่ทันทีเพอ่ื ปอ้ งกนั สาเหตุทจี่ ะเกิดขน้ึ ดงั น้ี 4.1.19.1 เครอ่ื งใชช้ ํารุดจากแรงดนั ไฟฟ้าทผ่ี ดิ ปกตขิ ณะไฟฟ้าดบั ไม่สนทิ (แรงดนั ไฟฟ้าตก) หรือขณะทีเ่ ร่มิ มไี ฟฟา้ กลับเขา้ มา (แรงดันไฟฟา้ อาจเกิน) 4.1.19.2 อุปกรณ์ตัดวงจรทํางานเมื่อมีไฟกลับเข้ามา ถ้ามีเครื่องใช้ท่ีกินไฟในการสตารท์ มากเปดิ อยู่อาจจะทาํ ให้มไี ฟดบั อกี คร้งั 4.1.19.3 อันตรายจากเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ท่ตี ิดคา้ งอยู่ เชน่ เตารดี และเตาไฟฟา้ เปน็ ตน้ 4.1.19.4 ฝึกฝนให้รู้จักวิธีแก้ไข และการป้องกันรวมทั้งช่วยเหลือปฐมพยาบาล เมื่อมีอุบตั เิ หตุทางไฟฟ้าเกิดขนึ้
245. การปฏบิ ัติงานดา้ นไฟฟ้าที่ปลอดภัย 5.1 การปฏิบัติงานด้านไฟฟ้าท่ปี ลอดภัย การสัมผัสหรือจับต้องไฟฟ้าถือเป็นอันตรายต่อร่างกายคนอย่างร้ายแรง ดังนั้น การปฏิบัติงานทางด้านที่ต้องเกี่ยวข้องกับไฟฟ้าจําเป็นต้องมีความระมัดระวังอย่างมาก ต้องม่ันใจว่าเกิดความปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงานจะต้องมีอุปกรณ์อํานวยความสะดวก และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เพียงพอ ต้องปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามข้ันตอน ทํางานอย่างเปน็ ระบบและมคี วามรอบคอบ หลกั การปฏบิ ัติงานทางด้านไฟฟ้าทป่ี ลอดภยั มดี ังนี้ 5.1.1 ควรคํานึงถึงกฎแห่งความปลอดภัยทุกครั้ง ขณะทํางานหรือซ่อมบํารุงเคร่ืองใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้า และอยา่ ทาํ งานดว้ ยความประมาท 5.1.2 ก่อนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ต้องถือว่าเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่าน้ันมีไฟฟ้าจ่ายอยู่ ต้องตรวจสอบจนแน่ใจก่อนว่าไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้แล้ว และตัดไฟฟ้าทุกคร้ังก่อนการปฏิบัตงิ าน ดงั แสดงในรปู ที่ 1.13 รูปท่ี 1.13 แสดงการตดั ไฟฟา้ ทกุ ครัง้ ก่อนการปฏิบัตงิ าน 5.1.3 จะปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้าเร่ืองใด ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ันก่อนการปฏบิ ัติงาน หรือถ้าไม่รู้ไมเ่ ขา้ ใจควรสอบถามผ้รู ู้ และใหผ้ รู้ ู้เป็นผกู้ ระทาํ 5.1.4 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน หากมีส่วนชํารุดหรือไม่สมบูรณ์ไม่ควรนํามาใชง้ าน 5.1.5 อย่าปฏิบัติงานเมื่อรสู้ ึก เหนื่อย อ่อนเพลีย ง่วงนอน หรอื รับประทานยาอาจทําให้เกิดอาการง่วงซึม 5.1.6 อย่าปฏิบัติงานในขณะมือเปียกน้ํา หรือยืนอยู่บนพื้นท่ีเปียกน้ํา ทําให้เกิดอันตรายได้งา่ ย อนั ตรายเกิดจากไฟฟา้ กับนํ้า ดงั แสดงในรปู ที่ 1.14
25 รูปที่ 1.14 แสดงลักษณะอันตรายเกิดจากไฟฟา้ กับนา้ํ 5.1.7 ถ้าจําเป็นต้องปฏิบัติงานในบริเวณที่มีคนพลุกพล่าน หรือมีการปฏิบัติงานอื่น ๆร่วมด้วย ต้องแขวนป้ายหรือเขียนป้ายแสดงการงดใช้ไฟฟ้าไว้ให้มองเห็นชัดเจนทุกคร้ังก่อนเร่ิมการปฏิบัติงาน 5.1.8 ถ้าจําเป็นต้องปฏิบัติงานในบริเวณที่ไม่สามารถตัดไฟออกได้ ต้องกั้นบริเวณหรือปอ้ งกนั ไม่ใหผ้ ู้ไมเ่ ก่ยี วข้องเข้าใกลไ้ ด้ 5.1.9 การปฏิบัติงานถ้ามีการละงานไปช่ัวคราว เช่น พักเท่ียง เมื่อกลับมาปฏิบัติงานต่อต้องตรวจสอบสวิตช์ตัดตอน สะพานไฟ ตลอดจนเครื่องหมายต่าง ๆ ที่ทําไว้ต้องอยู่ในสภาพเดิมก่อนปฏิบัติงานต่อไป 5.1.10 การปฏบิ ตั ิงานแตล่ ะครั้ง ควรมผี รู้ ่วมปฏบิ ัตงิ านด้วยอย่างนอ้ ย 2 คน 5.1.11 การปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับไฟฟ้าแรงสูง ควรใช้เคร่ืองช่วยป้องกันไฟฟ้าให้มากข้ึนกว่าปกติ เช่น ใช้เส่ือยางฉนวนปูพื้น สวมถุงมือฉนวน และปลอกแขนฉนวน เป็นต้น ก่อนการปฏิบตั งิ านทกุ คร้ัง6. การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบอันตรายจากไฟฟา้ ดดู 6.1 การช่วยเหลือผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าดูดเป็นส่ิงจําเป็น และสําคัญอย่างย่ิงท่ีต้องกระทําด้วยความรวดเร็วอย่างถูกวิธี มีความรอบคอบ และด้วยความระมัดระวัง เพ่ือให้ผู้ประสบอันตรายมีโอกาสรอดพ้นจากอันตรายขั้นร้ายแรง และผู้ให้ความช่วยเหลือเกิดความปลอดภัยไม่เป็นอันตรายตามไปด้วย ส่ิงสาํ คัญคือผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื ต้องร้จู ักวิธีให้ความช่วยเหลอื ท่ีถูกต้องและถกู วิธีการปฏบิ ัติทาํ ได้ดงั นี้ 6.1.1 อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผู้ท่ีกําลังติดอยู่กับสายไฟฟ้า หรือตัวนําไฟฟ้าที่มีกระแสไหลผา่ น เพอื่ ป้องกนั ไม่ให้ผู้ให้ความช่วยเหลือเกิดอันตรายตามไปด้วยอกี คน
26 6.1.2 รีบหาทางตัดทางเดินของไฟฟ้าก่อน โดยถอดเต้าเสียบ ตัดสวิตช์ตัดวงจรอัตโนมัติหรือสวิตช์ประธาน ถ้าทําไม่ได้ให้ใช้วัสดุที่ไม่เป็นสื่อตัวนําไฟฟ้า เช่น ผ้าแห้ง เชือกแห้ง ไม้แห้งสายยางแห้ง หรือผ้าพลาสติกที่แห้งสนิท ดึงเอาตัวผู้ประสบอันตรายให้พ้นจากส่ิงท่ีมีไฟฟ้า หรือใช้ไม้แห้งเข่ียสายไฟฟ้าให้หลุดพ้นออกจากตัวผู้ประสบอันตราย หรือเขี่ยส่วนของร่างกายผู้ประสบอนั ตรายให้หลดุ พ้นออกจากสายไฟฟ้าโดยเร็ว การชว่ ยผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟา้ ดดู ดังแสดงในรูปที่ 1.15 รปู ที่ 1.15 แสดงลกั ษณะการชว่ ยผ้ปู ระสบอนั ตรายจากไฟฟา้ ดดู 6.1.3 เม่ือไมส่ ามารถทําวิธีอนื่ ใดไดแ้ ลว้ ให้ใชม้ ดี ขวาน หรอื ของมคี มที่มีด้ามไม้ หรือด้ามท่ีเป็นฉนวน ฟันสายไฟฟ้าให้ขาดหลุดออกจากผู้ประสบภัยโดยเร็วท่ีสุด และต้องให้แน่ใจว่าสามารถทาํ ไดด้ ้วยความปลอดภัย 6.1.4 ในกรณีที่มีกระแสอยู่ในบริเวณท่ีมีนํ้าขัง อย่าลงไปในนํ้า ให้หาทางเข่ียสายไฟฟ้าออกไปใหพ้ น้ นา้ํ หรอื ตดั ไฟฟา้ ออกกอ่ นจะลงไปชว่ ยผปู้ ระสบอันตรายท่ีอย่ใู นบรเิ วณนั้น 6.1.5 ถ้ากรณีที่เป็นสายไฟฟ้าแรงสูง ให้พยายามหลีกเล่ียงอย่าเข้าไปใกล้ และต้องรีบแจง้ การไฟฟ้าท่ีรบั ผิดชอบใหท้ ราบโดยเรว็7. การปฐมพยาบาลผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟา้ ดดู ผู้ประสบอันตรายจากกระแสไฟฟ้าดูด ส่วนมากจะหมดสติไม่รู้สึกตัว ซ่ึงอาจจะไม่หายใจและมีสภาวะหัวใจหยุดเต้น สังเกตได้จากอาการท่ีเกิดข้ึนดังน้ี ริมฝีปากเขียว สีหน้าซีดเขียวคลํ้าทรวงอกเคลื่อนไหวน้อยมากหรือไม่เคลื่อนไหว ชีพจรเต้นชาและเบามาก หากหัวใจหยุดเต้นจะคลําชีพจรไม่พบ ม่านตาขยายค้างไม่หดเล็กลง การหมดสติเช่นน้ีต้องรีบให้การปฐมพยาบาลทันทีเพื่อให้ปอดและหัวใจทํางาน เรียกการช่วยเหลือนี้ว่า การปฏิบัติการช่วยฟ้ืนคืนชีพ (CardioPulmonary Resuscitation ; CPR) โดยวิธีการช่วยฟื้นคนื ชีพขั้นพ้ืนฐาน (Basic Life Support ;BLS) ได้แก่ การผายปอดด้วยการให้ลมหายใจทางปากที่เรียกว่าการเป่าปาก ร่วมกับการนวดหัวใจภายนอก กอ่ นนาํ ผู้ป่วยสง่ แพทย์
27 7.1 การผายปอดดว้ ยการใหล้ มหายใจทางปาก ภาวะหยุดหายใจ (Respiratory Arrest) เป็นภาวะท่ีมีการหยุดการทํางานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ และการไหลเวียนของโลหิต ส่วนมากมักจะพบว่ามีการหยุดหายใจก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จะทําให้เสียชีวิตได้ การผายปอดดว้ ยการใหล้ มหายใจทางปาก เปน็ วธิ ีพนื้ ฐานที่จําเปน็ ต้องปฏบิ ัติในเบือ้ งตน้ ทําได้ดังน้ี 7.1.1 ให้ผู้ป่วยนอนหงายราบกับพ้ืน จัดท่านอนให้เหมาะสม เพื่อเปิดทางให้มีอากาศเข้าสู่ปอดได้สะดวก โดยผู้ปฐมพยาบาลจะอยู่ทางด้านขวา หรือด้านซ้ายบริเวณศีรษะของผู้ป่วยก็ได้ลกั ษณะการจัดท่านอนทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสมใหผ้ ูป้ ว่ ย ดังแสดงในรปู ท่ี 1.16 รูปท่ี 1.16 แสดงลกั ษณะการจดั ทา่ นอนทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมใหผ้ ู้ปว่ ย 7.1.2 ใช้มือข้างหน่ึงดึงคางผู้ป่วยหรือดันใต้คอพร้อมกับใช้มืออีกข้างดันหน้าผากให้แหงนเป็นวิธีป้องกันไม่ให้ลิ้นตกไปอุดปิดทางเดินหายใจ และต้องระวังไม่ให้น้ิวมือท่ีดึงคางน้ัน กดลึกลงไปในส่วนของเน้ือใต้คางเพราะจะทําให้อุดก้ันทางเดินหายใจได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก สําหรับในเดก็ แรกเกิด ไมค่ วรหงายคอมากเกินไป เพราะอาจทําให้เกดิ หลอดลมแฟบ และเกดิ อุดตันทางเดินหายใจได้ ลกั ษณะการใชม้ ือจับศรี ษะผปู้ ่วยใหห้ นา้ แหงน ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.17 รปู ท่ี 1.17 แสดงการใช้มือจบั ศีรษะผปู้ ว่ ยให้หนา้ แหงน
28 7.1.3 สอดนิว้ หวั แม่มือเข้าในปากผู้ป่วย จบั ขากรรไกรล่างยกข้ึนจนปากอา้ ออก 7.1.4 ล้วงเอาส่ิงอื่น ๆ ท่ีอาจมีติดค้างอยู่ในปากและลําคอออกให้หมด เช่น ฟันปลอมและเศษอาหาร เป็นต้น เพอ่ื ไม่ใหข้ วางทางลม 7.1.5 ตรวจสอบการหายใจของผู้ป่วย โดยเอยี งหน้าหันไปทางปลายเทา้ ผู้ปว่ ยใหห้ ูชิดปากผู้ป่วย เพื่อฟังเสียงการหายใจ ตาดูการเคล่ือนไหวของทรวงอก ถ้าผู้ป่วยหายใจได้เองอย่างเพียงพอให้จัดท่านอนให้ผู้ป่วยใหม่ โดยจัดให้นอนตะแคงก่ึงควํ่าเพ่ือนอนพัก การจัดท่านอนให้ผู้ป่วยนอนตะแคงก่งึ คว่ํา แสดงตามขน้ั ตอนท่ี 1 - 4 ดงั แสดงในรูปท่ี 1.18แสดงขน้ั ตอนท่ี 1 แสดงขน้ั ตอนท่ี 2แสดงข้ันตอนที่ 3 แสดงข้นั ตอนที่ 4รูปท่ี 1.18 แสดงการจดั ท่านอนใหผ้ ปู้ ่วยนอนตะแคงกึง่ ควา่ํ
29 7.1.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ปฐมพยาบาลโดยวิธีการผายปอดด้วยการเป่าปากของผู้ป่วยผปู้ ฐมพยาบาลอ้าปากใหก้ วา้ งหายใจเขา้ ปอดให้เตม็ ท่ี มือข้างหน่งึ บบี จมูกผู้ป่วยให้แน่นสนทิ ส่วนมืออีกขา้ งหนึ่งยังอยู่ที่คางของผู้ป่วยอยู่ แล้วจึงประกบปากปิดปากผู้ปว่ ยให้สนิท พร้อมกับเป่าลมเข้าไปเป็นจังหวะประมาณ 12 - 15 ครั้ง/นาที ในเด็กเล็กประมาณ 20 - 30 ครั้ง/นาที การผายปอดดว้ ยการเป่าลมเขา้ ปาก ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.19 รูปท่ี 1.19 แสดงลกั ษณะการผายปอดดว้ ยการเป่าลมเข้าปาก 7.1.7 ขณะทําการเป่าปากผูป้ ่วยตาต้องเหลือบดูดว้ ยว่า หน้าอกผู้ป่วยมอี าการขยายข้นึ ลงหรือไม่ หากไม่มีการกระเพ่ือมข้ึนลงอาจเป็นเพราะท่านอนไม่ดีหรือมีส่ิงกีดขวางทางเดินหายใจ ซ่ึงต้องรบี แก้ไขจัดท่าใหม่ และอยา่ ใหม้ สี ิง่ กดี ขวางทางเดนิ หายใจ การดหู น้าอกผู้ปว่ ยขยายข้นึ ลงดงั แสดงในรปู ที่ 1.20 รูปท่ี 1.20 แสดงลักษณะการดูหนา้ อกผปู้ ว่ ยขยายขน้ึ ลง 7.1.8 ถา้ กรณีที่ไมส่ ามารถอ้าปากของผู้ป่วยได้ ให้ใช้มือปิดปากผ้ปู ่วยให้สนทิ และเป่าลมเขา้ ทางจมูกแทน โดยใช้วธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ นทาํ นองเดี่ยวกับการเปา่ ปาก
30 7.1.9 ขณะนําสง่ โรงพยาบาล ให้ทาํ การเป่าปากไปดว้ ยจนกวา่ ผู้ปว่ ยจะฟื้น หรอื เมื่อไดร้ ับการชว่ ยเหลอื จากแพทย์เปน็ ทเ่ี รียบร้อยแล้ว 7.2 การนวดหัวใจภายนอก ภาวะหัวใจหยุดเต้น หมายถึง การไหลเวียนเลือดหยุดลงอย่างสิ้นเชิง ซ่ึงทราบได้จากการหมดสติไม่มีการเคลื่อนไหว ไม่มีอาการไอ คลําชีพจรไม่ได้ ไม่มีการหายใจอย่างท่ีเป็นตามปกติภาวะหัวใจหยดุ เต้น เกิดขึ้นหลังจากภาวะหยุดหายใจ คนที่หยุดการหายใจและหัวใจหยุดเต้นไปแล้วยังมีโอกาสฟื้นขึ้นได้ ต้องรีบทําการช่วยให้หัวใจกลับเต้นข้ึนมาทันทีด้วยการนวดหัวใจ มีวิธีการปฏบิ ัติดงั น้ี 7.2.1 ให้ผู้ป่วยนอนราบกับพ้ืนแขง็ ๆ หรอื ใช้ไม้กระดานรองหลังของผปู้ ่วยผู้ปฐมพยาบาลน่งั คุกเข่าลงขา้ งขวา หรือขา้ งซา้ ยบรเิ วณหนา้ อกผูป้ ่วย 7.2.2 คลําหาส่วนล่างสดุ ของกระดูกอกทต่ี ่อกบั กระดูกซ่ีโครง โดยใชส้ องนว้ิ สมั ผัสสว่ นล่างกระดูกอก ใช้ฝ่ามืออีกข้างวางไล่ข้ึนมา ถ้าคุกเข่าข้างขวาใช้มือขวาคลําหาส่วนล่างของกระดูกอกหากคุกเข่าข้างซ้ายใช้มือซ้ายคลําหาส่วนล่างกระดูกอก ตําแหน่งการวางมือเพื่อนวดหัวใจ ดังแสดงในรปู ที่ 1.21 รปู ที่ 1.21 แสดงตําแหนง่ การวางมอื เพือ่ นวดหัวใจ 7.1.3 วางมืออีกข้างทับบนหลังมือที่วางไว้แล้วในตําแหน่งที่ถูกต้อง โดยเหยียดน้ิวมือตรงและเก่ียวนิ้วมือ 2 ขา้ งเข้าด้วยกนั เหยียดแขนตรงโน้มตัวตั้งฉากกบั หนา้ อกผปู้ ่วย ทิ้งนํ้าหนกั ลงบนแขนขณะกดหน้าอกผู้ป่วยให้กระดูกลดระดับลง 1.5 - 2 น้ิวหรือ 4 - 5 ซม. เมื่อกดสุดให้ผ่อนมือขน้ึ ทันที โดยท่ตี ําแหนง่ มอื ไม่ต้องเลื่อนจากจุดที่กาํ หนด ขณะกดหนา้ อกนวดหัวใจ และห้ามใช้น้ิวมือกดลงบนซ่ีโครงผ้ปู ว่ ย ลักษณะการวางมอื บนหน้าอกผูป้ ว่ ย ดังแสดงในรูปที่ 1.22
31 รูปที่ 1.22 แสดงตําแหน่งการวางมอื บนหน้าอกผปู้ ว่ ย 7.1.4 ขณะท่ีกดหน้าอกแต่ละครั้งต้องนับจํานวนครั้งที่กดดังนี้ หนึ่ง และสอง และสามและสี่ และห้า โดยกดหน้าอกทุกคร้ังท่ีนับตัวเลข และปล่อยมือจากการกดตอนคําว่า และสลับกันไปใหไ้ ดอ้ ตั ราการกดประมาณ 90 - 100 ครั้ง/นาที การกดหน้าอกผปู้ ว่ ย ดงั แสดงในรูปที่ 1.23 รปู ท่ี 1.23 แสดงการกดหนา้ อกผปู้ ว่ ย 7.1.5 ถ้าผูป้ ฏบิ ัติมีคนเดยี วใหน้ วดหัวใจ 15 ครงั้ สลับกับการเป่าปาก 2 ครงั้ ทําสลับกันเช่นนจี้ นครบ 4 รอบ แล้วตรวจชีพจรและการหายใจ หากคลําชีพจรไม่ได้ต้องนวดหัวใจต่อ แต่ถ้าคลําชีพจรไดแ้ ละยังไม่หายใจต้องเปา่ ปากต่อไปอยา่ งเดียว 7.1.6 ถ้ามีผู้ปฏิบัติ 2 คน ให้นวดหัวใจ 5 คร้ัง สลับการเป่าปาก 1 ครั้ง โดยขณะท่ีเป่าปาก อีกคนต้องหยดุ นวดหวั ใจ 7.1.7 ในกรณชี ่วยเหลอื เดก็ อ่อน หรือเดก็ แรกเกิด การนวดหัวใจให้ใชน้ ้ิวเพียง 2 นว้ิกดบริเวณกึง่ กลางกระดูกหน้าอกใหไ้ ด้อัตราการกด 100 - 120 ครง้ั /นาที การนวดหวั ใจเด็กอ่อนดังแสดงในรูปท่ี 1.24
32 7.1.8 การนวดหัวใจไม่ว่าผู้ใหญ่ หรือเด็กต้องทําอย่างระมัดระวัง และถูกวิธี มิเช่นน้ันอาจทําให้กระดูกซ่ีโครงหัก ตับแตก และม้ามแตกได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กต้องใช้ความระมัดระวังเปน็ พเิ ศษ รปู ที่ 1.24 แสดงการนวดหัวใจเดก็ อ่อน
33บทสรปุ ไฟฟา้ เปน็ พลังงานชนิดหนึง่ มีทงั้ โทษและประโยชนใ์ นเวลาเดียวกนั หากใชใ้ หถ้ ูกวธิ จี ะเกิดประโยชน์มากมายมหาศาล หากใช้ผิดวิธีจะมีโทษมากมายมหาศาลเช่นเดียวกัน ไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้ดีในวัตถุตัวนําจําพวกโลหะชนิดต่าง ๆ ไฟฟ้าไม่สามารถเคล่ือนท่ีผ่านไปได้หรือเคล่ือนท่ีไปได้ลําบากในวัตถุท่ีเป็นฉนวน ไฟฟ้าสามารถไหลผ่านร่างกายคนได้อย่างสะดวก เกิดไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าซ็อตปรมิ าณกระแสท่ีไหลผ่านร่างกายแตกต่างกนั เกิดอนั ตรายต่อร่างกายแตกต่างกนั ไป กระแสไหลผ่านน้อยเป็นอันตรายน้อย กระแสไหลผ่านมากเป็นอันตรายมาก มีผลทําให้เกิดการบาดเจ็บ พิการหรอื ถงึ เสียชีวิต การปฏิบัติงานทางด้านไฟฟ้าท่ีปลอดภัย ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องทราบและเข้าใจถึงคุณสมบัติของไฟฟ้า ต้องระมัดระวัง ไม่ประมาท ทํางานอย่างเป็นระบบและมีความรอบคอบ คํานึงถึงกฎแห่งความปลอดภัยขณะทํางาน ผู้ใช้ไฟฟ้าจึงจําเป็นต้องเรียนรู้วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้อง และเรียนรู้ข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้องปลอดภัย ผู้ประสบภัยอันตรายจากกระแสไฟฟ้าดูดส่วนมากจะหมดสติไม่รู้สึกตัว ซึ่งอาจจะไม่หายใจและมีสภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วย การหมดสติเช่นนี้ต้องรีบให้การปฐมพยาบาลทันที เพ่ือให้ปอดและหัวใจทํางาน เรียกการช่วยเหลือนี้ว่า การปฏิบัติช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) โดยวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพข้ันพื้นฐาน (BLS) ได้แก่ การผายปอดด้วยการให้ลมหายใจทางปาก ร่วมกับการนวดหัวใจภายนอก ก่อนนําผู้ป่วยส่งแพทย์ การช่วยเหลือผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าเป็นส่ิงที่มีความจําเป็นสําคัญอย่างยิ่ง ต้องกระทําอย่างถูกวิธี รวดเร็ว รอบคอบและระมัดระวัง ทําใหผ้ ูป้ ระสบอนั ตรายมีโอกาสรอดพ้นจากอนั ตราย
34 หนังสอื อ้างองิ1. พนั ธศ์ กั ดิ์ พฒุ มิ านติ พงศ์ และคณะ (2556) งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สาํ นักพมิ พ์ศูนย์ส่งเสรมิ อาชีวะ : กรงุ เทพฯ2. ไวพจน์ ศรธี ัญ, วรี ธรรม ไชยยงค์ (2558) งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สาํ นกั พิมพ์วงั อกั ษร : กรุงเทพฯ3. วิฑรู ย์ สมิ ะโชคดี, วีรพงษ์ เฉลิมจริ ัตน์ (2548) วศิ วกรรมและการบริหารความปลอดภยัในโรงงาน สมาคมส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย - ญป่ี ุ่น) : กรุงเทพฯ
35 แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟา้*******************************************************************************************1. สาเหตขุ องอบุ ัตเิ หตุ (Causes of accident) มกี ่ปี ระการ อะไรบ้าง จงอธบิ าย.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. จงบอกประโยชน์ของไฟฟ้า ในการนําไปใชง้ านดา้ นตา่ ง ๆ มาเปน็ ขอ้ ๆ.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. อันตรายทเี่ กิดจากไฟฟา้ แบ่งออกไดเ้ ป็นก่ีลกั ษณะ อะไรบา้ ง จงอธิบาย.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................4. จงยกตวั อยา่ ง หลกั การปฏิบัติงานทางดา้ นไฟฟา้ ที่ปลอดภยั.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................5. จงอธิบายความแตกตา่ งระหว่าง ภาวะหยุดหายใจ กบั ภาวะหัวใจหยุดเต้น มาโดยสังเขป.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
36 แนวเฉลยแบบฝึกหัด หนว่ ยท่ี 1 เร่อื งความปลอดภัยในงานไฟฟา้*******************************************************************************************1. สาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตุ (Causes of accident) มีกป่ี ระการ อะไรบ้าง จงอธิบาย 1. สาเหตุท่ีเกิดจากคน (Human Causes) มีจาํ นวนสูงทสี่ ดุ คอื 88 เปอร์เซน็ ของการเกิดอุบัติเหตุทุกคร้ัง ตัวอย่างเช่น การทํางานที่ไม่ถูกต้อง ความพล้ังเผลอ ความประมาท การมีนิสยั ชอบเสยี่ งในการทาํ งาน เป็นตน้ 2. สาเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของเคร่ืองจักร (Mechanical failure) มีจํานวนเพียง10 เปอร์เซ็น ของการเกิดอุบัติเหตุทุกคร้ัง ตัวอย่างเช่น ส่วนที่เป็นอันตรายของเคร่ืองจักรไม่มีเคร่ืองป้องกัน เคร่ืองจักรเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ชํารุดบกพร่อง รวมถึงการวางผังโรงงานไม่เหมาะสม สภาพแวดล้อมในการทาํ งานไม่ปลอดภยั เปน็ ต้น 3. สาเหตทุ ่เี กดิ จากดวงชะตา (Acts of God) มีจํานวนเพียง 2 เปอรเ์ ซน็ เป็นสาเหตุที่เกิดข้นึ โดยธรรมชาตินอกเหนือการควบคมุ ได้ เช่น พายุ นํา้ ท่วม ฟ้าผ่า เปน็ ต้น2. จงบอกประโยชน์ของไฟฟา้ ในการนําไปใช้งานด้านตา่ ง ๆ มาเป็นข้อ ๆ 1. ให้ความร้อน โดยเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นความร้อน เช่น เตาไฟฟ้า เตาอบ เตารดี ไฟฟา้ หม้อหงุ ขา้ วไฟฟา้ เคร่ืองเปาผม และหัวแรง้ บดั กรี เปน็ ตน้ 2. ใหค้ วามเยน็ โดยเปล่ียนพลงั งานไฟฟ้าใหเ้ ป็นความเยน็ เช่น ต้แู ช่เขง็ ต้เู ย็นตูน้ ํา้ เย็น และเครื่องปรบั อากาศ เปน็ ตน้ 3. ให้พลังงานกล โดยเปล่ียนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เช่น มอเตอร์ พัดลมสวา่ นไฟฟา้ เครือ่ งซกั ผ้า และเคร่ืองดดู ฝุ่น เป็นตน้ 4. ให้อํานาจแมเ่ หลก็ โดยเปลย่ี นพลงั งานไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ สนามแมเ่ หลก็ เชน่ กระด่ิงไฟฟ้าหม้อแปลงไฟฟา้ ลาํ โพง และแมเ่ หล็กไฟฟา้ เปน็ ตน้ 5. ให้แสงสว่าง โดยเปลี่ยนพลงั งานไฟฟา้ ให้เป็นแสงสว่าง เช่น ไฟฉาย หลอดไฟฟ้า และการเกิดประกายไฟจากการเช่ือมไฟฟา้ เป็นต้น 6. ใหค้ วามสะดวกสบาย โดยจา่ ยพลงั งานไฟฟา้ ไปใหอ้ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ทําใหเ้ กดิ การทาํ งานในอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สช์ นดิ ตา่ ง ๆ เช่น เคร่ืองรบั วิทยุ เครื่องรับโทรทศั น์ เคร่อื งขยายเสยี ง เครือ่ งเลน่ วีดที ัศน์ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ และวิทยสุ ือ่ สาร เป็นตน้
37 แนวเฉลยแบบฝึกหัด (ตอ่ ) หน่วยที่ 1 เรือ่ งความปลอดภยั ในงานไฟฟา้*******************************************************************************************3. อันตรายทเี่ กิดจากไฟฟา้ แบง่ ออกได้เป็นกี่ลกั ษณะ อะไรบ้าง จงอธิบาย อันตรายทเ่ี กดิ จากไฟฟา้ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1. ไฟฟ้าช็อต หรือเรียกอีกชื่อว่าไฟฟ้าลัดวงจร คือ สภาวะท่ีกระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจรโดยไม่ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองใช้ไฟฟ้า หรือภาระ (Load) ผลของไฟฟ้าช็อตจะทําให้เกิดความร้อนสงู เมอ่ื ความรอ้ นถงึ จุดลกุ ไหม้ ทําใหเ้ กิดเพลิงไหมข้ ึ้นได้ 2. ไฟฟ้าดูด คือ สภาวะที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ครบวงจร จะก่อให้เกิดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ จนร่างกายมนุษย์ไม่สามารถดิ้นหรือสะบัดให้หลุดออกจากไฟฟ้าได้ หรือถึงเสียชีวิตได้4. จงยกตัวอย่าง หลักการปฏบิ ตั ิงานทางด้านไฟฟา้ ทีป่ ลอดภัย 1. คํานึงถึงกฎแห่งความปลอดภัยทุกครั้ง ขณะทํางานหรือซ่อมบํารุงเครื่องใช้ไฟฟ้าอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอยา่ ทํางานดว้ ยความประมาท 2. ก่อนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ต้องถือว่าเคร่ืองใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านั้นมีไฟฟ้าจ่ายอยู่ ต้องตรวจสอบจนแน่ใจก่อนว่าไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้แล้ว ตัดไฟฟ้าทุกคร้ังก่อนการปฏิบตั ิงาน 3. จะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าเรื่องใด ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองนั้นก่อนการปฏบิ ัติงาน 4. อุปกรณแ์ ละเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบตั งิ าน หากชาํ รุดหรือไมส่ มบูรณ์ไม่ควรนาํ มาใช้งาน 5. อย่าปฏิบัติงานเมื่อร้สู ึกเหนอื่ ย ออ่ นเพลีย ง่วงนอน หรือรับประทานยาทาํ ให้เกิดอาการง่วงซมึ 6. อยา่ ปฏบิ ตั ิงานในขณะมือเปยี กนํ้า หรือยืนอย่บู นพื้นทีเ่ ปยี กนํา้
38 แนวเฉลยแบบฝกึ หัด (ต่อ) หน่วยท่ี 1 เร่อื งความปลอดภัยในงานไฟฟา้*******************************************************************************************5. จงอธิบายความแตกต่างระหว่าง ภาวะหยดุ หายใจ กับ ภาวะหวั ใจหยุดเต้น มาโดยสังเขป ภาวะหยุดหายใจ (Respiratory Arrest) เป็นภาวะท่ีมีการหยุดการทํางานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ และการไหลเวียนของโลหิต ส่วนมากมักจะพบว่ามีการหยุดหายใจก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเตน้ และถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จะทําให้เสียชีวิตไดก้ ารผายปอดดว้ ยการใหล้ มหายใจทางปาก เปน็ วธิ ีพื้นฐานที่จาํ เปน็ ตอ้ งปฏบิ ัตใิ นเบ้อื งตน้ ภาวะหัวใจหยุดเตน้ หมายถงึ การไหลเวยี นเลอื ดหยดุ ลงอยา่ งสิ้นเชิง ซ่งึ ทราบได้จากการหมดสตไิ ม่มีการเคลื่อนไหว ไมม่ อี าการไอ คลําชพี จรไม่ได้ ไมม่ ีการหายใจอยา่ งทเี่ ปน็ ตามปกติภาวะหวั ใจหยุดเตน้ เกดิ ข้นึ หลังจากภาวะหยุดหายใจ คนท่หี ยดุ การหายใจและหัวใจหยดุ เตน้ ไปแลว้ยงั มโี อกาสฟื้นขึ้นได้ ตอ้ งรบี ทาํ การช่วยให้หัวใจกลับเตน้ ขน้ึ มาทนั ทีด้วยการนวดหัวใจ
39 แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า*******************************************************************************************ตอนท่ี 2 ใหน้ กั เรียนใสเ่ ครือ่ งหมาย หน้าข้อความทีเ่ ห็นว่าถกู ต้อง หน้าข้อความทเี่ หน็ วา่ ผิด ................1. อนั ตราย (Danger) หมายถึงระดบั ความรุนแรงที่เปน็ ผลเนอ่ื งมาจากอุบตั ิเหตุ ................2. ความผิดพลาดของเครื่องจกั ร เป็นสาเหตขุ องการเกิดอุบตั เิ หตทุ ส่ี งู ท่สี ุด ................3. ไฟฟ้าชอ็ ตเรยี กอีกชอ่ื วา่ ไฟฟา้ ลดั วงจร ................4. สภาวะทีก่ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นร่างกายมนษุ ย์ครบวงจร เรียกว่าไฟฟา้ ดูด ................5. ร่างกายของมนษุ ยเ์ ป็นตวั นาํ ไฟฟ้าเชน่ เดียวกบั ตัวนําอืน่ ๆ ................6. ถ้าปริมาณกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย 1 - 4.3 แอมแปร์ (A) อาจทําให้เสียชวี ิตได้ ................7. ก่อนใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ต้องอ่าน ศึกษาคู่มือแนะนําการใช้งานให้เข้าใจ และปฏบิ ัตติ ามคําแนะนาํ อยา่ งเคร่งครัด ................8. อย่าปฏิบัตงิ านเกี่ยวกบั ไฟฟา้ เมอ่ื รู้สึก เหนื่อย อ่อนเพลยี งว่ งนอน ................9. การปฏิบัตงิ านเก่ยี วกบั ไฟฟา้ แต่ละครัง้ ควรมผี ู้ปฏบิ ตั ิงานเพียงคนเดียว ................10. ภาวะหยุดหายใจ (Respiratory Arrest) เป็นภาวะที่หัวใจหยุดการทํางานชวั่ ขณะ
40 แนวเฉลยแบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 1 เรื่องความปลอดภัยในงานไฟฟา้*******************************************************************************************ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรียนใสเ่ คร่ืองหมาย หน้าข้อความท่ีเห็นว่าถกู ตอ้ ง หนา้ ข้อความที่เห็นว่าผิด ............1. อันตราย (Danger) หมายถึงระดับความรุนแรงทีเ่ ป็นผลเนอื่ งมาจากอบุ ตั ิเหตุ ............2. ความผิดพลาดของเครือ่ งจักร เป็นสาเหตขุ องการเกิดอบุ ตั ิเหตุท่ีสงู ทีส่ ุด ............3. ไฟฟา้ ชอ็ ตเรยี กอีกชือ่ ว่าไฟฟ้าลัดวงจร ............4. สภาวะทก่ี ระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษยค์ รบวงจร เรยี กว่าไฟฟ้าดดู ............5. รา่ งกายของมนุษยเ์ ป็นตวั นาํ ไฟฟา้ เช่นเดยี วกับตัวนาํ อน่ื ๆ ............6. ถ้าปริมาณกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย 1 - 4.3 แอมแปร์ (A) อาจทําให้เสียชีวติ ได้ ............7. ก่อนใชเ้ ครือ่ งใช้ไฟฟ้า ผูใ้ ช้ต้องอ่าน ศึกษาคู่มือแนะนําการใช้งานให้เข้าใจ และปฏบิ ัตติ ามคําแนะนาํ อย่างเครง่ ครดั ............8. อยา่ ปฏิบตั งิ านเกยี่ วกับไฟฟา้ เม่ือรู้สกึ เหน่ือย ออ่ นเพลยี งว่ งนอน ............9. การปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับไฟฟา้ แตล่ ะครั้ง ควรมผี ้ปู ฏบิ ัติงานเพยี งคนเดยี ว ............10. ภาวะหยุดหายใจ (Respiratory Arrest) เป็นภาวะที่หัวใจหยุดการทํางานชว่ั ขณะ
41 ใบมอบงานชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ที่ 1รหัสวิชา 2100 - 1006 จํานวน 4 ชว่ั โมงหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ชอ่ื งาน อภปิ รายเรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟา้*******************************************************************************************จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม1. ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายเรอ่ื งความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า2. ใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 4 - 5 คน อภิปรายเก่ยี วกับความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าพร้อมท้งั นําเสนอสรุปจากแนวคดิ ของกลุ่มสอื่ การเรียน เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ 1. ใบความรู้ เรือ่ งความปลอดภัยในงานไฟฟา้ 2. สือ่ ของจรงิ 3. แผ่นใสสําหรับนาํ เสนอ/Power Point 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. เคร่ืองฉายโปรเจกเตอร์ 6. โทรทศั น์ลําดับข้นั การดาํ เนนิ งาน 1. แบง่ กลุม่ ตามความสมคั รใจกลมุ่ ละ 4 - 5 คน 2. แตล่ ะกลมุ่ อภปิ รายแนวคดิ เก่ียวกบั ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ 3. ให้แต่ละกลุ่มนําเสนอผลการอภิปรายแนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน้าช้ันเรยี นตามแบบประเมนิ ผลใบงานเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวมตามแบบประเมนิ ผลใบงาน ไมต่ า่ํ กวา่ รอ้ ยละ 60
42 แบบประเมินผลชื่อวิชา งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 1รหสั วชิ า 2100 - 1006 จํานวน 4 ชัว่ โมงหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าชือ่ งาน อภิปรายเร่อื งความปลอดภัยในงานไฟฟา้******************************************************************************************* แผนกวิชาช่างอเิ ล็กทรอนิกส์หัวข้ออภปิ ราย.........................................................ตามใบงานท่ี................คาบท่ี................ถึงคาบที่................ชอื่ กลมุ่ ................................................................ชอ่ื สถานศึกษา..............................................................................วนั ท่ี...........เดอื น..........................................พ.ศ. 25..................ชั้น ปวช. .............................................................สมาชกิ กล่มุ 1...................................................2..................................................3..................................................4...................................................5.................................................. รายการประเมนิ คะแนนเต็ม ผลคะแนน1. การแบง่ หนา้ ที่ 102. การทาํ งานเป็นทมี 103. ความรับผดิ ชอบ 104. การอภปิ รายกล่มุ 105. การแสดงความคดิ เหน็ 106. ความพรอ้ มในการนําเสนอ 107. บคุ ลกิ ในการนําเสนอ 108. ความชดั เจนของการนําเสนอ 109. การตอบขอ้ ซกั ถาม 1010. การสรุปประเด็นสาํ คัญ 10 รวมคะแนนทไ่ี ด้ 100หหมายเหตุ ลงชื่อ.............................................ผปู้ ระเมนิผลคะแนน ดี = 9 - 10 ,ปานกลาง = 7 - 8 (นายปรีดา ศรีลาศักด)์ิ .........../ .........../ ........... พอใช้ = 5 - 6 ,ปรับปรุง 3 = 4 คะแนนเตม็ รวม 100 คะแนน
43 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบคุ คล คาํ ช้ีแจง ใหท้ ําเครื่องหมาย / และหากนกั เรียนมพี ฤติกรรมนนั้ ลงในช่องรายการ พฤติกรรมท่ี ช่ือ-นามสกลุ ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรับ ทาํ งานตามที่ รวม ความคิดเห็น คาํ ถาม ฟังคนอ่ืน มอบหมาย 432143214321432143211234567891011121314151617เกณฑก์ ารวัดผล ใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดงั นี้ ดมี าก = 4 สนใจฟงั ไมห่ ลบั ไม่พดู คุยในช้ัน มคี ําถาม ตอบคาํ ถามถูก ทํางานสง่ ตามเวลา ดี = 3 พฤติกรรมการแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 70 เปอร์เซ็น ปานกลาง = 2 พฤติกรรมการแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 50 เปอร์เซ็น ปรบั ปรงุ = 1 เขา้ ช้นั เรียน แต่การแสดงออกน้อยมาก สง่ งานไมค่ รบ สง่ งานไม่ตรงเวลา ลงช่อื .............................................ผสู้ ังเกต (นายปรดี า ศรีลาศักดิ)์ .........../ .........../ ...........
44 บันทึกหลงั การสอนช่ือวชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 1รหสั วชิ า 2100 - 1006 จาํ นวน 4 ชว่ั โมงหน่วยท่ี 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ช่ืองาน อภปิ รายเร่อื งความปลอดภัยในงานไฟฟา้******************************************************************************************* บันทึกหลงั การสอนวนั ........................วนั ที่................เดอื น...........................................พ.ศ. ........................สอนคร้ังท่ี........................ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปัญหาและอุปสรรค...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื .............................................ครผู ้สู อน (นายปรีดา ศรลี าศกั ด์)ิ .........../ .........../ ...........
45ช่ือวิชา บนั ทกึ หลังการสอน (ต่อ) สอนครงั้ ท่ี 1รหัสวิชา งานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จํานวน 4 ชั่วโมง 2100 - 1006หน่วยท่ี 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ชอ่ื งาน อภปิ รายเรอ่ื งความปลอดภัยในงานไฟฟา้******************************************************************************************* บันทึกหลังการสอนชอ่ื ผูส้ อน............................................................................รหัส 2100 - 1006 งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ภาคเรียนท.่ี ........................................................ปกี ารศกึ ษา..................................................................................หอ้ งเรียน วนั /เดอื น/ปี เวลา บันทึกความคดิ เหน็ หมายเหตุ ลงชอื่ .............................................ครผู ู้สอน (นายปรดี า ศรลี าศักดิ์) .........../ .........../ ...........
46ชอื่ วชิ า บนั ทกึ หลังการสอน (ต่อ) สอนคร้ังท่ี 1รหสั วิชา งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ จํานวน 4 ชั่วโมง 2100 - 1006หน่วยท่ี 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าชือ่ งาน อภปิ รายเรอ่ื งความปลอดภัยในงานไฟฟา้******************************************************************************************* บนั ทกึ หลังการสอนขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ แผนก.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ............................................. (………………………………………) .........../ .........../ ...........ข้อเสนอแนะของรองผอู้ าํ นวยการฝา่ ยวิชาการ.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ............................................. (………………………………………) .........../ .........../ ...........ขอ้ เสนอแนะของผอู้ ํานวยการ.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ............................................. (………………………………………) .........../ .........../ ...........
47 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ งความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า*******************************************************************************************คาํ ช้แี จง ให้นกั เรยี นทําเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาํ ตอบ ก , ข , ค และ งทีเ่ ปน็ คาํ ตอบที่ถูกตอ้ งทส่ี ุดเพยี งคําตอบเดียว1. การสมั ผัสไฟฟ้าในลักษณะใด เป็นการสัมผสั ไฟฟ้าโดยออ้ ม ก. ขณะอาบนํ้าดว้ ยเครื่องทํานา้ํ อุ่น ข. ขณะเสียบปลั๊กเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ค. ขณะซอ่ มเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ง. ถูกทกุ ขอ้2. ขอ้ ใดคือสิง่ สาํ คญั ทต่ี ้องคํานึงถงึ เป็นอันดบั แรกในการปฏบิ ตั งิ านด้านไฟฟา้ ก. ความปลอดภัย ข. ความสะดวก ค. ความคมุ้ คา่ ง. ความประหยัด3. ขอ้ ใดคอื สง่ิ สําคญั ทคี่ วรปฏบิ ตั ิ กอ่ นการปฏิบตั ิงานเก่ียวกับไฟฟ้า ก. ศกึ ษาข้อมูลใหเ้ ข้าใจ ข. แขวนป้ายเตือน ค. ตัดกระแสไฟฟ้า ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู4. ข้อใดไมใ่ ช่ วิธกี ารชว่ ยเหลือผูป้ ระสบอันตรายจากไฟฟา้ ดูด ก. รบี ดงึ ผปู้ ระสบอันตรายออก ข. หาทางตัดทางเดินของไฟฟ้า ค. แจ้งการไฟฟ้าท่ีรับผิดชอบใหท้ ราบโดยเรว็ ง. ใช้ขวานดา้ มไมต้ ดั สายไฟ
485. ในกรณที ม่ี ผี ปู้ ระสบอนั ตรายกบั สายไฟฟา้ แรงสงู ผูใ้ ห้ความชว่ ยเหลือควรปฏบิ ัติอย่างไร ก. ตดั สวติ ชต์ ดั วงจรอัตโนมตั ิหรอื สวิตช์ประธาน ข. ลากตัวผ้ปู ระสบอนั ตรายให้พน้ จากส่งิ ที่มไี ฟฟา้ ค. ใชไ้ ม้แหง้ เขี่ยสายไฟฟ้าใหห้ ลดุ พน้ ออกจากตวั ผูป้ ระสบอันตราย ง. พยายามหลกี เลี่ยงอย่าเข้าไปใกล้และรบี แจง้ การไฟฟ้าท่รี ับผดิ ชอบ6. ขอ้ ใดหมายถงึ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ โดยมไิ ดว้ างแผนไวล้ ่วงหนา้ ก. Safety ข. Accident ค. Danger ง. Damage7. ขอ้ ใดคอื สาเหตุของการเกดิ อุบัติเหตทุ ่สี ูงทสี่ ดุ ก. คน ข. เครื่องจกั ร ค. ภยั ธรรมชาติ ง. ดวงชะตา8. เตาไฟฟา้ เตาอบ เตารดี ไฟฟา้ หม้อหุงขา้ วไฟฟา้ เปน็ การใชป้ ระโยชน์จากไฟฟ้าในดา้ นใด ก. ความร้อน ข. พลงั งานกล ค. อาํ นาจแมเ่ หล็ก ง. แสงสวา่ ง9. สภาวะท่ีกระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร โดยไม่ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองใช้ไฟฟ้า หรือภาระ(Load) คอื ข้อใด ก. ไฟฟา้ กระแสตรง ข. ไฟฟ้าช็อต ค. ไฟฟ้าดูด ง. ไฟฟา้ ร่วั
4910. ข้อใดตอ่ ไปนี้ เป็นการสัมผัสไฟฟ้าโดยตรง ก. A ถกู ฟ้าผ่าทกี่ ลางหลัง ข. B ถูกไฟดูดขณะเปล่ยี นลวดเชอ่ื ม ค. C โดนไฟดูดตอนใชไ้ ขควงซ่อมปล๊กั ไฟ ง. D โดนไฟดูดเพราะไม่ได้สวมรองเท้าปฏิบัติงาน
50 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ งความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า******************************************************************************************* กระดาษคาํ ตอบ แบบทดสอบหลังเรียน ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สรปุ คะแนนสอบหลงั เรียน 10
Search