Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore b-sc-32034-1

Description: b-sc-32034-1

Search

Read the Text Version

46 กิจกรรมที่ 1.3 จงอธบิ ายประโยชนของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร แนวคําตอบ วิธีการทางประวัติศาสตร มีประโยชนท้ังตอการศึกษาประวัติศาสตร จะทําใหได เร่อื งราวทางประวัติศาสตรท นี่ า เช่ือถือ ประโยชนอีกดา นหนงึ่ คอื ผูท่ีไดรบั การฝก ฝน การใชวิธีการ ทางประวัติศาสตรจะทําใหเปนคนละเอียด รอบคอบ มีการตรวจสอบเร่ืองราวตาง ๆ ที่ไดศึกษา รวมท้ังนํามาปรบั ใชในชวี ติ ประจาํ วนั ได โดยจะทาํ ใหเปนผูรูจักประเมินเหตุการณตาง ๆ วามีความ นาเช่ือถือมากนอยเพียงใด หรือกอนท่ีจะเช่ือถือขอมูลของใคร ก็นําวิธีทางประวัติศาสตรไป ตรวจสอบใหแนชัดกอน กจิ กรรมทายเรือ่ งท่ี 2 วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร กจิ กรรมท่ี 2.1 จงสรปุ วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร ทง้ั 5 ขน้ั ตอน มาพอสงั เขป แนวคําตอบ วธิ กี ารทางประวัติศาสตรมีอยู 5 ขัน้ ตอน คือ 1. การกําหนดหัวเรือ่ งทีจ่ ะศกึ ษา/การตัง้ ประเดน็ ท่จี ะศกึ ษา การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตรเร่ิมจากความสงสัย อยากรู ในคําอธิบาย เร่อื งราวที่มีมาแตเดิม ดงั นัน้ ผูศ ึกษาจึงเริ่มจากการกาํ หนดเร่ืองหรอื ประเด็นที่ตองการศึกษาซ่ึงใน ตอนแรก อาจกําหนดประเด็นท่ีตอ งการศึกษาไวกวาง ๆ กอน แลวจึงคอ ยจํากดั ประเด็นลงใหแคบ เพ่ือใหเกิดความชัดเจนในภายหลัง เพราะบางเรื่องขอบเขตของการศึกษาอาจกวางมากท้ัง เหตกุ ารณ บคุ คล และเวลา การกําหนดหัวเรื่องอาจเกยี่ วกบั เหตกุ ารณ ความเจรญิ ความเสอ่ื มของอาณาจักร และตวั บคุ คลในชวงเวลาใดเวลาหนงึ่ มคี วามยาวหรอื สัน้ ตามความเหมาะสม ซ่ึงผูศึกษาเห็นวาเปน ชวงเวลาท่ีสําคัญ และยังมหี ลกั ฐานขอมลู ทผ่ี ตู อ งการศกึ ษาหลงเหลืออยู หวั ขอ ของเร่ืองอาจปรับให มคี วามเหมาะสมหรอื เปล่ียนแปลงได ถาหากหลักฐานทใี่ ชใ นการศกึ ษามนี อ ยหรือไมนาเช่อื ถอื 2. การรวบรวมหลกั ฐาน/สบื คน และรวบรวมขอมลู การรวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวมหลักฐานท่ีเก่ียวของกับหัวขอท่ีจะศึกษา ซึ่งมที ัง้ หลกั ฐานท่ีเปน ลายลกั ษณอ ักษร และหลักฐานทไี่ มเ ปนลายลกั ษณอ กั ษร 3. การประเมนิ คณุ คาของหลกั ฐาน/การวิเคราะหแ ละตคี วามขอ มลู ทางประวตั ศิ าสตร หลักฐานทางประวัตศิ าสตรทค่ี นความาไดน นั้ กอนที่จะทําการศึกษาจะตองมีการ ประเมินคณุ คาวา เปน หลกั ฐานท่ีแทจ รงิ เพียงใด การประเมนิ คณุ คาของหลักฐานนเี้ รยี กวา “วพิ ากษ วิธที างประวัตศิ าสตร

47 4. การวเิ คราะห สงั เคราะห และจดั หมวดหมขู อ มลู เม่ือทราบวาหลักฐานนั้นเปนของแท มีขอมูลท่ีเปนขอเท็จจริงหรือความจริงใน ประวัติศาสตรผ ูศึกษาประวัตศิ าสตรก ็จะตอ งศึกษาขอมูลหรือขอ สนเทศในหลักฐานน้ันวาใหขอมูล ทางประวัตศิ าสตรอ ะไรบา ง ขอ มลู น้นั มคี วามสมบรู ณเพียงใด หรือขอมูลน้ันมีจุดมุงหมายเบ้ืองตน อยา งไร มจี ดุ มงุ หมายแอบแฝงหรือไม ขอมลู มคี วามยุติธรรมหรอื ไม จากนัน้ จึงนําขอ มลู ทัง้ หลายมา จัดหมวดหมู เชน ความเปนมาของเหตุการณ สาเหตุที่ทําใหเกิดเหตุการณความเปนไปของ เหตกุ ารณ ผลของเหตกุ ารณ เปนตน เม่ือไดข อมลู เปน เรอ่ื ง เปนประเด็นแลว ผูศึกษาประวัติศาสตรเร่ืองน้ันก็จะตอง หาความสัมพันธของประเด็นตางๆ และตีความขอมูลวามีขอเท็จจริงสวนใดที่ซอนเรน อําพราง ไมก ลา วถึงในทางตรงกนั ขามอาจมีขอ มลู กลา วเกนิ ความเปน จริง ในการวิเคราะห สังเคราะหขอมูล ผูศึกษาประวัติศาสตรควรมีความละเอียด รอบคอบ วางตัวเปน กลาง มีจินตนาการ มีความรอบรู โดยศกึ ษาขอมูลท้ังหลายอยางกวางขวาง และนําผลการศกึ ษาเร่ืองนน้ั ท่มี ีแตเ ดมิ มาวเิ คราะหเปรยี บเทียบ รวมท้งั จดั หมวดหมขู อมูลใหเ ปน ระบบ 5. การเรียบเรียงและการนาํ เสนอขอมลู /การเรียบเรียง รายงาน ขอเท็จจริงทาง ประวัติศาสตร ก า ร เ รี ย บ เ รี ย ง ห รื อ ก า ร นํ า เส น อ จั ด เ ป น ข้ั น ต อ น สุ ด ท า ย ข อ ง วิ ธี ก า ร ท า ง ประวตั ิศาสตร ซ่ึงมีความสาํ คญั มาก โดยผูศ ึกษาประวตั ิศาสตรจะตองนําขอมูลท้ังหมดมารวบรวม และเรียบเรยี งหรือนาํ เสนอใหต รงกบั ประเด็นหรอื หัวเรอ่ื งท่ตี นเองสงสัย ตองการอยากรเู พมิ่ เตมิ ทงั้ จากความรเู ดมิ และความรูใหม รวมไปถึงความคิดใหมที่ไดจากการศึกษาคร้ังนี้ ซึ่งเทากับเปนการ รือ้ ฟน หรอื จาํ ลองเหตกุ ารณทางประวัตศิ าสตรขึน้ มาใหม อยางถกู ตองและเปน กลาง ในขั้นตอนการนําเสนอ ผูศึกษาควรอธิบายเหตุการณอยางมีระบบและมีความ สอดคลอ งตอเน่ือง เปน เหตเุ ปนผล มีการโตแยง หรือสนับสนุนผลการศึกษาวิเคราะหแตเดิม โดยมี ขอมลู สนับสนนุ อยา งมีนาํ้ หนัก เปน กลาง และสรุปการศึกษาวา สามารถใหค าํ ตอบที่ผูศึกษามีความ สงสัย อยากรไู ดเพียงใด หรอื มีขอ เสนอแนะใหสําหรับผทู ี่ตองการศกึ ษาตอไปอยา งไรบาง จะเห็นไดวาวิธีการทางประวัตศิ าสตรเปน วธิ กี ารศึกษาประวตั ิศาสตรอ ยา งมรี ะบบ มีความระมัดระวัง รอบคอบ มีเหตุผลและเปนกลาง ซ่ือสัตยตอขอมูลตามหลักฐานที่คนความา อาจกลาวไดว า วธิ กี ารทางประวัติศาสตรเ หมือนกับวิธีการทางวิทยาศาสตร จะแตกตางกันก็เพียง วิธีการทางวิทยาศาสตรสามารถทดลองไดหลายคร้ัง จนเกิดความแนใจในผลการทดลอง แต เหตุการณทางประวัติศาสตรไมสามารถทําใหเกิดขึ้นใหมไดอีก ผูศึกษาประวัติศาสตรท่ีดีจึงเปน ผูฟนอดีตหรือจําลองอดีตใหมีความถูกตองและสมบูรณที่สุด โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร เพอื่ ที่จะไดเกิดความเขาใจอดีต อนั จะนํามาสูค วามเขาใจในปจ จุบัน

48 กจิ กรรมที่ 2.2 ตัวอยา งการใชวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม าใชใ นการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ ทย คาํ ชแ้ี จง จากการศึกษา กรณศี ึกษาเรอื่ งราวเกีย่ วกับปอ มพระจลุ จอมเกลา จงั หวดั สมทุ รปราการ ดวยวิธกี ารทางประวตั ิศาสตรใ หผ ูเรียนสรุปสาระสาํ คญั การนาํ วิธีการทางประวตั ิศาสตร มาใชในการศึกษาประวตั ศิ าสตรไทยโดยสังเขป แนวคาํ ตอบ การศกึ ษาเรือ่ งราวเกยี่ วกับปอ มพระจลุ โดยใชวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร มีดังน้ี ปอมพระจุลจอมเกลา เร่มิ สรางเมือ่ พ.ศ. 2427 ในสมัยพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว สรางข้ึนไว บริเวณปากแมนา้ํ เจา พระยาฝงขวาตําบลแหลมฟาผา อาํ เภอพระสมุทรเจดีย จังหวดั สมทุ รปราการ มีวัตถุประสงคเพ่ือสกัดกั้นการรุกรานของกองเรือตางชาติที่จะรุกลํ้าเขามาบริเวณปากแมนํ้า เจา พระยา ปอมพระจุลจอมเกลามีลักษณะการสรางเปนปอมปนใหญแบบตะวันตก ประกอบดวย หลมุ ปน ใหญจ ํานวน 7 หลุม ตดิ ต้ังปนอารม สตรองขนาด 155 มลิ ลิเมตร เรียกวา “ปนเสือหมอบ” ซึ่งส่ังมาจากประเทศอังกฤษ ภายในประกอบดวยคูหาและหองสําหรับเก็บกระสุนปนใหญ มีการ ออกแบบปอ มเพือ่ ลดการสญู เสยี เมอื่ ถูกโจมตดี วยการยิงจากปนใหญจ ากฝา ยตรงขาม ครน้ั เม่อื เกดิ เหตุการณวกิ ฤตกิ ารณ ร.ศ. 112 เม่อื พ.ศ. 2436 ในชวงท่ีมหาอํานาจตะวันตก พยายามคกุ คามประเทศไทย ปอ มพระจุลจอมเกลามีบทบาทสําคัญในการสกัดก้ันการรุกรานของ กองเรือฝร่ังเศส จํานวน 3 ลํา ท่ีเขามาบรเิ วณปากแมนํ้าเจาพระยา เกิดการตอสูกันและทหารที่ ปอมพระจลุ จอมเกลาสามารถยิงเรือรบฝร่งั เศสจนเกยตื้นได 1 ลํา เรือรบที่เหลือของฝรัง่ เศสไดรับ ความเสียหายแตส ามารถฝาเขา ไปจนถงึ กรงุ เทพมหานครได ปจจุบันปอมพระจุลจอมเกลาอยูในความดูแลของกองทัพเรือ โดยฐานทัพเรือกรุงเทพ ซงึ่ ไดเปดใหป ระชาชนทั่วไปเขาไปเท่ียวชมและศึกษาเรื่องราวท่ีสําคัญทางประวัติศาสตรของชาติ ตลอดจนชมทัศนยี ภาพของระบบนิเวศท่อี ยโู ดยรอบปอมพระจุลจอมเกลา กิจกรรมที่ 2.3 การใชว ิธีการทางประวตั ศิ าสตรใ นการศกึ ษาเร่ืองราวทางประวตั ศิ าสตรท ส่ี นใจ คําชีแ้ จง ใหศ กึ ษาประวัติศาสตรของชุมชนหรือพื้นบา น/ทอ งถิ่น หรอื สถานท่สี าํ คญั /บคุ คลสาํ คัญ หรือเหตุการณ/เรอื่ งราวทสี่ ําคัญ ตามความสนใจ จาํ นวน 1 เรอื่ ง โดยใชขน้ั ตอนและ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร แลวบันทึกลงในแบบดา นลาง แนวคําตอบ การกําหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา สามารถกําหนดไดตามความสนใจของแตละบุคคล อยา งอิสระ โดยอาจเปน เรื่องเก่ยี วกบั ประวัติหรือตํานานของในชุมชน/พ้ืนบาน ของแตละทองถิ่น หรือเปนสถานที่สําคัญ บุคคลสําคัญ เหตุการณหรือเรื่องราวสําคัญท่ีเกิดข้ึน ฉะนั้น จึงมีความ แตกตางกันไป แตขอใหยึดวิธีการทางประวัติศาสตร ทั้ง 5 ขั้นตอน ในการดําเนินกิจกรรม ทั้ง ผลสรุปสดุ ทา ย ที่จะไดเปนคําตอบของประเด็นหรอื การกําหนดปญหาในขั้นตอนที่

49 หนวยการเรียนรูท่ี 3 พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยไ ทยสมัยรัตนโกสินทร กิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตรยิ ไ ทยสมัยรตั นโกสนิ ทร กิจกรรมที่ 1.1 ใหผ ูเรียนอธบิ ายพระราชกรณียกจิ ทส่ี าํ คัญ ๆ ของพระมหากษตั ริยไ ทย สมยั รตั นโกสนิ ทรด ังน้ี 1. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) แนวคําตอบ พระองคทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจเพ่ือทํานุบํารุงบานเมืองใหเจริญรุงเรือง นานปั การ โดยเฉพาะในดานราชการสงคราม ซงึ่ ไดรบั ชัยชนะจากสงครามเกาทพั ทม่ี ียทุ ธวธิ ีการรบ ของกองทพั ไทยท่มี กี ําลังพลนอยกวา ขาศกึ ทย่ี กมา นอกจากนพี้ ระองคโ ปรดใหชาํ ระพระราชกาํ หนด กฎหมายท่ีเรียกวา กฎหมายตราสามดวง นอกจากน้ีพระองคโปรดเกลาฯ ใหมีการสังคยานา พระไตรปฎก 2. พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั (รชั กาลท่ี 5) แนวคาํ ตอบ พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวที่สําคัญ ๆ คือทรง เลิกทาส ทรงพระราชดําริเร่ิมจัดการศึกษาในทุกระดับ ทรงตั้งโรงเรียนของหลวงขึ้น เพ่ือให การศกึ ษาแกท กุ ช้นั พระราชกรณียกิจที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการปฏิรูประบบการเงินการคลังของ ประเทศและการปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดิน โดยทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน ทรงยกเลิก ระบบเสนาบดีแบบเดิม แลวแบงราชการเปนกระทรวงจํานวน 12 กระทรวง นอกจากนี้ยังมี พระราชกรณียกจิ ดา นการสาธารณปู โภคและสาธารณสุข โปรดเกลาฯ ใหท ดลองจัดการสุขาภิบาล หัวเมืองขึ้นเปนแหงแรกที่ตําบลทาฉลอม เมืองสมุทรสาคร โปรดเกลาฯ ใหสรางทางรถไฟหลวง สายแรกระหวางกรงุ เทพฯ - นครราชสีมา และเริม่ กิจการดา นไฟฟา ประปา และโทรเลข สวนดาน การสาธารณสุข โปรดเกลา ฯ ใหกอตั้งโรงพยาบาลข้นึ เปนแหง แรก พระราชทานนามวา “โรงศริ ิราช พยาบาล” ปจจุบนั คือ “โรงพยาบาลศริ ริ าช”

50 3. พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) พระราชกรณียกิจที่สําคัญ ๆ ดานการพัฒนาท่ีสําคัญ คือ การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม นอกจากน้ียังมีแนวพระราชดําริดานการเกษตรท่ีสําคัญ คือ “ทฤษฎใี หม” เปนการใชประโยชนจ ากพ้นื ท่ที ีม่ อี ยูจ ํากัดใหเ กิดประโยชนสูงสดุ และในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปญหาภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า พระองคได พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตใหแกราษฎร เปนผลใหเกิดการพัฒนาสังคมและทรัพยากรบุคคลอยางมั่นคง ย่ังยืน และสงบสุข นอกจากนี้ พระองคย ังทรงมพี ระปรีชาสามารถในศาสตรสาขาตาง ๆ ซ่ึงสงผลตอการพัฒนาทั้งสิ้น ทั้งในดา น การประดิษฐ ไดแก การประดิษฐ “กังหนั ชยั พฒั นา” ซึ่งเปน เครอ่ื งกลเตมิ อากาศแบบทุน ลอย นอกจากน้พี ระองคทรงเช่ยี วชาญในภาษาหลายภาษา ทรงพระราชนพิ นธบ ทความ แปลหนงั สอื เชน นายอนิ ทรผ ูปดทองหลงั พระ ตโิ ต พระมหาชนก และพระมหาชนก ฉบับการตูน เปนตน งานทางดานดนตรี พระองคทรงพระปรีชาสามารถเปนอยางมาก และรอบรูในเร่ืองการ ดนตรเี ปนอยา งดี พระองคทรงดนตรไี ดห ลายชนิด เชน แซ็กโซโฟน คลาริเนต็ ทรมั เปต กีตาร และ เปย โน และพระองคยังไดประพันธเพลงที่มีความหมายและไพเราะหลายเพลงดวยกัน เชน เพลง พระราชนิพนธแสงเทียน เปน เพลงแรก นอกจากนี้ยังมเี พลง สายฝน ยามเยน็ ใกลรุง ลมหนาว ยิ้มสู สายลม คาํ่ แลว ไกลกังวล ความฝน อนั สงู สุด เราสู และเพลงพรปใหม เปนตน กิจกรรมทายเรือ่ งท่ี 2 คุณประโยชนของบุคคลสาํ คญั คาํ ชีแ้ จง 1. 1 ใหผ เู รยี นอธิบายความสมั พนั ธข องบคุ คลกบั คณุ ประโยชนท ี่มีตอ ประเทศชาติ แนวคาํ ตอบ คณุ ประโยชนทมี่ ตี อ ประเทศชาติ บุคคลสาํ คญั ทานไดร วบรวมครอบครวั ชายหญิงชาวเมืองนครราชสมี าเพอื่ ตอสูก ับขาศกึ ในคราวท่ีเจา อนุวงศ แหง นครเวียงจนั ทนจ ะยกทพั ทา วสรุ นารี เขา มาตีกรุงเทพฯ โดยผา นเมืองนครราชสมี า พระองคไดน ําความเจริญของตะวนั ตกท้งั ทางดานศลิ ปะวิทยาการ สมเดจ็ เจา พระยาบรม และเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช ท้งั นี้พระองคยังไดส ง เสรมิ ใหม กี าร มหาศรสี รุ ิยวงศ (ชว ง บนุ นาค) แปลพงศาวดารจีนเปน ภาษาไทย การสรางถนน ขดุ คูคลอง การสรา งปอมปราการ

51 บคุ คลสาํ คญั คณุ ประโยชนทมี่ ตี อ ประเทศชาติ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอ ทรงตั้งหนว ยงานใหมข นึ้ ในกระทรวงมหาดไทย เชน กรมตํารวจ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ กรมปา ไม กรมพยาบาล ทรงนิพนธงานดานประวัตศิ าสตร โบราณคดี และศิลปวัฒนธรรมจาํ นวนมาก โดยทรงใชว ธิ ีสมยั ใหม ในการศกึ ษาคน ควา ประวตั ศิ าสตรแ ละโบราณคดี จนไดรบั การ ยกยองวา เปน บิดาทางโบราณคดแี ละประวตั ศิ าสตรไทย คาํ ช้แี จง 1.2 ใหผูเ รียนวเิ คราะหวรี กรรม/คณุ ประโยชนข องบคุ คลสาํ คญั ท่มี ปี ระโยชนต อ การพฒั นา ชาตไิ ทย 1. ทา วสรุ นารี แนวคําตอบ ทา นคณุ หญงิ โม (ทา วสรุ นารี) เปน ภรรยาพระยาปลัดเมืองนครราชสีมา ซ่งึ รบั ราชการ อยทู ่นี ครราชสมี า รวบรวมกําลงั คนตอสูกับเจาอนวุ งศ ผคู รองนครเวยี งจันทน ทคี่ ิดกบฏตอ ไทย โดยจะ ยกทัพไปตกี รงุ เทพฯ ทา นคุณหญงิ โม คดิ วางแผนกบั ผูนําฝายชายและกรมการเมือง ออกอุบายขอ อาวธุ เชน มีด ขวาน ปน เพ่อื จะไดเอาไปลาเนอื้ หาอาหาร แตกลับเอาอาวุธท่ีไดเตรียมมาไปตอสู กบั กองทัพลาว และสามารถฆาฟนศัตรตู ายเปน จํานวนมาก จากชัยชนะครั้งน้ีทําใหเจาอนุวงศเกิด ความกลวั ไมก ลายกทัพลงมากรุงเทพฯ ไดถอยทพั และถูกจบั ตัวมาลงโทษ ณ กรงุ เทพฯ จากวีรกรรมของคณุ หญงิ โมทไ่ี ดรวบรวมชายหญิงชาวเมืองนครราชสีมาตอสูขาศึก ศัตรูจนไดชัยชนะ จึงเปนเหตุใหเจาอนุวงศไมสามารถยกทัพไปถึงกรุงเทพฯ ได พระบาทสมเด็จ พระนง่ั เกลา เจาอยหู วั ทรงพระกรณุ าพระราชทานบําเหน็จความดคี วามชอบแตงต้งั เปน “ทา วสรุ นาร”ี 2. สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ แนวคาํ ตอบ สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ จากผลงานทสี่ ําคญั ของสมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ มดี งั น้ี ดานการศึกษา ทรงปรบั ปรงุ งานดา นการศึกษาใหท นั สมยั เชน กาํ หนดจุดมุงหมาย ทางการศึกษาใหสอดคลอ งกบั ความตองการของประเทศ ไดแก ฝกคนเพ่ือเขารับราชการ กําหนด หลกั สตู ร เวลาเรยี นใหเ ปนแบบสากล มกี ารตรวจคดั เลือกหนังสอื เรยี น กาํ หนดแนวปฏิบัติราชการ ในกรมธรรมการ และรเิ ร่มิ ขยายการศึกษาออกไปสูราษฎรสามัญชน เปน ตน

52 ดานการปกครอง ทรงมบี ทบาทสําคัญในการวางรากฐานระบบการบริหารราชการ แผน ดนิ สวนภูมภิ าคแนวใหม โดยยกเลิกการปกครองที่เรียกวา “ระบบกินเมือง” แลวเปล่ียนเปน การรวมเมืองใกลเ คยี งกันตงั้ เปน “มณฑล” นอกจากน้ียังตัง้ หนวยงานใหมขนึ้ ในกระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาท่ีดูแลทุกขสุขราษฎร เชน กรมตํารวจ กรมปาไม กรมพยาบาล เปนตน ซ่ึงทรงให ความสําคญั แกก ารตรวจราชการเปนอยางมาก เพราะตองการเห็นสภาพความเปนอยูท่ีแทจริงของ ราษฎร ดูการทาํ งานของขาราชการ และเปนขวญั กาํ ลังใจแกข า ราชการหวั เมืองดว ย ดานงานนพิ นธ ทรงนิพนธง านดา นประวตั ิศาสตร โบราณคดี และศลิ ปวัฒนธรรมไว เปน จํานวนมาก โดยทรงใชว ิธีสมยั ใหมใ นการศึกษาคนควาประวัติศาสตรและโบราณคดี จนไดรับ การยกยอ งวาเปน บิดาทางโบราณคดีและประวตั ศิ าสตรไทย

53 หนวยการเรยี นรทู ่ี 4 มรดกไทยสมยั รัตนโกสินทร กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของมรดกไทย กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรียนอธบิ ายความหมายและความสําคญั ของมรดกไทย 1.1 จงใหค วามหมายของคาํ วา “มรดกไทย” แนวคําตอบ มรดกไทย หมายถงึ 1. เอกลกั ษณท บ่ี ง บอกความเปนชาตไิ ทยหรือ 2. มรดกทางวฒั นธรรมทแี่ สดงออกถึงสัญลักษณข องความเปน ชาติ 1.2 มรดกไทยมคี วามสําคัญอยา งไร แนวคําตอบ เปนส่ิงที่บงบอกความเปนเอกลักษณของชนชาตไิ ทย เปนสิ่งที่แสดงให เหน็ ถึงความเจรญิ รงุ เรืองของประเทศไทย ตัง้ แตอ ดีตจนถึงปจจุบัน มรดกไทยเปนสิ่งที่บงบอกใหรู ประวตั ิศาสตรค วามเปน มาของชนชาติ ของเผาพันธุทองถิ่น รูถึงเกียรติความภาคภูมิใจของคนใน ชาติและเปน ส่งิ ที่กอใหเกดิ ความสามัคคี เปน อันหน่งึ อนั เดยี วกันของคนในชาติ กิจกรรมท่ี 2 วเิ คราะหอิทธพิ ลของมรดกไทยตอ การพฒั นาประเทศในดา นตา ง ๆ ดงั น้ี 2.1 ดานสถาปต ยกรรม แนวคาํ ตอบ เปน สถาปตยกรรมแบบตะวนั ตก บานเรอื นเปล่ียนรูปตึกกออิฐปูนชั้นเดียว หลังคาหนาจั่ว มีการวางผงั แบบสากล มกี ารกน้ั หองขา งหนา หองรับแขก หอ งน่งั เลน หองรบั ประทาน อาหาร การปรับเปล่ียนอาคารไทยตองปรบั เปล่ียนสถาปต ยกรรมใหกับตะวันตก เพื่อความเปนเอกราช ของไทย 2.2 ดานประติมากรรม แนวคาํ ตอบ ความเจริญดานเทคโนโลยี อารยธรรมของชาตติ ะวนั ตกทห่ี ลงั่ ไหลเขา มา ในประเทศไทยทาํ ใหเ กดิ การเปล่ียนแปลงของสงั คมไทย และการสรางงานประตมิ ากรรม การสราง งานศิลปกรรมที่อยูในความดูแลของราชสํานักเปลี่ยนมาอยูในความดูแลของคณะรฐั บาล มีการ กอตัง้ โรงเรยี นประณีตศิลปกรรม (มหาวิทยาลัยศิลปากร) มีการเรียนการสอนทางดานจิตรกรรม และประติมากรรม ทําใหผ ลงานดา นประตมิ ากรรมพัฒนาเขา สรู ปู แบบของศลิ ปะรว มสมัย เปนการ แสดงออกทางดานการสรางสรรคงานศิลปะที่แสดงออกจึงเปนสัญลักษณที่สะทอนถึงเอกลักษณ ใหมของวัฒนธรรมไทย

54 2.3 ดานจติ รกรรม แนวคาํ ตอบ ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เลาเรอ่ื งราวทางศาสนา ความเชื่อตาง ๆ ไมได จํากัดอยูในวัดกับวังเหมือนในอดีต แตไดมีการนําไปประดับตกแตงอาคารสถานท่ีเพ่ือใชในการ ส่ือสาร โฆษณาประชาสัมพันธอยางแพรหลายผานสื่อตาง ๆ ภาพจิตรกรรม เปนภาพเกี่ยวกับ ศาสนาและเอกลักษณของไทย เปนภาพที่มแี นวคิดสะทอนสงั คม ตลอดจนเทคนิคในการสรางสรรค งานจิตรกรรม มีความหลากหลายและมกี ารนาํ เอาเทคโนโลยสี มัยใหมม าใชใ นการนาํ เสนอ 2.4 ดา นวรรณกรรม แนวคําตอบ วรรณกรรมทําใหรูเรื่องราวของประเทศที่ใกลเคียงกับไทย ทําให ประชาชนมคี วามกลาหาญ เชนเรือ่ งรามเกียรต์ิ สามกก เปนตน วรรณกรรมจะเปนบทเรียนกระตุน ความรสู กึ ชาตินยิ ม และใชเปน เคร่ืองมอื สรา งจิตสาํ นึกความเปนชาติ และความเปนเอกภาพของ คนไทย 2.5 ดานดนตรแี ละนาฏศลิ ป แนวคาํ ตอบ สะทอ นภาพชีวิตและสังคมไทยในอดตี มองเหน็ ภาพสงั คมและคานิยม ของผูคนสมัยตา ง ๆ พัฒนาทางดา นศลิ ปะการใชภ าษา 2.6 ดานประเพณแี ละความเชอ่ื แนวคําตอบ เปน สิ่งแสดงใหเห็นวฒั นธรรมความเจริญรุง เรอื งของประเทศชาตใิ นแตล ะ ยุคสมยั กิจกรรมท่ี 3 ยกตวั อยา งมรดกไทยในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร คําช้ีแจง ใหผ ูเรียนยกตวั อยางมรดกไทยของกรุงรตั นโกสินทร แนวคาํ ตอบ 1. พระท่ีน่งั ในพระบรมมหาราชวงั เชน พระทนี่ ัง่ ไพศาลทักษิณ พระทนี่ ง่ั อมั รนิ ทรวนิ จิ ฉยั พระวิหารที่วดั พระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เปน ตน 2. โลหะปราสาทวัดราชนดั ดา พระปรางคว ัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร ภเู ขาทอง ทีว่ ดั สระเกศ 3. ลลิ ิตตะเลงพา ย ไตรภูมิโลกวินิจฉยั สุภาษิตสอนหญงิ โคลงสยามานุสสติ ฯลฯ

55 หนว ยการเรยี นรูท่ี 5 การเปล่ียนแปลงของชาตไิ ทยสมยั รัตนโกสนิ ทร กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 1 เหตกุ ารณส าํ คัญทางประวัตศิ าสตรท่ีมผี ลตอ การพัฒนาชาติไทย กจิ กรรมที่ 1 จงตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. จงอธิบายถงึ ปจ จยั ทีค่ วรพิจารณาเปนสงิ่ แรกในการสถาปนาแตล ะอาณาจกั ร แนวคาํ ตอบ ปจจยั ในการพจิ ารณาเปนสิ่งแรกในการสถาปนาอาณาจักร ไดแก ปจ จยั ทางดานภมู ิศาสตร ปจ จัยทางดานการเมือง 2. จงอธิบายความหมายของแตล ะปจ จยั ตอไปนี้ ตามความเขาใจของทานมาพอสงั เขป แนวคําตอบ 2.1 ปจจัยทางดานภูมศิ าสตรใ นการจะสถาปนาอาณาจกั รเราควรพิจารณาจากพ้ืนที่ และบรเิ วณโดยรอบวาเหมาะสมตอ การดํารงชวี ิตของประชาชนหรอื ไมเชน ภมู ิอากาศ การทาํ มาหากนิ ฯลฯ 2.2 ปจจัยทางดานการเมอื งในการจะสถาปนาอาณาจักรเราควรพิจารณาจากความไดเปรียบ เสียเปรยี บของที่ตงั้ ท่ีสงผลตอ การถกู รกุ รานของขา ศกึ /ศัตรู หรือเปน สมรภมู กิ ารรบ 3. แมน ํา้ หลักทส่ี าํ คญั ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยาหมายถงึ แมน า้ํ สายใดบา ง แนวคําตอบ แมนํ้าเจา พระยา แมน า้ํ ลพบรุ ี และแมน ํา้ ปาสกั 4. จงบอกจดุ เดนของปจ จยั ในการพิจารณาสถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร แนวคําตอบ 1. ตง้ั บนรมิ ฝงแมนาํ้ เจาพระยา เหมาะแกการใชเปน เสนทางคมนาคม 2. มีพนื้ ทรี่ าบลมุ กวา งใหญ เหมาะแกก ารเพาะปลูก 3. ใกลปากอา วไทย เหมาะสมในการติดตอ การคากับชาวตางประเทศ

56 กจิ กรรมที่ 2 สนธสิ ญั ญาเบาวร ิ่ง คําช้ีแจง จงทําเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และทําเครื่องหมาย หนาขอความ ท่ไี มถ ูกตอ ง แนวคาํ ตอบ  1. สนธสิ ญั ญาเบาวริง่ เกิดขน้ึ ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว รัชกาลท่ี 4  2. สนธสิ ญั ญาเบาวร ่ิง เปน สนธสิ ญั ญาระหวา งประเทศสยามกบั เซอรจอหน เบาวร ่ิง  3. เซอรจอหน เบาวร่ิง เปน ชาวองั กฤษ  4. สนธิสัญญาเบาวรงิ่ อนญุ าตใหช าวตา งประเทศสามารถถือครองท่ีดินไดท ุกที่ ภายในประเทศสยามหากมีความตองการ  5. ฝนเปน สินคาท่ีตองเสยี ภาษีขาเขาและตองขายใหกับเจา ภาษเี ทา นั้น  6. กงสุลที่เกดิ ตามสนธสิ ญั ญาเบาวริ่ง มหี นา ทใี่ นการพจิ ารณาคดีความชาวอังกฤษ และรวมพิจารณาในคดคี วามทีช่ าวอังกฤษมีคดคี วามกบั ชาวไทย  7. ขาว เกลือ และปลา เปน สินคาตองหาม หามสงออกนอกประเทศ  8. ผลของการทําสนธิสญั ญาเบาวร ่ิงใหสทิ ธิเสรีภาพในการถอื ครองทด่ี นิ แกร าษฎรไทย และชาวตา งประเทศ  9. การขายสนิ คา ทม่ี ีคา เชน ไมฝ าง ไมกฤษณา งาชาง เปน ตน รฐั บาลใหส ทิ ธิ์ราษฎร ซื้อขายไดอ ยา งอสิ ระ เปนผลมาจากการทําสนธสิ ญั ญาเบาวริง่  10. จงั กอบ ภาษีปา ภาษีปากเรอื เปนภาษีสง ออก กจิ กรรมท่ี 3 การปฏิรปู การปกครองในสมยั รชั กาลท่ี 5 4. ก 5. ข 9. ข 10. ง คําชแ้ี จง ใหเ ลือกคําตอบท่ีถกู ตองท่สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดียว แนวคาํ ตอบ 1. ง 2. ข 3. ค 6. ก 7. ง 8. ค

57 กิจกรรมที่ 4 การเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. กอนการเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ประเทศไทยใชร ะบอบการปกครองแบบใด แนวคําตอบ ระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย 2. หวั หนา คณะราษฎรทที่ ําการเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 คือใคร แนวคาํ ตอบ พนั เอกพหลพลพยหุ เสนา 3. นายกรัฐมนตรคี นแรกของประเทศไทยคอื ใคร แนวคาํ ตอบ นายมโนปกรณนิตธิ าดา 4. การเปลย่ี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ตรงกบั รชั กาลใด แนวคาํ ตอบ รชั กาลท่ี 7 5. คณะราษฎรมจี ํานวนก่ีคนประกอบดว ยใครบาง แนวคําตอบ จํานวน 7 คน ประกอบดว ย 1. หลวงสริ ริ าชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี) ผูชว ยราชการสถานทูตสยามในประเทศฝรง่ั เศส 2. รอยโทประยรู ภมรมนตรี นกั เรียนวิชารฐั ศาสตร ประเทศฝรัง่ เศส 3. รอ ยโทแปลก ขตี ตะสงั คะ นกั เรยี นวชิ าทหารปนใหญ ประเทศฝรัง่ เศส 4. รอ ยตรีทศั นัย มติ รภกั ดี นักเรยี นวิชาทหารมา ประเทศฝรัง่ เศส 5. นายปรีดี พนมยงค นักเรียนวชิ ากฎหมาย ประเทศฝร่งั เศส 6. นายแนบ พหลโยธิน นกั เรยี นวชิ ากฎหมาย ประเทศองั กฤษ 7. นายต้ัว ลพานุกรม นักเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร ประเทศสวติ เซอรแ ลนด 6. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู วั รชั กาลท่ี 7 ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกใหแก ปวงชนชาวไทยเมอื่ ใด แนวคาํ ตอบ วนั ที่ 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475

58 7. แผนการศึกษาแหงชาติ เรมิ่ ใชเมื่อใด และแบงออกเปนกี่ประเภทอะไรบาง แนวคาํ ตอบ เร่ิมใชเมื่อ พ.ศ. 2479 โดยแบง ออกเปน 2 ประเภท ไดแก สายสามญั ศกึ ษา และสายอาชวี ศกึ ษา 8. ประเทศใดทไ่ี ทยใชเ ปน ตน แบบในการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แนวคําตอบ ประเทศองั กฤษ 9. หลกั 6 ประการของคณะราษฎร มีอะไรบา ง แนวคาํ ตอบ 1. จะตอ งรักษาความเปนเอกราชทั้งหลาย 2. จะตองรักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. จะตอ งบํารงุ ความสมบรู ณข องราษฎรในทางเศรษฐกจิ ไทย 4. จะตอ งใหร าษฎรไดม สี ทิ ธเิ สมอภาคกัน 5. จะตอ งใหร าษฎรไดม ีเสรภี าพ มคี วามเปนอสิ ระ 6. จะตอ งใหม กี ารศึกษาอยา งเตม็ ท่แี กร าษฎร 10. พระราชบญั ญัติธรรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามช่ัวคราวท่ีเตรยี มขึน้ ทลู เกลา ถวาย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยูหัว รัชกาลท่ี 7 ทรงลงพระปรมาภไิ ธย มี กฉี่ บบั อะไรบา ง แนวคาํ ตอบ มี 2 ฉบบั ไดแ ก 1. พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญการปกครองแผน ดนิ สยามช่วั คราว พ.ศ. 2475 2. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475

59 กจิ กรรมท่ี 5 ความเปน ชาตไิ ทยในสมัย จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม คําชี้แจง จงทําเคร่ืองหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และทําเครื่องหมาย  หนาขอความ ทไี่ มถูกตอง แนวคาํ ตอบ  1. ช่อื “แปลก” เน่ืองจากเม่ือแรกเกิด บดิ า มารดา เห็นวาหูทง้ั สองขา งอยตู ่ํากวา นยั นต า ผดิ ไปจากบคุ คลอ่นื  2. จอมพล ป. พบิ ูลสงครามเกิดในสมยั รัชกาลที่ 4  3. คําขวญั ทีว่ า “ไทยทาํ ไทยใช ไทยเจรญิ ” เกดิ ข้นึ ในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม  4. รฐั นยิ ม เปน การทําตามความเห็นของคนสว นใหญ  5. นโยบายรฐั นิยม เกดิ ขนึ้ ในชวง พ.ศ. 2480 มีทงั้ หมด 12 ฉบบั  6. รัฐนิยม ฉบับที่ 5 วาดว ยเร่ืองใหช าวไทยใชเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคทท่ี ําในประเทศไทย  7. รัฐนยิ ม ฉบบั ท่ี 9 วา ดว ยเรือ่ งวัฒนธรรมการแตง กาย  8. ชาวไทยผปู ระกอบการพาณิชย งานอาชีพ ควรปรับปรุงใหม มี าตรฐานและคณุ ภาพดยี งิ่ ขนึ้ พรอ มทั้งดาํ เนนิ กิจการดวยความซื่อสัตย เปนทีป่ รากฏในรัฐนิยม ฉบบั ที่ 5  9 คนไทยมที าํ นองและเน้ือรอ งเพลงชาตแิ ละเคารพธงชาติ ปรากฏในรฐั นิยม ฉบบั ท่ี 6  10. การกาํ หนดใหค นไทยรจู ักหนาทพ่ี ลเมอื งท่ดี ี และการเปน พลเมอื งทีด่ ขี องไทย ปรากฏในรฐั นยิ ม ฉบบั ที่ 6 กิจกรรมทายเร่อื งท่ี 2 ตัวอยางการวเิ คราะหแ ละอภปิ รายเหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตร ที่มผี ลตอการพฒั นาชาตไิ ทย คาํ ช้แี จง ใหวเิ คราะหพ รอมอธบิ ายเหตกุ ารณต อไปนว้ี าสง ผลตอ การพัฒนาชาตไิ ทย 1. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู วั ทรงปฏริ ูปการศกึ ษา แนวคําตอบ ผลการปฏิรูปการศึกษา ทาํ ใหคนไทยบางกลมุ ทไ่ี ดร บั การศึกษาตามแบบชาติตะวันตก เรม่ิ มีกระแสความคิดเกี่ยวกับการเมอื งสมยั ใหม ที่ยึดถอื รัฐธรรมนูญเปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครอง ประเทศ และมคี วามปรารถนาที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองเกดิ ขึน้ ในประเทศไทย

60 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ค 16. ค 2. ค 17. ค 3. ง 18. ก 4. ก 19. ค 5. ก 20. ง 6. ง 21. ค 7. ค 22. ค 8. ข 23. ค 9. ค 24. ข 10. ข 25. ข 11. ง 26. ข 12. ก 27. ง 13. ข 28. ก 14. ง 29. ค 15. ข 30. ข

61 คณะทป่ี รกึ ษา คณะผจู ัดทํา นายกฤตชยั อรุณรตั น เลขาธิการ กศน. นางสาววเิ ลขา ลสี ุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. นางรงุ อรณุ ไสยโสภณ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั คณะทาํ งาน ขา ราชการบาํ นาญ นางกมลวรรณ มโนวงศ โรงเรียนฤทธณิ รงคร อน กทม. นายปวิตร พุทธริ านนท ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทยั นายจริ พงศ ผลนาค ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอบา นผอื จงั หวดั อดุ รธานี นางสารอรพร อนิ ทรนฎั ผูอํานวยการ กศน.อําเภอเมอื งแมฮ อ งสอน นางมัณฑนา กาศสนกุ จงั หวดั แมฮ องสอน ศูนยว งเดือนอาคมสรุ ทัณฑ จังหวดั อทุ ัยธานี นางสาวอนงค ชชู ยั มงคล กศน.อาํ เภอเมอื งกาํ แพงเพชร จงั หวดั กาํ แพงเพชร นางสาวพจนีย สวสั ดร์ิ ัตน กศน.อําเภอสนั ปา ตอง จังหวดั เชียงใหม นายโยฑิน สมโณนนท กศน.อาํ เภอเมอื งอํานาจเจรญิ จังหวดั อาํ นาจเจรญิ นางมยรุ ี ชอ นทอง กศน.อาํ เภอเมอื งอาํ นาจเจรญิ จงั หวัดอาํ นาจเจรญิ นางสาวหทยั รตั น ศริ แิ กว กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางเยาวรตั น ปนมณวี งศ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางกมลทิพย ชว ยแกว กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางสกุ ญั ญา กุลเลิศพทิ ยา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสาววยิ ะดา ทองดี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางสาวชมพนู ท สังขพ ิชยั

62 คณะบรรณาธกิ าร ขา ราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ นางสาวพิมพาพร อนิ ทจกั ร นางสาวชนติ า จติ ตธรรม ขาราชการบาํ นาญ นางนพรตั น เวโรจนเสรีวงศ นางสาวประภารสั มิ์ พจนพิมล ขา ราชการบาํ นาญ นางสาวสภุ รณ ปรชี าอนนั ต ขา ราชการบาํ นาญ นางพรทิพย เขม็ ทอง ขา ราชการบาํ นาญ นางดษุ ฎี ศรีวฒั นาโรทยั นายววิ ฒั นไชย จนั ทนส คุ นธ ขาราชการบาํ นาญ นางสาวชนดิ า ดยี ่งิ นายสมชาย เดอื นเพญ็ ขา ราชการบํานาญ ขา ราชการบํานาญ นางสาวจริ าภรณ ตนั ตถิ าวร ผทู รงคณุ วฒุ กิ ลมุ จังหวัดมรดกโลกทางวฒั นธรรม นายจริ พงศ ผลนาค นางสาวอนงค ชชู ัยมงคล รางวลั วัฒนคณุ าธร กระทรวงวฒั นธรรม 2557 นางสาวพจนยี  สวัสดร์ิ ตั น ผูอํานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ นายโยฑนิ สมโณนนท นางพรทิพย เอ้อื ประเสรฐิ ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวดั สโุ ขทัย นางสาวอนงค เชอื้ นนท ศูนยว งเดือนอาคมสรุ ทณั ฑ จงั หวัดอุทยั ธานี กศน.อาํ เภอเมอื งกําแพงเพชร จังหวดั กําแพงเพชร กศน.อําเภอสนั ปาตอง จังหวดั เชยี งใหม กศน.อาํ เภอบางแพ จังหวดั ราชบรุ ี กศน.เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร ผูออกแบบปก กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook