Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore aqplants_usersmanual_th

Description: aqplants_usersmanual_th

Search

Read the Text Version

เทคนคิ การปลูกผักน้ําบรเิ วณรอบๆ บึงเจ็งเอก็ เมืองพนญเปญ ประเทศ กมั พชู า บทนาํ คูม ือฉบับนี้ไดร วบรวมและเขียนขนึ้ จากประสบการณของเกษตรกรในเมืองพนญเปญ ผูท ท่ี ํา การเพาะปลกู ผักบงุ และผักกระเฉดมานานหลายป และนอกจากน้ันยังเปน การรวบรวม เทคนคิ ตา งๆ เพอ่ื ใหเ ปนประโยชนต อไปตามวัตถุประสงคข องโครงการ โดยคณะนักวิจยั เมืองพนมเปญไดรวบรวมขอมลู จากเกษตรกรและผูท่ที าํ งานเก่ยี วของทง้ั ในประเทศและ ตา งประเทศภายใตการสนับสนุนจากสหภาพยโุ รป คูมือทถ่ี ูกตพี ิมพขน้ึ นเี้ พ่อื แบง บันเทคนิคที่ใชในการปลกู พืชนาํ้ สําหรับเกษตรกรและผูสนใจ ทวั่ ไปและหวังจะใหเ กษตรกรผทู ี่เพาะปลกู พชื นาํ้ ในนา้ํ เสยี ไดพฒั นาการเพาะปลกู เพอื่ การ เพมิ่ ผลผลิตรวมถงึ ไดร วบรวมขอมูลเบือ้ งตน ทางเทคนิคและผูกาํ หนดนโยบาย เพือ่ การ พฒั นาผลผลติ และวธิ ีการเพาะปลกู ตอ ไป ท้ังนคี้ ณะผจู ัดทําตองขอขอบคุณผรู ว มงานทช่ี ว ยใหก ารจดั ทําคมู อื ฉบบั นป้ี ระสบความสาํ เร็จ ไดด ว ยดีคอื ƒ กลุมเกษตรกรหมบู า นบงึ เจยี งเอก็ เปนอยางสงู สาํ หรบั การสละเวลาทมี่ ีคาและอดทนตอ การตอบคําถามเก่ียวกบั การปลกู ผักบุงเพ่อื ถายถอดประสบการณก ารปลูกผกั บงุ ของทา น ตอ คณะผูสมั ภาษณ ƒ กลุมศิลปน ผูวาดรปู ประกอบในคูมอื ฉบบั นี้ดว ย ƒ คณะผรู ว มงานจากสถาบันเอไอทีและมหาวิทยาลยั สเตอรรงิ แหง ประเทศสกอรตแลนด โดยเฉพาะคุณวลิ เลยี่ ม เลสเชนสาํ หรบั การชวยเหลอื และคาํ แนะนาํ ตา งรวมถงึ กาํ ลังใจท่ี คอยสนบั สนุนกับคณะผูจัดทําคมู ือเลมนใ้ี หประสบความสําเรจ็ ดวยดี คมู อื การปลกู ผกั บงุ น้าํ บรเิ วณรอบเมืองพนญเปญ ประเทศเขมร คํานํา ผกั บงุ เปนผักทม่ี ีความนิยมสงู มากในเมืองพนมเปญซง่ึ สามารถนํามาทําเปนอาหารไดห ลาย ชนดิ ทง้ั ปรุงสกุ และทานสดๆ ผักบงุ เปน ผกั ที่ปลกู ไดงา ย ใชแ รงงานนอ น การลงทนุ ตา่ํ มากกวาผกั ชนิดอ่นื และยังเกบ็ เก่ยี วผลผลิตไดทุกวันเพอื่ ใชร ับประทานเองในครอบครัวหรือ ขายเปน รายไดเ ขาครอบครัวอกี ดว ย 51

1. เครอื่ งมือทใี่ ช เครื่องปม น้ํา บัวรดนาํ้ จอบ รถแทร็กเตอร เครื่องมอื ทใี่ ชใ นการเตรยี มแปลง เคร่ืองพนยาฆา แมลง ถงั น้ํา เคียว เคร่อื งพน ยา มีด เชอื ก ผาขาวมา หนังยาง เรอื เครือ่ งมอื ที่ใชในการเก็บเกยี่ ว 52

2. วธิ กี ารเพาะปลูกผักบุง 2.1 การเตรยี มการปลูกตนผักบงุ เตรียมแปลงเพอ่ื การปก ดาํ ยอดผกั บงุ ƒ เลือกพ้ืนที่ใกลแหลง นํ้าหรอื บงึ ƒ เตรียมแปลงนาโดยปลอยนา้ํ ออกตากไวใ หแหง ƒ ปลอยนา้ํ เสยี เขาแปลงนาเพือ่ ใหดินมีสารอาหาร การไถแปลงนาเพอ่ื เตรียมแปลงนา การปมนํ้าเขาแปลงนา 53

การเตรียมตนพนั ธเุ พอื่ การปก ดาํ เลือกตน พันธทุ ี่เหมาะสมกบั พ้นื ท่ีเพาะปลกู โดยยอกผกั บงุ จะถูกตัดออกเปน ชนิ้ เล็กๆ แลวกป็ ก ลงในหลุมทข่ี ดุ ไว (หลมุ กวา งประมาณ 20 เซนตเิ มตร ลึก 10 เซนตเิ มตร) และก็ ปลอ ยใหยอดท่ีเหลอื ทอดอยบู นดนิ โดยปกตแิ ลวการปก ดําจะปลกู ใหเปน แถว โดยแตละตน จะปลกู หางกันประมาณ30 -50 เซนติเมตร การปลกู ผักบุงโดยการปก ยอดผกั บุงลงใน แปลงนา บันทกึ การเลือกพันธผุ ักบงุ เพื่อการปลูกน้ันควรคัดเลือกยอดจากการปลูกครงั้ กอนโดยผักบุง ท่เี ลือกควรมีกา นขาวอวบแขง็ แรงกา นเปน รปู แปดเหล่ยี ม การเตรยี มพันธุ การดูแลรักษาพนั ธผุ กั บุง ทีจ่ ะนําไปปลกู ควรมกี ารกาํ จัดหญา ออกจากแปลงนาแลวกฉ็ ีดยา คลุมหญาเพือ่ ใหยอดผักบุง ท่ปี กดําเจริญเติบโตไดดีผกั บงุ จะเริ่มแตกยอดหลงั จากการปกดํา ไปแลวเจด็ วัน ในชวงน้เี กษตรกรจงึ ควรหวานปยุ และถา ไมมีฝนตกในชว งการปก ดํายอด ผกั บงุ เกษตรกรควรรดนํ้าอยางนอ ยหน่งึ ครง้ั ทกุ ๆ2 หรือ 3 วัน หลังจากน้ัน สปั ดาห ยอดผกั บงุ ทเ่ี จริญงอกงามดีจะถกู ยา ยไปปลูกท่แี พในบงึ เจง็ เอ็กซึ่งเปน แหลงผลิตผักบงุ ทใ่ี หญท่ีสุดในโลก 54

การดูแลรกั ษาแปลงตน พันธุผ กั บุง 3. การเกบ็ เก่ียวผลผลติ สวนใหญผักบงุ สามารถเร่ิมตัดยอกไดหลังจากปลูกในแพไปแลว สปั ดาห เกษตรกรควร มดั ยอดผกั บงุ เปน แถวๆเพื่องายตอการนาํ เรือเชาไปตัดในแตละแถว ดังภาพท่เี หน็ ดานลา ง ภาพแสดงการเกบ็ เกีย่ วผักบงุ 55

ƒ ควรเกบ็ เกย่ี วผักบุงใหม ากทีส่ ุดในแตละคร้ังเพื่อใหม ีการแตกยอดออนใหมใน ครงั้ ตอไป ƒ สวนใหญจ ะใชเ รอื ชวยในการตดั ยอดผักบงุ ในบริเวณน้ําลกึ ƒ โดยปกติแลว เกษตรกรจะใชยาฆา แมลงฉดี พน หลงั จากการเกบ็ เกย่ี ว วัน หลังจากผกั บุงมีการแตกยอดใหม ƒ ควรเลอื กตดั ผักบงุ ทม่ี ีสภาพแข็งแรง และตดั ใบออกบางเพ่อื ใหเลลอื กา นเอาไว นาํ ผกั บุง มามดั รวมกัน ประมาณ 20 ยอดเปนหนึง่ กาํ แตล ะกา นยาว 50 เซนติเมตรผูกละกาํ ดว ยหนังยาง บนั ทกึ ƒ ในกรณที ผ่ี ักบุงคณุ ภาพไมดี สามารถตัดสงขายเปน อาหารหมูได ƒ ถาพบการตดิ โรคในผักบุงควรทําลายผักบงุ ทง้ิ แลงปลกู ใหมท้ังแถวเพ่ือปอ งกัน การติดตอ ของโรค 4. ปญ หา ปญ หาทีพ่ บสวนใหญคอื ƒ เกษตรกรเจ็บปวยจากการสัมผสั สารเคมี ƒ นํา้ เสยี จากโรงงานอุตสาหกรรมสง ผลตอ การเจรญิ เตบิ โตของผักบุง ƒ แพผักบุงถูกกีดขวางและทําลายโดยกอผักตบชวาท่ีไหลมากบั กระแสน้ํา ƒ อากาศรอ นเกนิ ไป ƒ ปญหาโรคผิวหนังทพ่ี บจากการสมั ผัสน้าํ เสียโดยตรง 5. ขอ ควรระวงั ในการใชส ารเคมีและยาฆาแมลง ƒ อยา ใชย าฆาแมลงฉีดพย ทางใตล ม ƒ อยาเขา ใกลบรเิ วณท่มี กี ารฉดี พน ยาฆาแมลงเพราะสารพษิ อาจดูดซมึ ผานผวิ หนัง ได ƒ อยา สบู บุหรข่ี ณะทาํ การฉีดพน ยาฆาแมลงเพราะจะทําใหส ารพิษแทรกซึมเขาสู รางกายได ƒ อยา กนิ ปลาจากบอที่มกี ารปลูกผักบุงและใชยาฆาแมลงอยาหนาแนน เพราะ สารพษิ อาจตกคางอยูใ นตวั ปลาไดห ลังจากปลามากินผกั บุงที่ฉดี ยาฆา แมลง ƒ อยา ทง้ิ สารเคมีหรอื ยาฆา แมลงลงในแมน า้ํ ƒ อยา ดืม่ นํา้ หรือกนิ อาหารกอนการลา งมือหรืออาบนา้ํ หลังจากฉดี พน ยาฆา แมลง ƒ เดก็ หรือสตรีมคี รรภ ไมควรสัมผสั ยาฆา แมลงหรอื เปนผฉู ีดพน ยาเหลา นน้ั ƒ อยานําขวดหรอื ถังท่ีใชใสยาฆาแมลงกลบั มาใชอ ีก ƒ ยาฆาแมลงควรมีการเขยี นฉลากใหชดั เจนและเก็บไวในทปี่ ลอดภัยใหหางจาก เดก็ และอาหาร 56

คมู อื การปลกู ผกั กระเฉดบริเวณบิงเจ็งเอก็ เมอื งพนญเปญ ประเทศกัมพชู า คาํ นาํ ผกั กระเฉดเปน ผักที่ไดรับความนิยมเปนอยางสูงในเมืองพนมเปญซง่ึ สามารถนาํ ไปประกอบ อาหารไดท ้ังแบบสกุ และทานสดๆ ผักกระเฉดเปนผักที่ปลกู ไดงาย ไมม ีวิธกี ารที่ซาํ้ ซอน ใช แรงงานนอ ยและลงทุนต่ํา และสามารถเก็บเก่ียวผลผลติ ไดท กุ วนั แตผ กั กระเฉดตองการ พน้ื ทท่ี น่ี ้ําไหลตลอด 1. เครือ่ งมอื ทใ่ี ช เครือ่ งปม นา้ํ จอบ บัวรดนาํ้ รถแทร็กเตอร เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ นการเตรยี มแปลง เคร่อื งพน ยาฆา แมลง ถังน้ํา เคร่ืองพนยา 57

เคยี ว เชอื ก มดี หนังยาง ผา ขาวมา เรือ เคร่ืองมอื ที่ใชใ นการเกบ็ เกยี่ ว 2. วธิ ีการเพาะปลกู ผักบงุ ƒ ผกั กระเฉดมกั จะปลกู กันมากตามบรเิ วณแหลงนาํ้ รอบๆเมอื งพนมเปญโดยใชการ ผูกยอดผกั กระเฉดเขากับแพไมเ ปน รูปส่เี หล่ียมผืนผาหรือส่ีเหลี่ยมแลวปลอ ยให ลอยอิสระอยใู นนาํ้ โดยแพเหลานีม้ ักจะเตรียมปก ไมห รอื ผกู แพกอ นผกู ยอดผัก เฉด ƒ ขนาดพืน้ ทีท่ ่ีเหมาะสมตอ การจัดการคือ 30 หรือ40 เมตร ควรเลอื กปลูกใกลกับ ทางนํ้าเขาและทางนาํ้ ออกเพื่อใหน้ําถายเทไดสะดวก 2.1 การจัดเตรียมปก ไมเพ่อื ผูกผกั กระเฉดในแมน า้ํ แพที่ผกู ควรผูกหลกั ไมเ ปน รปู ส่เี หลีย่ มผืนผา ยาวประมาณ 40 เมตร โดยปก หลกั หางกันประมาณ เมตรแบง ระยะหา งระหวา งแพประมาณ 3 – 4 เมตร เพอื่ ใหผักแตกยอดได ดกี ารผกู แพน้นั ควรใหแ พลอยและเลื่อนขน้ึ ลงตามระดบั นํ้าได 2.2 เตรียมพันธุผ กั กระเฉดเพือ่ ลงผูกในแพ ควรเลอื กพันธผุ กั กระเฉดจากผกั แปลงอื่นโดยแตละยอดควรยางประมาณ 3 - 5 เมตร ผกั ควรมีทนุ สมบูรณแ ละมกี ่ิงออนเจริญงอดงามดี จากนํายอดผักกระเฉดที่ไดมาผูกเขากบั หลกั ไมโ ดยปลอ ยยอดใหย อดไปประมาณ 20 - 30 เซนตเิ มตรในแตละปม เมอ่ื ผูกยอดผกั กระเฉดเขา กบั แพท่เี ตรียมไวเสร็จแลว ควรนําแหนมาปลอยไวในบริเวณท่ีปลกู ผักกระเฉด ดว ย 58

การเตรยี มปก หลกั และผกู แพผกั กระเฉด แสดงผกั กระเฉดทีป่ ลูกในบึง แสดงการเตรยี มพนั ธผุ ัก 59

2.3 การดูแลรกั ษาผักกระกระเฉด เพ่ือจะใหผ กั กระเฉดเจรญิ เตบิ โตดี เกษตรกรควรจะ ƒ ดแู ลใหม ีปริมาณแหนท่เี พียงแพกับผักกระเฉดเพือ่ ชวยบังรมใหท นุ ผักกระเฉด ƒ กําจัดแหนออกบางในกรณีที่มนั หนาแนน เกินไป ƒ กาํ จัดหญา หรอื ผกั ตบชวาออกจากแพผกั กระเฉด ƒ กําจดั หอยเชอรท่ี เ่ี ปนศตั รูตัวสาํ คญั ของผักกระเฉด ƒ ตองมั่นตรวจเช็คเชอื กทีผ่ ูกกอผักกระเฉดหรือหลกั ไม สมํา่ เสมอ ƒ เม่อื ผกั กระเฉดมีการแตกยอดใหม ควรฉีดพนยาฆาแมลงและหวา นปุย การดแู ลแปลง ผกั กระเฉด 2.4 ยาฆาแมลงและยาฆาหญาทใ่ี ช ƒ DDVP -50 ทาํ มาจากประเทศไทย (ตามือถอื ) ใชป อ งกนั หนอนและราสนมิ ขาว สว นผสมทพ่ี บคือ2,2-dichlorovinyl dimethyl phosphate 50%W/V EC ƒ Visher 25 ND ทาํ มาประเทศเวียดนาม (ตราหนอนตวั เดยี ว) ใชปองกันหนอน และต๊ักแตนรวมถึงเพี้ยขาวกนิ ใบดว ย ƒ V 80 ทํามาจากประเทศไทย (ตาคนอมุ ฟก ทอง) ใชเพ่อื ปองกันเพ้ยี สนิมและใบ หงกึ สว นผสมทีพ่ บคือ Zine ethylenebis (dithiocarbamate) (polymeric) 80% W.P ƒ Vicarben 50hp ใชกระตนุ การแตกยอด เกษตรกรสว นใหญจะใชยาฆาแมลงเหลานี้ฉดี พน ยอดผกั ทแ่ี ตกตัวใหมๆหรอื เม่ือเกิด โรคระบาด นอกจากน้ียังพบวา เกษตรกรไดผ สมยาฆา แมลงรวมกันคร้ังละหลายชนดิ ๙่ึงเปน วธิ ที ี่ไมแ นะนําเนอื่ งจากขาดความเขา ใจเนือ่ งจากฉลากยาเปย ภาษาตางประเทศ 60

บนั ทกึ คมู ือทจ่ี ัดทําข้นึ มาน้ีไมไดสง เสริมใหใชย าฆา แมลงดังกลาวแตเปนเพียงการถายทอดขอ มลู ท่ไี ดรบั ทราบมาจากเกษตรกรผูเพาะปลกู ผักกระเฉดจรงิ ๆ หลังจากการใชยาฆา แมลงฉดี พนผกั แลวควรรอประมาณหนึ่งอาทิตยก อ นการเก็บเกี่ยวคร้งั ตอ ไป คาํ เตอื น โปรดระมัดระวงั กับการใชยาฆาแมลงแตล ะชนิดดงั กลาว เพราะพบวา อาจมีพิษตอ รา งการ มนยุ ษไ ดจึงควรปองกันดวยการสวมชดุ คลมุ ใสถุงมือ รองเทา และหนา กากทกุ คร้งั ทตี่ อ งฉดี พน ยาฆาแมลง การฉดี พน ยาฆา แมลงในแปลงนาผัก กระเฉด 3. การเกบ็ เกย่ี ว ƒ ผกั กระเฉดสามารถเร่ิมตดั ขายไดห ลังจากปลใู นแพได หนึ่งเดือน หลังจากนัน้ จะ สามารถตดั ผักกระเฉดไดทวุ นั และควรตัดใหม ากท่ีสดุ เพอื่ ใหเ กดิ การแตกยอดใหม สมํ่าเสมอ ƒ ควรตัดยอดผักกระเฉดดวยมีดหรอื เคยี วและเหลอื ตน เอาไวเพียง เซนติเมตรเพยี งให แตกยอดดีข้นึ ƒ เกตรกรมกั จะใชเ รือชวยในการตัดผกั ในบริเวณน้าํ ลึก ƒ เกษตรกรมักจะฉดี พน ยา ภายในสองหรอื สามวนั หลงั จากตดั ผักแลว เพอื่ ปอ งกนั ศตั รูพชื ที่จะมากัดกินยอดใหม 61

ƒ หลังจากตดั ยอดผกั กระเฉดแลง กอ นการสงขายควรแกะทุนออก แลงมดั รวมเปน กาํ ๆ ดว ยหนงั ยาง โดยกําหน่งึ ประกอบดวยผักกระเฉดประมาณ สบิ ตน โดยแตล ะตน ยาว 50 เซนติเมตร เกษตรกรสามารถตัดยอดออ นขายตอ ไป บนั ทกึ ผักกระเฉดสามารถปลูฏไดเพียง สามถึงเดอื นตอ รุนเทาน้ันหลังจากน้ัน ตนผกั กระเฉดจะ แกเกินไปใหผลผลติ ท่ีนอยลงจงึ ตอ งเปล่ียนใหมยกแปลง 4. ปญ หา ปญ หาท่ีเพบระหวางการเพาะปลูกผักกระเฉด ƒ ผลกระทบจากการใชสารเคมีโดยไมไ ดป ฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนําอยางเครง ครัด เชนไม ใสห นา กากหรือถุงมือขณะฉีดพนยาฆาแมลง ƒ นาํ้ เสยี จากโรงงานอุตสาหกรรมทาํ ใหการปลกู ผักกระเฉดไมไ ดผ ลดี ƒ ปญหาอากาศรอ นหรือแพแตกระหวา งการเพาะปลูก ƒ ปญ หาโรคผิวหนัง 5. การรักษาความปลอดภัยจากการใชยาฆาแมลงและสารเคมี ƒ อยา ใชย าฆาแมลงฉดี พยทางใตลม ƒ อยา เขาใกลบ ริเวณที่มีการฉีดพนยาฆา แมลงเพราะสารพษิ อาจดูดซึมผา นผวิ หนงั ได ƒ อยาสบู บหุ รข่ี ณะทําการฉีดพนยาฆา แมลงเพราะจะทาํ ใหส ารพษิ แทรกซึมเขาสู รา งกายได ƒ อยากินปลาจากบอทม่ี ีการปลกู ผักบงุ และใชยาฆาแมลงอยาหนาแนน เพราะ สารพษิ อาจตกคา งอยใู นตวั ปลาไดห ลังจากปลามากินผกั บุงที่ฉีดยาฆาแมลง ƒ อยา ทิ้งสารเคมหี รอื ยาฆา แมลงลงในแมนา้ํ ƒ อยา ดืม่ นํา้ หรอื กินอาหารกอนการลา งมือหรอื อาบน้าํ หลังจากฉดี พน ยาฆา แมลง ƒ เดก็ หรอื สตรีมีครรภ ไมควรสัมผัสยาฆา แมลงหรือเปน ผูฉ ีดพน ยาเหลาน้นั ƒ อยา นาํ ขวดหรอื ถังท่ใี ชใสยาฆาแมลงกลบั มาใชอีก ƒ ยาฆา แมลงควรมกี ารเขยี นฉลากใหชัดเจนและเก็บไวในทป่ี ลอดภยั ใหหางจาก เดก็ และอาหาร 62

บทสรปุ โดยรวม คณะผูจดั ไดท ําการรวบรวมเทคนิคหรือขอมูลการปลกู พืชน้ําของเมืองกรุงเทพ, โฮจมิ นิ ส ฮานอยและพนมเปญไวในคมู อื เลม นั้แลว แตถ าทานผูสนใจอยากจะทราบขอ มูลเพิ่มโปรด ติดตอทา นผูเขยี นตามทอี่ ยูหรืออีเมลลด า นลา ง หรอื ถาทานมอื ขอมลู ท่เี กีย่ วกับพืชน้ํา ประเภทอ่ืนๆ เชน บวั ในพน้ื ท่ีเมอื งดังที่กลาวมาแลว ทา นสามารถแบง บนั ความรูดงั กลาว ไดณะทีน่ เ้ี พื่อเปน วทิ ยาทานตอไป เนอ่ื งดว ยทางโครงการเนนการศึกษาเรื่องระบบอาหารปลอดภยั และการกินอาหารทมี่ ี ประโยชนโ ดยเฉพาะ ทางคณะผจู ัดทําท่ีประเทศไทยไดท ําการทดลองการปลูกผักบุงแบบ ออกานิครวมกบั ปลาสลิดเพ่ือใหชวยกินตัวออ นของแมลงและยกเวน การใชสารเคมีทุกชนิด โดยทา นผูส นใจสามารถเขา ไปดูผลผารทดลองไดที่ เวปไซด www.papussa.org หรอื ตดิ ตอ โดยตรงกบั ผูเขยี นในแตล ะประเทศ สดุ ทานนค้ี ณะผูจัดทําขอขอบพระคณุ เกษตรกรของทงั้ สีเ่ มืองหลักท่ีทําใหการจัดทาํ คูม อื ฉบับนปี้ ระสบความสาํ เร็จ และยังสรางแหลงอาหารเล้ียงคนในในชมุ ชนเมืองเปน จํานวนมาก ตดิ ตอ เรา Huynh Pham Viet Huy, Faculty of Fisheries, Nong Lam University, Thu Duc district, Ho Chi Minh City, Viet Nam. Telephone number: 08 7220733 Email: [email protected] Mrs. Nguyen Thi Dieu Phuong, Research Institute for Aquaculture (RIA1), Dinh Bang, Tu Son, Bac Ninh, Vietnam Tel 02 41842518 Email – [email protected] ดอกเตอรเ รืองวญิ ย ยุนพนั ธุ อาจารยป ระจาํ คณะประมง มหาวยิ าลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โทร 02-5792924 อเี มลล [email protected] Will Leschen, Institute of Aquaculture, University of Stirling, Stirling, Scotland, UK Email: [email protected] 63


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook