Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมศึกษา สค31001

สังคมศึกษา สค31001

Published by atiphat.nfe, 2020-06-15 10:53:55

Description: สังคมศึกษา สค31001

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) หามจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นเลม น้ี จดั พิมพดว ยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสิทธเ์ิ ปนของ สํานกั งาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที่ 37/2557

คาํ นํา สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ไดด ําเนนิ การจัดทาํ หนงั สอื เรียนชดุ ใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชใ นการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเ รียนใหม ีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพ ในการประกอบอาชีพการศึกษาตอและสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเ รยี นสามารถนําหนังสอื เรยี นไปใชด ว ยวธิ ีการศึกษาคน ควาดว ยตนเอง ปฏิบัติกจิ กรรม รวมทงั้ แบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลว ยังไมเ ขา ใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมไ ด ผเู รียนอาจจะสามารถเพ่ิมพูนความรูห ลังจากศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพ่ือนในชั้น เรยี น ศึกษาจากภูมิปญญาทอ งถนิ่ จากแหลง เรียนรูแ ละจากสอื่ อื่น ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดรับความรว มมือท่ีดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเ ก่ียวขอ งหลายทานท่ีคน ควา และเรียบเรียง เน้ือหาสาระจากสอ่ื ตา ง ๆ เพือ่ ใหไ ดส อ่ื ที่สอดคลอ งกบั หลักสตู รและเปนประโยชนตอ ผูเ รยี นที่อยูน อกระบบ อยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเ รยี บเรียง ตลอดจนคณะผูจ ัดทําทกุ ทา นทีไ่ ดใ หความรว มมือดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี สาํ นักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวา หนังสือเรียนชุดนี้จะเปน ประโยชนใ นการจัดการเรยี นการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานักงานสง เสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวด ว ยความขอบคุณยง่ิ สาํ นกั งาน กศน. กันยายน 2557

สารบัญ หนา คํานํา 1 สารบญั 2 คาํ แนะนําในการใชหนงั สอื เรยี น โครงสรางรายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) 34 บทที่ 1 ภมู ศิ าสตรก ายภาพ...................................................................................... 43 เรอ่ื งที่ 1 สภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ .................................................................... 52 เรอ่ื งท่ี 2 ลกั ษณะการเกิดปรากฏการณทางธรรมชาติทสี่ ําคัญ 74 และการปอ งกนั อนั ตราย ..................................................................... 77 เรือ่ งที่ 3 วิธีใชเ คร่ืองมือทางภูมศิ าสตร............................................................... 78 เรื่องที่ 4 ปญหาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม 83 89 ผลการจัดลําดับความสําคญั ของปญหาทรพั ยากรธรรมชาติ 104 และส่งิ แวดลอม................................................................................... 124 เร่ืองท่ี 5 แนวทางปองกันแกไขปญหาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ 127 และสง่ิ แวดลอ ม โดยประชาชน ชุมชน องคก ร ภาครัฐ 163 ภาคเอกชน.......................................................................................... 164 บทท่ี 2 ประวัติศาสตร............................................................................................. 170 เรอ่ื งที่ 1 การแบงชวงเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร .................................. เรอ่ื งที่ 2 แหลงอารยธรรมของโลก..................................................................... เรื่องที่ 3 ประวตั ศิ าสตรช าติไทย ........................................................................ เร่อื งที่ 4 บุคคลสาํ คญั ของไทยและของโลกในดา นประวตั ศิ าสตร....................... เร่ืองที่ 5 เหตกุ ารณส าํ คัญของโลกทมี่ ผี ลตอ ปจ จบุ นั ............................................ เร่อื งที่ 6 บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยใ นการพฒั นาชาตไิ ทย..................... บทที่ 3 เศรษฐศาสตร.............................................................................................. เรอ่ื งท่ี 1 ความรูเบ้อื งตนเกย่ี วกับเศรษฐศาสตร.................................................. เรื่องท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ...................................................................................

สารบญั (ตอ ) หนา เรอ่ื งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกิจ .................................................................. 181 เรอ่ื งท่ี 4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ.............................................. 199 เร่ืองท่ี 5 สถาบันการเงนิ และการเงนิ การคลงั ..................................................... 209 เร่ืองที่ 6 ความสัมพนั ธและผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ 225 กบั ภมู ภิ าคตางๆ ของโลก .................................................................... 232 เรื่องที่ 7 การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ................................................................... 239 บทที่ 4 การเมืองการปกครอง .................................................................................. 240 เรอ่ื งที่ 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย....................................................... 245 เรอ่ื งที่ 2 การปกครองระบบเผดจ็ การ................................................................ เรอ่ื งที่ 3 พัฒนาการของระบอบประชาธปิ ไตย 249 256 ของประเทศตา ง ๆ ในโลก................................................................... เรื่องท่ี 4 เหตุการณสําคัญทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทย ................ 261 เรอื่ งที่ 5 เหตุการณส ําคญั ทางการเมอื งการปกครองของโลก 265 271 ทสี่ งผลกระทบตอประเทศไทย ............................................................ 274 เรื่องที่ 6 หลกั ธรรมมาภบิ าล.............................................................................. 278 แนวเฉลยกจิ กรรม ........................................................................................................... บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………. ...................... คณะผูจ ดั ทาํ ...........................................................................................................

คําแนะนําในการใชหนังสอื เรยี น หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา รหัส สค31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนท่จี ัดทําข้ึน สาํ หรบั ผเู รียนทเ่ี ปนนักศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ผูเรยี นควรปฏิบตั ดิ งั น้ี 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขา ใจในหัวขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั และขอบขายเน้อื หา 2. ศกึ ษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยา งละเอียด และทํากจิ กรรมตามทีก่ ําหนด แลวตรวจสอบ กบั แนวเฉลยกิจกรรมท่กี ําหนด ถาผเู รยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนือ้ หานน้ั ใหมใ ห เขา ใจกอนท่ีจะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ไป 3. ปฏิบตั ิกจิ กรรมทา ยบทของแตล ะบท เพอ่ื เปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาในเร่ืองน้ัน ๆ อีกคร้ัง 4. หนงั สือเรยี นเลมน้มี ี 4 บท คือ บทท่ี 1 ภูมิศาสตรกายภาพ บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตร บทที่ 3 เศรษฐศาสตร บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง

โครงสรางรายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) สาระสาํ คัญ ประชาชนทกุ คนมหี นา ท่สี ําคัญในฐานะพลเมอื งดขี องชาติ การเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายภายใต การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย มีความรใู นเร่อื งลักษณะทางกายภาพ การปฏสิ ัมพนั ธระหวา งมนุษยกับ สิ่งแวดลอมและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเ อ้ือประโยชนต อคนในชาติ การศึกษาความ เปน มาและประวตั ิศาสตรข องชนชาติไทยทําใหเ กิดความรูความเขาใจและภาคภูมใิ จในความเปนไทย ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง 1. อธิบายขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองท่ีเก่ียว ของกับประเทศตา ง ๆ ในโลก 2. วเิ คราะห เปรยี บเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง ของประเทศตาง ๆ ในโลก 3. ตระหนักและคาดคะเนสถานการณระหวางประเทศทางดา นภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองที่มีผลกระทบตอ ประเทศไทยและโลกในอนาคต 4. เสนอแนะแนวทางในการแกป ญ หา การปอ งกันและการพัฒนาทางดา นการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ และสังคมตามสภาพปญหาท่เี กิดขนึ้ เพอ่ื ความม่ันคงของชาติ สาระการเรยี นรู บทที่ 1 ภมู ิศาสตรก ายภาพ บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตร บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร บทที่ 4 การเมืองการปกครอง

1 บทที่ 1 ภูมศิ าสตรก ายภาพ สาระสาํ คัญ ลักษณะทางกายภาพและสรรพสิ่งในโลก มีความสมั พันธซ่งึ กนั และกนั และมีผลกระทบตอระบบนเิ วศ ธรรมชาติ การนําแผนทแ่ี ละเครอื่ งมือภมู ิศาสตรมาใชใ นการคนหาขอ มูลจะชวยใหม ขี อ มลู ทีช่ ดั เจนและนําไปสู การใชก ารจดั การไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ การปฏสิ มั พนั ธร ะหวา งมนุษยกบั สภาพแวดลอ มทางกายภาพ ทาํ ให เกิดสรางสรรคว ฒั นธรรมและจิตสํานกึ รว มกันในการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม เพอ่ื การ พฒั นาท่ีย่งั ยืน ตวั ชว้ี ดั 1. มคี วามรคู วามเขา ใจเกี่ยวกับสภาพทางภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศไทยกับทวปี ตา ง ๆ 2. เปรยี บเทยี บสภาพภูมิศาสตรกายภาพของประเทศไทยกบั ทวีปตา ง ๆ 3. มีความรูความเขาใจในปรากฏการณท างธรรมชาติที่เกดิ ขึน้ ในโลก 4. มีทักษะการใชเ ครอื่ งมือทางภูมิศาสตรทีส่ าํ คญั ๆ 5. รวู ิธปี องกนั ตนเองใหป ลอดภยั เมอื่ เกดิ ภยั จากปรากฏการณธ รรมชาติ 6. สามารถวเิ คราะหแ นวโนมและวกิ ฤตสงิ่ แวดลอ มทีเ่ กิดจากการกระทําของมนษุ ย 7. มีความรคู วามเขา ใจในการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยดี า นส่งิ แวดลอ มเพอื่ พฒั นา ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมทยี่ งั่ ยืน ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่อื งที่ 1 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพ เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะการเกิดปรากฏการณทางธรรมชาติ และการปองกนั อนั ตราย เรอ่ื งท่ี 3 วิธีใชเ ครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร เร่อื งท่ี 4 ปญหาการทําลายทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม การจัดลําดบั ความสําคัญของปญหา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องที่ 5 แนวทางปอ งกนั แกไขปญ หาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม โดยประชาชน ชุมชน องคก ร ภาครฐั ภาคเอกชน

2 เรอื่ งท่ี 1 สภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย ทําเลท่ีตง้ั ประเทศไทยต้ังอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงประกอบดวยสวนที่เปนแผนดินใหญหรือ เรียกวาคาบสมทุ รอนิ โดจนี หรอื แหลมทอง และสว นท่ีเปน หมเู กาะใหญนอ ยหลายพนั เกาะ ตั้งอยูในแหลมทอง ระหวางละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือกับ 20 องศา 22 ลิปดาเหนือ และลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดา ตะวนั ออก กบั 105 องศา 37 ลปิ ดาตะวนั ออก ขนาด ประเทศไทยมีเนื้อท่ี 513,115 ตารางกิโลเมตร ถาเปรียบเทียบขนาดของประเทศไทยกับประเทศ ในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตด ัวยกนั แลว จะมพี นื้ ทีข่ นาดใหญเ ปน อันดับท่ีสาม รองจากอินโดนีเซียและ เมียนมาร ความยาวของประเทศวัดจาก เหนือสุด ที่อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงรายไปจดใตสุดท่ีอําเภอเบตง จังหวัดยะลา ประมาณ 1,260 กิโลเมตร สวนความกวางมากท่ีสุด วัดจากดานพระเจดียสามองคอําเภอ สังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีไปจดตะวันออกสุด ที่อําเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ยาวประมาณ 780 กิโลเมตร สําหรับสวนทแี่ คบทสี่ ดุ ของประเทศไทยอยใู นเขตจังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ วดั จากพรมแดนพมาถึงฝง ทะเลอาวไทยเปนระยะทางประมาณ 10.5 กโิ ลเมตร อาณาเขตตดิ ตอ ประเทศไทยมีอาณาเขตตดิ ตอ กับประเทศเพอื่ นบานโดยรอบ 4 ประเทศคอื เมยี นมาร ลาว กมั พชู า และมาเลเซียรวมความยาวของ พรมแดนทางบก ประมาณ 5,300 กโิ ลเมตร และมีอาณา เขตติดตอกับชายฝง ทะเลยาว 2,705 กโิ ลเมตร คือ แนวฝง ทะเลดานอา วไทยยาว 1,840 กโิ ลเมตร และแนวชายฝงดา น ทะเลอันดามันยาว 865 กโิ ลเมตรดงั นี้

3 1. เขตแดนทต่ี ิดตอกบั เมยี นมาร เร่มิ ตนท่ีอาํ เภอแมส ายจงั หวดั เชยี งรายไปทางตะวนั ตก ผานทจี่ งั หวัด แมฮ องสอน ไปส้ินสดุ ทจี่ ังหวดั ระนอง จังหวัดชายแดนดา นนม้ี ี 10 จังหวัดคอื เชยี งราย เชียงใหม แมฮ อ งสอน ตาก กาญจนบรุ ี ราชบุรี เพชรบรุ ี ประจวบคีรขี ันธ ชุมพร และ ระนอง มที ิวเขา 3 แนว เปน เสน กน้ั พรมแดน ไดแก ทวิ เขาแดนลาว ทวิ เขาถนนธงชยั และทวิ เขาตะนาวศรี นอกจากน้ันยงั มีแมน้าํ สายสน้ั ๆ เปน แนวกน้ั พรมแดนอยูอกี คอื แมน ํ้าเมย จังหวัดตากและแมน ํ้ากระบุรี จังหวัดระนอง 2. เขตแดนท่ีติดตอกับลาว เขตแดนดานน้ี เร่ิมตนที่อําเภอเชียงแสน ไปทางตะวันออกผานอําเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงรายเขาสูจังหวัดพะเยา ไปส้ินสุดที่จังหวัดอุบลราชธานี ดินแดนที่ติดตอกับลาวมี 11 จังหวดั คือ เชยี งราย พะเยา นาน อุตรดิตถ พิษณุโลก เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อํานาจเจริญ และ อุบลราชธานี มแี มน ้ําโขงเปน เสนกัน้ พรมแดนทางนํ้าที่สําคัญ สวนพรมแดนทางบกมีทิวเขาหลวงพระบางก้ัน ทางตอนบนและทวิ เขาพนมดงรักบางสวนก้ันเขตแดนตอนลา ง 3. เขตแดนท่ีติดตอกับกัมพูชา เร่ิมตนที่พ้ืนที่บางสวนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางจาก อําเภอนํ้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี มาทางทิศตะวันตก แลววกลงใตที่จังหวัดบุรีรัมย ไปส้ินสุดท่ีจังหวัดตราด จังหวัดชายแดนทตี่ ดิ ตอ กับกมั พูชา มี 7 จงั หวดั คือ อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ สุรนิ ทร บรุ รี ัมย สระแกว จันทบรุ ี และ ตราด มีทวิ เขาพนมดงรักและทวิ เขาบรรทดั เปนเสนกน้ั พรมแดน 4. เขตแดนที่ติดตอกับมาเลเซีย ไดแก เขตแดนทางใตสุดของประเทศ ในพ้ืนท่ี 4 จังหวัด คือ สตูล สงขลา ยะลา และนราธวิ าส มแี นวเทือกเขาสนั กาลาครี ี และแมนาํ้ โก-ลกจังหวดั นราธวิ าสเปน เสน กน้ั พรมแดน ภาคเหนอื ภาคเหนือประกอบดว ยพนื้ ท่ีของ 9 จังหวัด ไดแก 1. เชียงราย 2. แมฮองสอน 3. พะเยา 4. เชียงใหม 5. นา น 6. ลาํ พูน 7. ลาํ ปาง 8. แพร 9. อุตรดิตถ ลกั ษณะภมู ิประเทศทัว่ ไป เปนเทือกเขาสงู ทอดยาวขนานกนั ในแนวเหนือ-ใต และระหวาง เทือกเขาเหลา น้มี ที ี่ราบและมีหบุ เขาสลบั อยทู ั่วไป เทอื กเขาทส่ี ําคญั คอื เทอื กเขาหลวงพระบาง เทือกเขาแดนลาว เทอื กเขาถนนธงชยั เทือกเขา ผปี นนํา้ เทือกเขาขนุ ตาลและ เทือกเขาเพชรบรู ณ ยอดเขาที่สงู ทส่ี ดุ ในภาคน้ี ไดแก ยอดอนิ ทนนท อยู ในจังหวัดเชยี งใหม มคี วามสูงประมาณ 2,595 เมตร จากระดบั น้ําทะเล เทือกเขาในภาคเหนือ เปนแหลงกําเนดิ ของแมนํ้าสายยาว 4 สาย ไดแ ก แมน าํ้ ปง วัง ยม และนาน แมน้ําดงั กลาวนไ้ี หลผา นเขตทร่ี าบหุบเขา พน้ื ทท่ี ง้ั สองฝง ลาํ น้ําจงึ มีดนิ อุดมสมบูรณเ หมาะแก การเพาะปลูก ทําใหม ผี ูค นอพยพไปตงั้ หลกั แหลง ในบรเิ วณดงั กลา วหนาแนน นอกจากนีภ้ าคเหนือยังมแี มนํ้า สายสัน้ ๆ อกี หลายสาย ไดแกแ มนาํ้ กก และแมนาํ้ อิง ไหลลงสู แมนา้ํ โขง สว นแมน า้ํ ปาย แมน า้ํ เมย และแมน า้ํ ยม ไหลลงสแู มนํา้ สาละวิน

4 ภาคกลาง ภาคกลางประกอบดวยพ้ืนทข่ี อง 22 จังหวัด ไดแ ก 1. สโุ ขทยั 2. พิษณโุ ลก 3. กําแพงเพชร 4. พจิ ติ ร 5. เพชรบรู ณ (ภาคกลางตอนบน) 6. นครสวรรค 7. อทุ ยั ธานี 8. ชยั นาท 9. ลพบรุ ี 10. สิงหบ รุ ี 11. อางทอง 12. สระบรุ ี 13. สพุ รรณบรุ ี 14. พระนครศรีอยธุ ยา 15. นครนายก 16. ปทมุ ธานี 17. นนทบรุ ี 18. นครปฐม 19. กรุงเทพมหานคร 20. สมุทรปราการ 21. สมทุ รสาคร 22. สมทุ รสงคราม ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่วั ไป เปนท่รี าบดนิ ตะกอนท่ีสายน้ําพดั มาทบั ถม ในบริเวณที่ราบนี้มีภูเขาโดด ๆ ซึง่ สวนใหญเปนภูเขาหินปูนกระจาย อยูท่ัวไป ภูมิประเทศตอนบนของภาคกลางเปนท่ีราบลูกฟูก คือเปนที่ สูง ๆ ตํ่า ๆ และมีภูเขาท่ีมีแนวตอเนื่องจากภาคเหนือ เขามาถึงพื้นท่ีบางสวนของจังหวัดพิษณุโลก และ เพชรบูรณ สว นพื้นท่ตี อนลางของภาคกลางนั้นเปนดินดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้าเจาพระยา ซ่ึงเกิดจากการ รวมตัวของแมนํ้าปง วัง ยม นาน นอกจากแมนํ้าเจาพระยา แลวตอนลางของภาคกลางยังมีแมน้ําไหลผาน อีกหลายสาย ไดแ ก แมน้าํ แมกลอง แมน า้ํ ทา จนี แมน าํ้ ปาสัก และแมนํา้ นครนายก เขตน้ีเปนท่ีราบกวางขวาง ซ่ึงเกิดจากดินตะกอน หรือดินเหนียวที่สายนํ้าพัดพามาทับถมเปนเวลานาน จึงเปนพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูกมาก และเปนเขตท่ีมีประชากรมากท่ีสุดในประเทศไทย ฉะนั้นภาคกลางจึงไดช่ือวา เปนอูขา ว อูน ้ําของไทย

5 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ประกอบดวยพื้นที่ของ 20 จงั หวดั ไดแ ก 1.เลย 2. หนองคาย 3. อุดรธานี 4. สกลนคร 5. นครพนม 6. ขอนแกน 7. กาฬสินธุ 8. มุกดาหาร 9. ชยั ภูมิ 10. มหาสารคาม 11. รอยเอ็ด 12. ยโสธร 13. นครราชสมี า 14. บุรรี มั ย 15. สุรนิ ทร 16. ศรสี ะเกษ 17. อุบลราชธานี 18. อาํ นาจเจรญิ 19. หนองบัวลาํ ภู 20. บึงกาฬ ลักษณะภูมิประเทศทั่วไป มลี ักษณะ เปนแอง คลายจาน ลาดเอยี งไปทางตะวนั ออก เฉยี งใตม ขี อบเปนภเู ขาสูงทางตะวันตกและ ทางใต ขอบทางตะวนั ตก ไดแก เทอื กเขา เพชรบรู ณ และเทือกเขาดงพญาเย็น สวนทางใต ไดแก เทอื กเขาสันกําแพง และเทอื กเขาพนม ดงรัก พ้นื ท่ีดานตะวันตกเปน ทร่ี าบสูง เรียกวา ท่รี าบสงู โคราช ภูเขาบรเิ วณน้ีเปนภเู ขาหินทราย ทร่ี จู กั กนั ดีเพราะเปนแหลง ทอ งเที่ยว คือ ภูกระดงึ ภูหลวง ในจังหวัดเลย แมนาํ้ ท่สี าํ คญั ของภาคนไ้ี ดแ ก แมน้าํ ชี และแมน า้ํ มลู ซ่ึงมีแหลงกําเนดิ จาก เทือกเขาทางทศิ ตะวันตก และทางใตแ ลวไหลลงสแู มน้ําโขง ทําใหสองฝง แมนํา้ เกดิ เปน ทรี่ าบน้ําทว มถงึ เปน ตอน ๆ พน้ื ท่รี าบในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มกั มีทะเลสาบรปู แอง เปน จํานวนมาก แตท ะเลสาบเหลา นจ้ี ะมี น้ําเฉพาะฤดูฝนเทา น้นั เมอ่ื ถึงฤดรู อนน้ําก็จะเหอื ดแหงไปหมด เพราะดนิ สว นใหญเปน ดินทรายไมอ ุมนํ้า น้าํ จึงซมึ ผานไดเ รว็ ภาคน้ีจึงมีปญ หาเรอื่ งการขาดแคลนน้าํ และดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ ทําใหพ้นื ทบ่ี างแหง ไมสามารถใชประโยชนในการเกษตรไดอ ยา งเตม็ ท่ี เชน ทุง กลุ ารองไห ซึ่งมเี นือ้ ทีถ่ ึงประมาณ 2 ลา นไร ครอบคลมุ พื้นท่ี 5 จงั หวัด ไดแ ก รอยเอด็ สรุ ินทร มหาสารคาม ยโสธร และศรสี ะเกษ ซง่ึ ปจ จบุ นั รัฐบาล ไดพยายามปรบั ปรงุ พน้ื ที่ใหด ีข้ึน โดยใชร ะบบชลประทานสมัยใหม ทาํ ใหส ามารถเพาะปลกู ไดจนกลายเปน แหลงเพาะปลกู ขา วหอมมะลทิ ีด่ ีทส่ี ดุ แหง หน่ึงของประเทศไทย แตกป็ ลกู ไดเ ฉพาะหนา ฝนเทา น้ัน หนาแลง สามารถทําการเพาะปลูกไดเ ฉพาะบางสวนเทานั้น ยงั ไมค รอบคลุมบรเิ วณทั้งหมด ภาคตะวนั ตก ภาคตะวนั ตก ประกอบดว ยพน้ื ท่ีของ 5 จงั หวดั ไดแก 1. ตาก 2. กาญจนบรุ ี 3. ราชบุรี 4. เพชรบุรี 5. ประจวบครี ขี นั ธ ลักษณะภมู ิประเทศทวั่ ไป สวนใหญเ ปน เทือกเขาสงู ไดแ ก เทอื กเขาถนนธงชัย และเทือกเขาตะนาว ศรีเปน แนวภเู ขาที่ซับซอนมที ร่ี าบแคบ ๆ ในเขตหุบเขาเปนแหง ๆ และมีที่ราบเชิงเขาตอเน่ืองกับที่ราบภาค กลางเทือกเขาเหลาน้ีเปนแหลงกําเนิดของ แมน้ําแควนอย (แมน้ําไทรโยค) และแมน้ําแควใหญ (ศรีสวัสด์ิ) ซ่ึงไหลมาบรรจบกัน เปนแมน้ําแมกลอง ระหวางแนวเขามีชองทางติดตอกับประเทศเมียนมารได ท่ีสําคัญคือ ดา นแมล ะเมาในจังหวัดตาก และดานพระเจดียส ามองค ในจังหวัดกาญจนบุรี

6 ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออก ประกอบดว ยพื้นที่ของ 7 จงั หวัดไดแ ก 1. ปราจนี บรุ ี 2. ฉะเชงิ เทรา 3. ชลบุรี 4. ระยอง 5. จันทบรุ ี 6. ตราด 7. สระแกว ลกั ษณะภูมิประเทศท่ัวไป คือ เปนที่ราบใหญอยูทางตอนเหนือของภาค มีเทือกเขาจันทบุรีอยูทาง ตอนกลางของภาค มเี ทือกเขาบรรทดั อยทู างตะวนั ออกเปน พรมแดนธรรมชาติระหวา งประเทศไทยกับประเทศ กัมพชู า และมที ี่ราบชายฝง ทะเลซึ่งอยรู ะหวา งเทอื กเขาจนั ทบรุ ีกบั อา วไทย ถึงแมจ ะเปน ทีร่ าบแคบ ๆ แตก เ็ ปน พืน้ ดนิ ทอ่ี ุดมสมบรู ณเ หมาะสาํ หรบั การปลกู ไมผ ล ในภาคน้ีมจี งั หวัดปราจีนบรุ ีและจงั หวัดสระแกวเปน จงั หวดั ท่ี ไมมีอาณาเขตจดทะเล นอกน้ันทุกจังหวัดลวนมีทางออกทะเลท้ังสิ้น ชายฝงทะเลของภาคเริ่มจากแมน้ํา บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราไปถึงแหลมสารพัดพิษ จังหวัดตราด ยาวประมาณ 505 กิโลเมตร เขตพ้ืนท่ี ชายฝงของภาคมีแหลมและอาวอยูเปนจํานวนมากและมีเกาะใหญนอยเรียงรายอยูไมหางจากฝงนัก เชน เกาะชาง เกาะกดู เกาะสีชัง เกาะลา น เปน ตน

7 ภาคใต ภาคใตป ระกอบดวยพืน้ ทีข่ อง 14 จงั หวดั ไดแ ก 1. ชุมพร 2. สุราษฎรธ านี 3. นครศรีธรรมราช 4. พทั ลงุ 5. สงขลา 6. ปตตานี 7. ยะลา 8. นราธิวาส 9. ระนอง 10. พังงา 11. กระบี่ 12. ภเู ก็ต 13. ตรงั 14. สตลู ลกั ษณะภมู ิประเทศทัว่ ไป เปน คาบสมุทรยื่นไปในทะเลทางตะวันตกของคาบสมุทรมีเทือกเขาภูเก็ต ทอดตัวเลียบชายฝง ไปจนถงึ เกาะภเู ก็ต ตอนกลางของภาคมเี ทือกเขานครศรธี รรมราช สวนทางตอนใตสุดของ ภาคใตมเี ทอื กเขาสนั กาลาครี ี วางตัวในแนวตะวันออก-ตะวนั ตก และเปน พรมแดนธรรมชาติก้ันระหวา งไทยกับ มาเลเซยี ดวย พื้นทีท่ างชายฝง ตะวนั ออกมีทร่ี าบมากกวาชายฝง ตะวนั ตก ไดแก ท่รี าบในเขตจงั หวดั นครศรธี รรมราช พทั ลงุ สงขลา ปตตานี และนราธวิ าส ชายฝง ทะเลดา นตะวนั ออกของภาคใตม ชี ายหาดเหมาะสําหรับเปน ท่ี ตากอากาศหลายแหง เชน หาดสมิหลา จงั หวัดสงขลาและหาดนราทัศน จังหวัดนราธิวาส เปนตน เกาะที่สําคัญ ทางดานน้ี ไดแก เกาะสมุยและเกาะพงัน สวนชายฝงทะเลดานมหาสมุทรอินเดีย มีเกาะท่ีสําคัญคือ เกาะภูเก็ต เกาะตรเุ ตา เกาะยาวและเกาะลนั ตา นอกจากน้ี ในเขตจังหวัดสงขลาและพัทลุงยังมีทะเลสาบเปด (lagoon) ที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ทะเลสาบสงขลา มีความยาวจากเหนือจดใต ประมาณ 80 กิโลเมตร สว นทกี่ วา งท่ีสุด ประมาณ 20 กิโลเมตร คิดเปนเน้ือที่ประมาณ 974 ตารางกิโลเมตร สวนเหนอื สดุ ของทะเลสาบเปน แหลง นาํ้ จดื เรยี กวา ทะเลนอย แตท างสว นลา งนํ้าของทะเลสาบจะเคม็ เพราะมี นานนํ้าตดิ กบั อา วไทย น้าํ ทะเลจงึ ไหลเขามาได ในทะเลสาบสงขลามีเกาะอยูหลายเกาะ บางเกาะเปนท่ีทํารัง ของนกนางแอน บางเกาะเปนที่อยูของเตาทะเล นอกจากนี้ในทะเลสาบยังมี ปลา และกุงชุกชุมอีกดวย สวนชายฝง ทะเลดานตะวันตกของภาคใตม ีลักษณะเวาแหวงมากกวาดานตะวันออก ทําใหมีทิวทัศนที่สวยงาม หลายแหง เชน หาดนพรตั นธ ารา จงั หวดั กระบ่ี หมูเกาะซิมิลนั จังหวัดพังงา ชายฝงตะวันตกของภาคใตจ งึ เปน สถานท่ีทองเที่ยวที่สําคัญแหงหน่ึงของประเทศ แมน้ําในภาคใต สวนใหญเปนแมน้ําสายส้ัน ๆ ไหลจาก เทือกเขาลงสูท ะเล ทสี่ าํ คัญไดแก แมน้าํ โก-ลก ซงึ่ กนั้ พรมแดนไทยกับมาเลเซียในจังหวัดนราธิวาส แมน้ํากระ บุรีซ่ึงก้ันพรมแดนไทยกับพมาในเขตจังหวัดระนอง แมนํ้าตาปในจังหวัดสุราษฏรธานี และแมนํ้าปตตานีใน จงั หวัดยะลาและปตตานี ทวีปเอเชยี 1. ขนาดทตี่ งั้ และอาณาเขตติดตอ ทวีปเอเชยี เปนทวีปที่มีขนาดใหญท ส่ี ดุ มพี ้ืนทปี่ ระมาณ 44 ลานตารางกโิ ลเมตร เปนทวีปที่มพี ื้นทก่ี วาง ท่สี ดุ ในโลกต้ังอยูทางทิศตะวันออกของโลก ทวีปเอเชียตั้งอยูระหวางละติจูด 1 องศา 15 ลิปดาเหนือถึง 77 องศา 41 ลปิ ดาเหนือและลองติจดู 24 องศา 4 ลปิ ดา ตะวนั ออกถึง 169 องศา 40 ลิปดาตะวันตก อาณาเขตติดตอ ทิศเหนอื ตดิ กับมหาสมทุ รอารกตกิ ทศิ ใต ตดิ กบั มหาสมทุ รอินเดีย ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั มหาสมทุ รแปซฟิ ก

8 ทศิ ตะวันตก ติดกับเทอื กเขาอรู าล ทวีปยุโรป 2. ลกั ษณะภมู ิประเทศของทวปี เอเชยี ทวปี เอเชยี มีลกั ษณะเดนคือ มีภมู ปิ ระเทศทีเ่ ปนภเู ขาสงู อยูเกอื บใจกลางทวีป ภูเขาดังกลาวทําหนาที่ เหมือนหลังคาโลกเพราะเปนจุดรวมของเทือกเขาสําคัญ ๆ ในทวีปเอเชียจุดรวมสําคัญ ไดแก ปามีรนอต ยูนนานนอต และอามเี นยี นนอต เทอื กเขาสูง ๆ ของทวีปเอเชียวางแนวแยกยายไปทุกทิศทุกทางจากหลังคาโลก เชน เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขาฮินดูกูซ เทือกเขา สุไลมาน ยอดเขาเอเวอรเ รสต มีระดับสูง 8,850 เมตร จากระดับน้ําทะเล (29,028 ฟุต) เปนยอดเขาสูงท่ีสุด ในโลกตงั้ อยูบนเทอื กเขาหมิ าลยั ระหวางเทือกเขาเหลานี้มีพื้นท่ีคอนขางราบแทรกสลับอยู ทําใหเกิดเปนแอง แผนดนิ ที่อยูในท่ีสูง เชน ที่ราบสูงทิเบต ท่ีราบสูงตากลามากัน ที่ราบสูงมองโกเลีย ท่ีราบสูงยูนาน ลักษณะ ภมู ิประเทศดงั กลา วขางตนทาํ ใหบ ริเวณใจกลางทวีปเอเชียกลายเปนแหลงตนกําเนิดของแมนํ้าสายสําคัญที่มี รูปแบบการไหลออกไปทุกทิศโดยรอบหลังคาโลก เชนไหลไปทางเหนือมีแมน้ําอ็อบ เยนิเซ ลีนา ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือมีแมน้ําอามูร ทางตะวันออกมแี มนํ้าฮวงโห (หวงเหอ) แยงซีเกียง (ฉางเจียง) ซีเกียง (ซเี จียง) ทางตะวนั ออกเฉียงใตมีแมน้ําแดงโขง เจาพระยา สาละวิน อิระวดี ทางใตมีแมน้ําพรหมบุตร คงคา สินธุ ทางตะวันตกมีแมนํ้าอามู ดารยา จากท่ีสูงอามีเนียนนอต มีแมน้ําไทกรีส ยูเฟรตีส บทบาทของลุมน้ํา เหลา นี้ คอื พัดพาเอาตะกอนมาทบั ถมทร่ี าบอันกวางใหญไพศาล กลายเปนแหลงเกษตรกรรมและที่อยูอาศัย สาํ คัญ ๆ ของชาวเอเชีย โดยเฉพาะทรี่ าบดินดอนสามเหลย่ี มปากแมน ้าํ จึงกลายเปนแหลงที่มีประชากรอาศัย อยหู นาแนนทีส่ ดุ 3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศของทวีปเอเชีย ทวปี เอเชยี โดยสวนรวมประมาณ ครึง่ ทวปี อยภู ายใตอทิ ธิพลของลมมรสุมตงั้ แต ปากีสถานถึงคาบสมทุ รเกาหลี เปนผลทาํ ใหมีฝน ตกชกุ ในฤดูมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต และมีอากาศ หนาวในฤดูมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ในเขต ละติจดู กลางหรือเขตอบอุน แถบจีนและญป่ี ุน จะไดรับอิทธิพลจากแนวปะทะอากาศบอยครง้ั ทางชายฝง ตะวันออกของทวีปตั้งแตญ ปี่ นุ อนิ โดนีเซีย จะไดร ับอทิ ธพิ ลของลมไตฝนุ และดีเปรสช่นั ทําใหดินแดนชายฝง ตะวนั ออกของหมเู กาะไดร บั ความเสยี หายจากลมและฝนเสมอ ทางเอเชียตะวันออกเฉยี งใตและเอเชยี ใต ซงึ่ อยูใ กลศนู ยส ตู รจะมี ปรากฏการณของหยอ มความกดอากาศต่ําทาํ ใหมอี ากาศลอยตวั กอ เปน พายฟุ า คะนองเกดิ ขน้ึ เปนประจาํ ในเวลาบา ย ๆ หรือใกลคํา่ แถบทีอ่ ยูล กึ เขาไปในทวีปหางไกลจากทะเลจะมีภมู ิอากาศแหงแลง เปนทะเลทราย

9 4. สภาพทางสังคม วฒั นธรรม ภาษา ศาสนา เชื้อชาติเผาพันธุ ประชากร 2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด เปนพวกมองโกลอยด มีพวกคอเคซอยด อยูบ าง เชน ชาวรสั เซียอพยพมาจากยุโรปตะวันออก ประชากรของเอเชียมีความหลากหลาย ดานประกอบ อาชีพ เศรษฐกิจของประเทศในเอเชียขึ้นอยูกับภาคเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพดาน การเกษตร คือ การเพาะปลกู ขาว ขา วโพด และมกี ารเลีย้ งสัตว ทั้งเลยี้ งไวเปนอาหาร และทํางาน นอกจากนี้ ยงั มีการคาขาย การประมง การทาํ เหมืองแร ลักษณะทางเศรษฐกิจ 1. การเพาะปลูกทําในที่ราบลุมของแมนํ้าตาง ๆ ไดแก ขาว ยางพารา ปาลม ปอ ฝาย ชา กาแฟ ขาวโพด 2. การเลีย้ งสัตว ในเขตอากาศแหงแลงจะเล้ียงแบบเรรอ นซงึ่ เลี้ยงไวใชเนื้อและนมเปนอาหาร ไดแก อฐู แพะ แกะ โค มา และจามรี 3. การทําปาไม ปา ไมในเขตเมอื งรอนจะเปนไมเ น้ือแข็ง ผลผลิตทไ่ี ดส วนใหญนําไปกอสราง 4. การประมง ทําในบริเวณแมนา้ํ ลําคลอง หนอง บึงและชายฝง ทะเล 5. การทําเหมืองแร ทวีปเอเชยี อดุ มไปดว ยแรธ าตุนานาชนดิ 6. อตุ สาหกรรม การทําอุตสาหกรรมหลายประเทศในเอเชีย เร่ิมจากอุตสาหกรรมในครัวเรือนแลว พฒั นาข้ึนเปน โรงงานขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ ประชากร ทวีปเอเชียมีประชากรมากท่ีสุดในโลกประมาณ 3,155 ลานคน ประชากรสวนใหญมาจากพันธุ มองโกลอยดประชากรอาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและท่ีราบลุมแมนํ้าตาง ๆ เชน ลุมแมนํ้า เจาพระยา ลุมแมน้ําแยงซีเกียง ลุมแมน้ําแดงและลุมแมน้ําคงคาสวนบริเวณท่ีมีประชากรเบาบาง จะเปน บริเวณท่แี หงแลง กันดารหนาวเยน็ และในบรเิ วณทเ่ี ปน ภเู ขาซบั ซอน ซึง่ สวนใหญจะเปน บรเิ วณกลางทวีป ภาษา 1. ภาษาจนี ภาษาที่ใชกันมากในทวีปเอเชีย โดยใชกันในประเทศจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน สิงคโปร ประมาณวาประชากรเอเชีย 1,000 ลานคน พูดภาษาจีน แตเปนภาษาที่แตกตางกันไป เชน ภาษาแตจ๋ิว ไหหลาํ จีนกลาง หรอื ทเ่ี รยี กวา ภาษาแมนดาริน 2. ภาษาอินเดีย เปน ภาษาที่ใชก ันแพรห ลายรองลงมาอันดบั 2 โดยสว นใหญใ ชกันในประเทศอนิ เดีย และปากีสถาน 3. ภาษาอาหรบั เปนภาษาที่ใชกนั แพรหลายมากอนั ดบั 3 โดยใชกนั ในแถบเอเชียตะวนั ตกเฉยี งใต

10 4. ภาษารัสเซยี เปนภาษาทใี่ ชก ันมากอันดับ 4 โดยใชกันในรัสเซยี และเครือจกั รภพ ศาสนา ทวีปเอเชียเปนแหลงกําเนิดศาสนาท่ีสําคัญของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู และยูดาห ในเอเชียตะวันตกเฉียงใตประชากรสวนใหญนับถือศาสนาฮินดูกวา 500 ลานคน ในอินเดีย รองลงมาคือ ศาสนาอิสลามมีผูนับถือประมาณ 450 ลานคน นอกจากน้ียังมีลัทธิเตา ลัทธิขงจื้อ ที่แพรห ลายในจนี ลทั ธชิ นิ โตในญปี่ นุ ทวีปยุโรป 1. ขนาดท่ีตงั้ และอาณาเขตตดิ ตอ ทวีปยโุ รปเปน ทวีปทมี่ ลี กั ษณะทางกายภาพทีเ่ หมาะสมในการต้งั ถ่ินฐานทงั้ ในดา นลักษณะภูมปิ ระเทศ ท่มี ที รี่ าบลมุ เทือกเขาทีไ่ มตง้ั กนั้ ทางลม มีแมน้าํ หลายสาย ลกั ษณะภมู อิ ากาศทอ่ี บอุน ชุมชน่ื มีทรพั ยากรธรรมชาติ คอื เหลก็ และถานหนิ ซึ่งเปนสว นสําคัญอยางยงิ่ ตอการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ จึงสง ผลใหท วปี ยโุ รป มปี ระชากรตั้งถิน่ ฐาน หนาแนนทส่ี ุดในโลก อีกท้ัง เปน ทวีปทีม่ อี ารยธรรมท่ี เกาแก คือ อารยธรรมกรกี และโรมัน ทวีปยุโรป เปนทวีปที่ตั้งอยู ระหวางละติจูด 36 องศา 1 ลิปดาเหนือถึง 71 องศา 10 ลปิ ดาเหนอื และระหวางลองติ จูด 9 องศาตะวันตก ถึง 66 องศาตะวันออก จากพิกัด ภูมศิ าสตรจ ะสงั เกตไดว า ทวีป ยุโรปมีพื้นที่ท้ังหมดอยูในซีกโลกเหนือและอยูเหนือเสนทรอปคออฟแคนเซอรมีเสนสําคัญที่ลากผาน คือ เสนอารกตกิ เซอรเคลิ และเสน ลองตจิ ดู ที่ 0 องศา มีเนื้อท่ีประมาณ 9.9 ลานตารางกิโลเมตร จึงเปนทวีปที่มี ขนาดเล็ก โดยมีขนาดเลก็ รองจากทวีปออสเตรเลยี

11 อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ กับมหาสมทุ รอารกตกิ และข้วั โลกเหนือ จุดเหนอื สดุ อยทู แ่ี หลมนอรท (North Cape) ในประเทศนอรเ วย ทิศใต ตดิ กบั ทะเลเมดิเตอรเรเนียน จดุ ใตส ุดอยทู ่เี กาะครตี ประเทศกรชี ทิศตะวันออก ติดตอ กับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราล เทือกเขาคอเคซัสและทะเลแคสเปยนเปน เสน ก้นั พรมแดน ทิศตะวันตก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันตกสุดของทวีปอยูท่ีแหลมโรคาประเทศ โปรตเุ กส 2. ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศแบง ออกเปน 4 เขต ไดแก 1. เขตเทอื กเขาตอนเหนือ ไดแ ก บรเิ วณคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ภมู ิประเทศสวนมากประกอบดวย เทือกเขาสงู และท่รี าบชายฝงทะเล เทือกเขาที่สําคัญในบริเวณน้ีไดแก เทือกเขาเซอรอนและเทือกเขาแกรม เปยน เนื่องจากทวีปยุโรปเคยถูกปกคลุมดวยน้ําแข็งมากอน บริเวณชายฝงทะเลถูกธารน้ําแข็งกัดเซาะและ ทับถม ทาํ ใหเกิดชายฝง เวาแหวงและอา วนํ้าลกึ ทเี่ รยี กวา ฟยอรด พบมากในประเทศนอรเวยและแควน สกอตแลนด 2. เขตที่ราบสูงตอนกลาง ประกอบดวยท่ีราบสูงสําคัญ ไดแก ที่ราบสูงแบล็กฟอเรสตตอนใตของ เยอรมันนี ที่ราบสูงโบฮีเมีย เขตติดตอระหวางเยอรมันนีและสาธารณรัฐเช็คท่ีราบเมเซตา ภาคกลางของ คาบสมุทรไซบีเรยี ในเขตประเทศสเปนและโปรตุเกส ทรี่ าบสูงมสั ชพี ซองตรลั ตอนกลางของประเทศฝร่ังเศส 3. เขตทีร่ าบตอนกลาง ครอบคลุมพื้นที่ต้ังแตช ายฝง มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ไปจนถึงเทอื กเขา อูราลในรัสเซีย ตะวันตกของฝรั่งเศส ตอนใตของสหราชอาณาจักรเบลเย่ียม เนเธอรแลนด เดนมารก ภาคเหนือของเยอรมันนีโปแลนดและบางสวนของรัสเซียเปนบริเวณที่มีประชากรอาศัยอยูหนาแนนท่ีสุด และมคี วามสําคญั ทางเศรษฐกจิ อยา งมาก เนือ่ งจากเปน พ้ืนทเี่ กษตรกรรมท่ีสําคญั ของทวีปในบริเวณนี้มีแมนํ้า ทสี่ ําคัญไดแ ก แมน ้าํ ไรน แมน าํ้ เชน แมน ้าํ ลวั ร และแมน้าํ เอลเบ 4. เขตเทอื กเขาตอนใต ประกอบดว ยเทอื กเขาสงู เทอื กเขาทส่ี ําคัญในบรเิ วณน้ไี ดแก เทือกเขาแอลป ซ่ึงเปนเทือกเขาที่มีขนาดใหญท่ีสุดในทวีปยุโรป ทอดตัวยาวต้ังแตตะวันออกเฉียงใตของฝร่ังเศสผาน สวิตเซอรแลนด เยอรมนั นี ออสเตรีย เซอรเ บยี ไปจนถงึ ทางเหนือของอิตาลี บรเิ วณยอดเขามธี ารนํ้าแข็ง ปกคลมุ เกอื บตลอดทง้ั ป บางชวงเปนหุบเขาลึก ยอดเขาทส่ี งู ท่สี ดุ ในเทอื กเขาแอลป คือ มองตบลงั ก สูง 4,807 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล นอกจากน้ยี งั ประกอบดวยยอดเขาคอเคซัส ทางตอนใตข องรสั เซียมียอดเขาเอลบรูส สงู 5,642 เมตร จากระดบั น้ําทะเล ซ่ึงเปน ยอดเขาที่สูงที่สุดในยโุ รป แมนาํ้ แมน าํ้ ทส่ี าํ คัญในทวปี ยโุ รป มีดังนี้ แมนาํ้ โวลกา เปนแมน ้ําสายยาวที่สดุ ในทวีป มีตน นา้ํ อยูบรเิ วณตอนกลางของสหพนั ธรฐั รัสเซยี ไหลลง สทู ะเลแคสเปย น

12 แมนํ้าดานูบ มีตนกําเนิดจากเทือกเขาทางภาคใตของเยอรมัน ไหลผานประเทศออสเตรีย ฮังการี ยูโกสลาเวีย พรมแดนระหวางประเทศบลั แกเรียกับประเทศโรมาเนีย แลวไหลลงสูทะเลดํา แมน้ําดานูบเปน แมน้าํ ท่ีไหลผานหลายประเทศ ดงั นั้นจงึ ถือวาเปนแมนํ้านานาชาติแตในดานความสําคัญของการขนสงสินคา อุตสาหกรรมน้นั มีไมมากเทา กบั แมน ํา้ ไรน เนอื่ งจากแมน ํ้าดานูบไหลออกสทู ะเลดาํ ซง่ึ เปนทะเลภายใน แมนํา้ ไรน มตี นกาํ เนิดจากเทือกเขาแอลปท างตอนใตข องสวิสเซอรแ ลนด ไหลขนึ้ ไปทางเหนอื ระหวาง พรมแดนฝรัง่ เศสและเยอรมันไปยงั เนเธอรแ ลนด แลวไหลลงทะเลเหนือ แมน้ําไรนเปนแมนํ้าที่มีความสําคัญ มาก มปี ริมาณน้าํ ไหลสม่ําเสมอ ไหลผานท่รี าบและไหลผา นหลายประเทศจึงถอื วา เปน แมน้ํานานาชาติ และยงั เปน เสน ทางขนสง วตั ถุดบิ และสนิ คา ท่ีสาํ คัญ คอื ถา นหนิ แรเหล็ก และแปงสาลี โดยเฉพาะการขนสงถานหิน ซ่งึ มปี รมิ าณมากในยานอุตสาหกรรมถา นหินของเยอรมัน แมนํ้าสายน้ีจึงไดรับสมญานามวา “แมนํ้าถานหิน” การขนสง สินคาผา นทางแมน้าํ ไรนน้ี จะออกสูบรเิ วณปากแมน ้าํ ซง่ึ เปน ท่ีตั้งของเมืองทา รอตเตอรด ัม (เนเธอรแ ลนด) ซึง่ เปนเมืองทาทส่ี าํ คญั ท่สี ุดของทวีป 3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ เขตอากาศ ปจจัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอ ภมู ภิ าคอากาศของทวปี ยโุ รป 1. ละติจูด ทวีปยโุ รปมที ่ตี ้งั อยรู ะหวา งละตจิ ูด 36 องศา 1 ลิปดาเหนือ ถึง 71 องศา 10 ลิปดาเหนือ พ้ืนท่ีสว นใหญอ ยูใ นเขตอบอนุ มีเพียงตอนบนของทวปี ที่อยใู นเขตอากาศหนาวเย็นและ ไมม ีสวนใดของทวีป ที่อยใู นเขตอากาศรอน 2. ลมประจาํ ลมประจาํ ท่ีพดั ผา นทวีปยุโรป คือ ลมตะวันตก ซึง่ พดั มาจากมหาสมทุ รแอตแลนติกเขา สทู วีปทางดา นตะวันตก มผี ลทาํ ใหบ รเิ วณฝง ตะวนั ตกของทวีปมีปริมาณฝนคอนขางมาก อุณหภูมิระหวางฤดู รอนกับฤดูหนาวไมคอยแตกตางกันมากนัก แตถาลึกเขามาภายในทางดานตะวันออกของทวีปซึ่งติดกับทวีป เอเชียน้ัน ปรมิ าณฝนจะลดลงและจะมคี วามแตกตางของอณุ หภมู ริ ะหวางฤดูรอนกับฤดฝู นมากขึน้ ดว ย 3. ความใกลไ กลทะเล ทวีปยุโรปมีชายฝงทะเลยาวและเวาแหวง ประกอบกับมีพื้นท่ีติดทะเลถึง 3 ดา น ทาํ ใหไดร ับอิทธพิ ลจากทะเลและมหาสมุทรอยางท่ัวถึง โดยเฉพาะบริเวณที่อยูใกลชายฝง ดังน้ันจึงไมมี พื้นทใี่ ดในทวปี ยโุ รปทีม่ ภี ูมอิ ากาศแหงแลง 4. ทิศทางของเทอื กเขา เทือกเขาสว นใหญใ นทวปี วางตัวในแนวทิศตะวันออกตะวันตก ทําใหไมก้ัน ขวางทางลมตะวันตกท่ีพัดเขาสทู วปี 5. กระแสน้าํ ในมหาสมทุ ร บรเิ วณ ชายฝงมีกระแสนํ้าอุน แอตแลนติกเหนอื ไหลผา น ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนอื ของทวปี ทาํ ใหน า นนํ้าบริเวณเกาะบรเิ วนใหญแ ละประเทศ นอรเวยไ มเ ปนน้ําแข็งในฤดหู นาว จึงแตกตางจาก บริเวณทะเลบอลติกท่นี ํา้ กลายเปนนํ้าแขง็ ทาํ ให ประเทศสวเี ดน ตอ งเปลยี่ นเสน ทางการขนสง

13 สินคา จากทางเรือไปเปน การขนสง โดยใชเ สน ทางรถไฟจากสวเี ดนไปยงั นอรเ วยแ ลวจงึ นําสนิ คาลงเรือที่เมอื งทา ประเทศนอรเวย เขตภมู อิ ากาศแบง ออกไดเ ปน 7 เขต ดังน้ี 1. ภมู อิ ากาศแบบทะเลเมดเิ ตอรเ รเนี่ยน ไดแก บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนในเขตประเทศ อติ าลี ฝร่ังเศส ภาคใตของสเปน แอลเบเนีย กรีซ บัลแกเรีย และเซอรเบีย ฤดูรอนมีอากาศรอน อุณหภูมิ เฉล่ยี 23 องศาเซสเซยี ส ในฤดหู นาวมอี ากาศอบอุน และมฝี นตกอุณหภูมิเฉลีย่ 8 องศาเซลเซยี ส ปริมาณฝนตก เฉลย่ี 500 - 1,000 มลิ ลเิ มตรตอ ป 2. ภูมอิ ากาศแบบทงุ หญา กงึ่ ทะเลทราย ไดแก บรเิ วณภาคกลางของคาบสมทุ รไซบเี รยี ตอนเหนือ ของทะเลดําและทะเลแคสเปยนในเขตประเทศ ฮังการี ยเู ครน โรมาเนยี และตอนใตข องรสั เซยี มีฝนตกนอยมาก เฉลีย่ ปล ะ 250 -500 มิลลิเมตรตอป 3. ภูมิอากาศแบบพื้นสมทุ ร ไดแก สหราชอาณาจักร เนเธอรแ ลนด ฝร่ังเศส เดนมารก เบลเยี่ยม และตอนเหนือของ เยอรมนี มฝี นตกชุกตลอดทง้ั ปเ ฉลีย่ 750 - 1,500 มิลลเิ มตรตอ ป ฤดูหนาวอากาศ ไมห นาวจัด อุณหภมู เิ ฉลย่ี 1 - 7 องศา เซลเซียส เนื่องจากไดร ับอทิ ธพิ ลจากกระแส นาํ้ อุนแอตแลนติกเหนอื 4. ภมู อิ ากาศแบบอบอุนชน้ื ไดแ ก บรเิ วณท่รี าบลุมแมน ้ําดานบู ในฮังการีตอนเหนือของเซอรเบียและ โรมาเนยี มีอากาศอบอนุ ฝนตกตลอดท้ังปเ ฉลย่ี 500 - 1,000 มิลลิเมตรตอป เนื่องจากไดรับอิทธิพลความชื้น จากทะเล 5. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้นภาคพ้ืนทวีป ไดแก ยุโรปตะวันออก และยุโรปกลาง รัสเซีย สาธารณ รัฐเช็ค สาธารณรัฐสโลวักและโปแลนด ฤดูหนาวมีอากาศหนาวและแหงแลง ฤดูรอนมีอากาศอบอุนและมี ฝนตก อุณหภมู ิเฉลย่ี 19-20 องศาเซลเซียส ปรมิ าณฝน 500-750 มิลลเิ มตรตอป 6. ภูมิอากาศแบบไทกา ไดแก ตอนเหนือของฟนแลนด สวเี ดน และนอรเวย ฤดูหนาวมีอากาศหนาว เย็นและยาวนาน อุณหภูมิเฉล่ีย 6 องศาเซลเซียส ฤดูรอนอากาศอบอุนอุณหภูมิเฉลี่ย 17 องศาเซลเซียส มีปรมิ าณฝนตกนอยและสว นมากเปน หิมะเฉลี่ย 600 มลิ ลเิ มตรตอป 7. ภูมิอากาศแบบขั้วโลกหรือภูมิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ทางเหนือของทวีปที่มีชายฝงติดกับ มหาสมทุ รอารก ตกิ ฤดูหนาวมอี ากาศหนาวจดั และยาวนานปล ะ 10-11 เดือน ฤดูรอ นมีอากาศอบอนุ และ

14 สนั้ เพยี ง 1-2 เดือน อณุ หภมู ิเฉล่ียตลอดทงั้ ปประมาณ 10 องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกนอ ยมากและสวนมาก เปน หิมะ 4. ลักษณะเศรษฐกจิ และ สภาพแวดลอมทางสังคมวฒั นธรรม ลกั ษณะเศรษฐกิจ ทวีปยุโรปมคี วามเจรญิ ทัง้ ในดา นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยมีเขตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ดงั นี้ การทาํ เกษตรกรรม 1. เขตปลูกขา วสาลี ไดแ ก บรเิ วณทรี่ าบภาคกลาง โดยเฉพาะบรเิ วณประเทศฮังการี โรมาเนีย ยูเครน ซ่งึ เปน แหลงผลิตขาวสาลีแหลงใหญ 2. เขตทําไรปศุสัตว สวนใหญจะพบในบริเวณเขตอากาศแหงแลง ไมคอยเหมาะกับการเพาะปลูก แตม หี ญาทสี่ ามารถเลี้ยงสตั วได เชน บริเวณชายฝงทะเลแคสเปยน และท่ีราบสูงของทวีป สัตวที่เลี้ยง ไดแก โคเนื้อ แกะ แพะ สวนการเลี้ยงโคนม จะพบบริเวณเขตอากาศช้ืนภาคพื้นสมุทร เน่ืองจากมีทุงหญาอุดม สมบูรณมากกวา 3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแ ก เขตที่มกี ารเล้ยี งสตั วควบคกู บั การปลกู พืช เชน การปลูกขาวสาลี ขา วบาเลย การเลีย้ งสัตว เชน โคเนอื้ โคนม ซง่ึ พบมากบรเิ วณภาคตะวันตก และภาคกลางของทวีป 4. เขตเกษตรแบบเมดิเตอรเรเนียน พบบรเิ วณเขตชายฝงทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น เชน อติ าลี กรีซ พชื สําคญั ไดแ ก สม องนุ มะกอก 5. เขตเลย้ี งสัตวแบบเรรอ น มกี ารเลยี้ งสตั วแบบท่ีมีการยา ยถิ่นทีอ่ ยูเ พอื่ หาแหลง อาหารแหลง ใหม ท่ีอดุ มสมบรู ณกวา บรเิ วณที่มีการเล้ียงสัตวแบบเรร อ น คอื บรเิ วณท่ีมอี ากาศหนาวเย็น เชน ชายฝง มหาสมุทร อารก ตกิ หรอื เขตอากาศแบบทนุ ดรา การปาไม แหลงปา ไมท่สี าํ คญั ของทวีป คือ เขตภูมิอากาศแบบไทกา บริเวณคาบสมุทร สแกนดิเนเวีย ซึ่งจะมี ปาสนเปน บรเิ วณกวาง การประมง จากลักษณะภูมปิ ระเทศของทวปี ยโุ รปทม่ี ีชายฝง ทะเลยาวและเวา แหวง ตดิ ทะเล ทง้ั 3 ดาน ประกอบ กับการมีกระแสนา้ํ อุน แอตแลนติกเหนือไหลผานทําใหใ นฤดหู นาวนํ้าไมเ ปนนาํ้ แข็ง จงึ กลายเปนแหลง ประมง ทส่ี าํ คัญของทวีป มชี ่อื วา “ดอกเกอรแ บงก (Dogger Bank) การเหมอื งแร ทวปี ยุโรปมที รัพยากรทม่ี ีความสาํ คัญมากตอ การทาํ อุตสาหกรรม ไดแก เหลก็ และถา นหิน

15 แรถ า นหนิ ใชเ ปนเชือ้ เพลงิ ในการถลงุ เหลก็ โดยมแี หลง ถานหนิ ท่สี าํ คญั เชน ภาคเหนอื ของฝรงั่ เศส และภาคกลางของเบลเยยี่ ม เยอรมัน เปน ตน แรเหลก็ เมื่อผา นการถลุงแลว จะนําไปใชในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา โดยมีแหลงแรเหล็กท่ี สาํ คัญ เชน ประเทศสวีเดน ฝร่งั เศส น้าํ มนั ปโตรเลยี มมี 2 แหลงทส่ี าํ คัญ คือ ทะเลเหนอื และทะเลดํา การอุตสาหกรรม ทวีปยโุ รปเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมที่สําคญั แหงหนึ่งของโลก ประเทศที่มีชื่อเสียงมาก คือ สหราช อาณาจักร ฝร่ังเศส เบลเยี่ยม สวีเดน โดยบริเวณน้ีจะมีแรเหล็กและถานหินซ่ึงเปนสวนสําคัญในการทํา อตุ สาหกรรม สภาพแวดลอมทางสังคมและวฒั นธรรม ลักษณะประชากร 1. มีประชากรมากเปนอนั ดบั 4 ของโลก และหนาแนนมากเปนอันดบั 2 ของโลก 2. มกี ารกระจายประชากรทั่วทงั้ ทวปี เนื่องจากความเหมาะสมในดานสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากร 3. บริเวณท่ีมปี ระชากรหนาแนน คอื บรเิ วณทีร่ าบภาคตะวันตกและภาคกลางของทวีป สวนบรเิ วณ ที่มปี ระชากรเบาบาง คอื บริเวณคาบสมทุ รสแกนดิเนเวีย และเขตยุโรปตะวันออก ประวตั ศิ าสตร แบง ได 3 สมยั คอื 1. สมยั โบราณ หรือ อารยธรรมสมยั คลาสสิค มกี รกี และโรมันเปน ศนู ยกลางความเจริญ โดยตง้ั มัน่ อยู ทางตอนใตของทวปี ยโุ รปในแถบทะเลเมดเิ ตอรเรเนียน กรกี ชนชาตกิ รีกไดถ า ยทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไวห ลายประการ ไดแ ก 1. การปกครอง ชาวกรกี ไดใ หสิทธิราษฎรในการลงคะแนนเสยี งเลอื กเจาหนาท่ีฝายปกครอง 2. ศลิ ปวัฒนธรรม ชาวกรีกมีความสามารถในดานวรรณคดี การละคร และสถาปต ยกรรม สถาปตยกรรมท่ีมชี ่อื เสยี ง คอื วหิ ารพาเธนอน นอกจากน้ียังมกี ารแขงขนั กฬี าทเ่ี ปนทร่ี จู ักกันดี คือ กฬี า โอลิมปก 3. ปรชั ญาความคดิ นักปรัชญากรกี ท่มี ชี ื่อเสียง คอื อรสิ โตเติล และเพลโต โรมัน ชนชาติโรมันไดรับความเจริญตาง ๆ จากกรีก สิ่งที่ชาวโรมันไดถายทอดใหกับชนรุนหลังคือ ประมวลกฎหมาย และภาษาละตนิ 2. สมัยกลาง ในชวงน้ียโุ รปมีศกึ สงครามเกอื บตลอดเวลา จนทําใหการพฒั นาดานตาง ๆ ตองหยุดชะงัก ยุคน้ีจึงไดชื่อวาเปน “ยุคมืด” หลังจากผานพนชวงสงครามจึงเปนชวงของการฟนฟูศิลปะวิทยาการเริ่มให ความสําคัญกับมนุษยมากขน้ึ เรยี กยุคน้ีวา ยคุ เรอเนสซองซ (Renaissance)

16 3. สมยั ใหม ยุคน้ีเปน ยคุ แหงการแสวงหาอาณานคิ ม ทําใหศ ลิ ปวัฒนธรรมของชาติตะวันตกแผขยาย ไปยังดินแดนตา ง ๆ นอกจากนี้ยังมีเหตกุ ารณสําคญั คือ การปฏิวัติวทิ ยาศาสตรแ ละการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม ทวีปอเมริกาใต 1. ขนาดที่ตง้ั และอาณาเขตติดตอ ทวีปอเมริกาใตเปนทวีปที่ใหญเปนอันดับ 4 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา และทวีป อเมรกิ าเหนอื มพี ืน้ ท่ีประมาณ 17.8 ลา นตารางกโิ ลเมตร มีประชากรประมาณ 299 ลานคน รูปรางของทวีป อเมริกาใตคลายคลึงกับทวีปอเมริกาเหนือ คือ มีลักษณะคลายรูปสามเหล่ียมหัวกลับ มีฐานกวางอยูทางทิศ เหนือ สว นยอดสามเหลยี่ มอยูทางทิศใต ต้ังอยูในแถบซีกโลกใต ระหวางละติจูด 12 องศา 25 ลิปดาเหนือ ถึง 56 องศาใตและลองติจูด 34 องศา 47 ลิปดาตะวนั ตก ถงึ 81 องศา 20 ลิปดาตะวันตก อาณาเขตของทวปี อเมริกาใตม ดี งั นี้ อาณาเขตตดิ ตอ ทิศเหนือ ติดกับทวีปอเมริกาเหนือ โดยมีคลองปานามาเปนเสนก้ันเขตแดนและติดตอกับทะเล แคริบเบียน ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จุดเหนือสุดอยทู ่ีแหลมกายนี าสในประเทศโคลอมเบีย ทิศใต ติดกับทวีปแอนตารกติกา มีชองแคบเดรกเปนเสนก้ันเขตแดน จุดใตสุดอยูที่แหลมโฟรวารด ในคาบสมทุ รบรนั สวกิ ประเทศชิลี ทศิ ตะวันออก ติดกับมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จดุ ตะวันออกสุดอยูท แ่ี หลมโคเคอรสู ในประเทศบราซลิ ทศิ ตะวันตก ติดกบั มหาสมุทรแปซฟิ ก จุดตะวันตกสุดอยทู แ่ี หลมปารนี เยสในประเทศเปรู 2. ลักษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวีปอเมริกาใตส ามารถแบงออกได 3 ลักษณะไดแก 1. เขตเทือกเขาตะวนั ตก ไดแ ก บรเิ วณเทอื กเขาแอนดสี ซ่งึ ทอดตวั ยาวขนานไปกับชายฝง มหาสมุทร แอตแลนติก ต้ังแตทางเหนือบริเวณทะเลแคริบเบียนไปจนถึงแหลมฮอรนทางตอนใต มีความยาวประมาณ 7,200 กิโลเมตร เปนแนวเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลกยอดเขาสูงท่ีสุดในบริเวณนี้ คือ ยอดเขาอะคองคากัว สงู ประมาณ 6,924 เมตร จากระดับน้ําทะเล บริเวณตอนกลางของเทือกเขามีท่ีราบสูงท่ีสําคัญคือ ท่ีราบสูง โบลเิ วยี มีความสงู ถึง 4,500 เมตร จากระดบั นํ้าทะเล และมขี นาดกวา งใหญเปนอันดับ 2 ของโลก รองจากที่ ราบสูงทิเบต บนท่ีราบสูงแหงน้ีมีทะเลสาบซึ่งเปนทะเลสาบที่สูงท่ีสุดในโลก ไดแก ทะเลสาบติติกากา ในประเทศเอกวาดอร 2. เขตทรี่ าบสูงตะวนั ออก ประกอบดวยท่รี าบสูงสาํ คัญ 3 แหง ไดแ ก ท่ีราบสงู กิอานา ตั้งอยูท างตอนเหนอื ของทวปี ในเขตประเทศเวเนซูเอลา กายอานาซูรินาเม เฟรนซ เกียนา และภาคเหนือของบราซลิ มีลกั ษณะท่เี ปน ทีร่ าบสงู สลบั กับเทือกเขาสลบั ซับซอน ที่ราบสูงบราซิล ตงั้ อยูต อนกลางของทวีป บรเิ วณตะวันออกของประเทศบราซิล ต้ังอยูระหวางท่ีราบ ลุมแมน้าํ แอมะซอน ทร่ี าบลมุ แมนํา้ ปารานา และทีร่ าบลุมแมน้ําปารากวยั ทางตะวันออกมีความสงู ชัน จากน้ัน คอย ๆ ลาดตํ่าลงไปทางตะวันตก

17 ท่รี าบสูงปาตาโกเนีย ตงั้ อยทู างตอนใตข องทวีป ในเขตประเทศอารเจนตินาทางตะวันออกคอนขาง ราบเรียบและคอย ๆ สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ ทางตะวันตก 3. เขตทร่ี าบลุมแมน ํ้า อยบู รเิ วณตอนกลางของทวีป เปน ท่รี าบดินตะกอนท่ีมีความอุดมสมบูรณและ กวาง ตง้ั อยูระหวา งเทือกเขาแอนดสี และที่ราบสูงทางตะวันออก เขตที่ราบลุมแมน้ําท่ีสําคัญของทวีปอเมริกา ใตม ี 2 บรเิ วณไดแก ท่ีราบลมุ แมนาํ้ แอมะซอนหรอื อเมซอน เปนท่รี าบลมุ แมนา้ํ ท่ใี หญท ส่ี ดุ ในโลก มีพ้ืนทปี่ ระมาณ 7 ลาน ตารางกิโลเมตร มีแมนํ้าหลายสายไหลผาน สวนมากมีตนกําเนิดจากเทือกเขาแอนดีสและไหลสูมหาสมุทร แอตแลนตกิ แมนา้ํ ทส่ี ําคัญท่สี ดุ ในบรเิ วณนค้ี ือ แมนาํ้ แอมะซอน ท่ีราบลุมแมนํ้าโอริโนโค อยูทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศโคลอมเบีย และเวเนซุเอลา บริเวณนเี้ ปน เขตเล้ียงสัตวท ี่สาํ คญั ของทวีปอเมริกาใต แมน ้ําทสี่ าํ คญั ในทวีปอเมรกิ าใต ไดแก แมน้ําแอมะซอน มคี วามยาว 6,440 กิโลเมตร เปน แมน ้ําท่ีมีความยาวเปนอนั ดับ 2 ของโลก รองจาก แมนา้ํ ไนล มีตน กําเนิดจากเทือกเขาแอนดสี ไหลผานประเทศบราซลิ ไหลลงสูมหาสมุทรแอตแลนติก แมนํ้าปารานา มีความยาว 2,800 กิโลเมตรมีตนกําเนิดจากที่สูงทางตะวันออกของทวีป ไหลผาน ประเทศบราซิล ปารากวัย อารเ จนตินา ลงสมู หาสมุทรแอตแลนตกิ บริเวณอาวริโอเดอลาพลาตา แมน ้าํ ปารากวัย มคี วามยาว 2,550 กโิ ลเมตร มตี นกาํ เนิดจากที่สงู ในประเทศบราซิลไหลผานประเทศ บราซิล ปารากวัยไปรวมกับแมน้ําปารานาในเขตประเทศอารเ จนตนิ า 3. ลกั ษณะภมู ิอากาศ ปจจัยท่มี อี ทิ ธิพลตอภมู ิอากาศของทวีปอเมรกิ าใต 1. ละติจูด พ้ืนท่ีสวนใหญของทวีปครอบคลุมเขตอากาศรอน และประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นท่ีทวีป เปนอากาศแบบอบอนุ ภมู ิภาคทางเหนือของทวีปจะมฤี ดกู าลท่ตี รงขามกับภมู ิภาคทางใต 2. ลมประจาํ ไดแก 2.1 ลมสินคาตะวันออกเฉียงเหนือพัดผานมหาสมุทรแอตแลนติกจึงนําความชุมชื้นเขาสูทวีป บริเวณชายฝง ตะวันออกเฉยี งเหนอื 2.2 ลมสนิ คา ตะวนั ออกเฉยี งใตพดั ผา นมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จึงนาํ ความชุมช้นื เขา สูทวีปบรเิ วณ ชายฝงตะวนั ออกเฉียงใต 2.3 ลมตะวนั ตกเฉยี งเหนอื พัดผา นมหาสมุทรแปซฟิ กจึงนําความชุมช้ืนเขาสูทวีปบริเวณชายฝง ตะวันตกของทวีป ตั้งแตป ระมาณละติจูด 40 องศาใตล งไป 3. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทวปี อเมริกาใตมเี ทอื กเขาสงู อยูท างตะวันตกของทวีป ดังนั้นจึงเปนสิ่งท่ีกั้น ขวางอิทธิพลจากทะเลและมหาสมุทร ทําใหบริเวณที่ใกลเทือกเขา คอนขางแหงแลง แตในทางตรงกันขาม ชายฝงดานตะวนั ออกจะไดร บั อทิ ธิพลจากทะเลอยางเต็มท่ี

18 4. กระแสน้าํ มี 3 สายท่สี าํ คัญ คอื 4.1 กระแสน้ําอนุ บราซิล ไหลเลยี บชายฝงของประเทศบราซลิ 4.2 กระแสน้ําเยน็ ฟอลกแลนด ไหลเลียบชายฝง ประเทศอารเ จนตนิ า 4.3 กระแสนํา้ เยน็ เปรู (ฮัมโบลด) ไหลเลียบชายฝงประเทศเปรูและชิลี เขตภูมิอากาศแบงออกไดเปน 8 เขต ดังน้ี 1. ภูมอิ ากาศแบบปา ดบิ ช้นื ไดแก บรเิ วณท่ีราบลุมแมน้ําแอมะซอน เปน บรเิ วณท่ีมอี ากาศเยน็ ปา ดิบ ชน้ื ทีก่ วางใหญท่สี ดุ ในโลกสว นใหญม พี ื้นท่ีอยูประเทศบราซิล มีอณุ หภมู ิสงู เฉลย่ี 27 องศาเซลเซียส มีฝนตกชุก เกอื บตลอดทง้ั ปป ระมาณ 2,000 มลิ ลิเมตรตอป 2. ภูมอิ ากาศแบบทงุ หญา เขตรอ น ไดแ ก บริเวณตอนเหนอื และใตของลุมแมนํ้าแอมะซอน มีอากาศ รอนและแหง แลง ฤดรู อนมีฝนตกแตไมชกุ เหมอื นในเขตปาดิบช้ืน อณุ หภูมสิ ูงเฉลีย่ 27 องศาเซลเซยี ส มลี กั ษณะอากาศคลายกบั ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย 2. ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก ภาคใตข องเปรแู ละภาคเหนอื ของชิลี เปนบริเวณทร่ี อ นและ แหงแลงมาก มปี ริมาณฝนตกเฉล่ียตํา่ กวา 250 มิลลิเมตรตอป และบางคร้ังฝนไมตกยาวนานติดตอกันหลาย เดอื น ทะเลทรายท่สี าํ คญั ในบริเวณนีไ้ ดแก ทะเลทรายอะตากามาในประเทศชิลี ในบริเวณนี้มีฝนตกนอยกวา 50 มลิ ลิเมตรตอป บางครัง้ ฝนไมต กติดตอ กนั เปนเวลานานหลายป จัดเปนทะเลทรายท่ีแหงแลงมากท่ีสุดแหง หน่งึ ของโลก 4. ภมู อิ ากาศแบบทุงหญา ก่ึงทะเลทราย ไดแ ก ทางตะวันออกของประเทศอารเ จนตนิ าจนถงึ ทร่ี าบสูง ปาตาโกเนีย อุณหภูมิไมสูงนักเฉล่ีย 18 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น ฤดูรอนมีอากาศรอน ปริมาณฝนนอยประมาณ 500 มิลลิเมตรตอ ป 5. ภมู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอรเ รเนียน ไดแ ก บรเิ วณชายฝง มหาสมทุ รแปซิฟก ตอนกลางของประเทศชลิ ี ในฤดรู อ นมอี ากาศรอ นและแหง แลง ฤดหู นาวมฝี นตก 6. ภูมิอากาศแบบอบอุนช้ืน ไดแก บริเวณตะวันตกเฉียงใตของทวีป ต้ังแตตอนใตของบราซิล ปารากวัย อุรุกกวัย และตะวันออกเฉียงเหนือของอารเจนตินา อากาศในบริเวณน้ีไมแตกตางกันมากนัก ฤดหู นาวมีอากาศอบอุน ฤดรู อ นมีฝนตกเฉล่ีย 750 – 1,500 มิลลิเมตรตอ ป 7. ภูมิอากาศแบบภาคฟน สมุทร ไดแก บริเวณชายฝง ทะเลอากาศหนาวจัด มีฝนตกเกือบตลอดทั้งป โดยเฉพาะในฤดูหนาวและฤดูใบไมร วงเฉลยี่ 5,000 มิลลิเมตรตอป 8. ภูมิอากาศแบบท่สี งู ไดแ ก บรเิ วณเทอื กเขาแอนดสี เปนบริเวณท่ีมีความแตกตางกันมาก ขึน้ อยูกับ ระดับความสูงของพ้ืนท่ี คือ บริเวณท่ีราบมีอุณหภูมิสูงและฝนตกชุก เม่ือสูงข้ึนอุณหภูมิและปริมาณน้ําฝน จะลดลงไปเรื่อย ๆ ย่ิงสูงกวาระดับน้ําทะเลประมาณ 3,000 เมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดท้ังปประมาณ 15 องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกเฉลี่ย 1,000 มิลลิเมตรตอป ในขณะท่ีประเทศอ่ืนที่อยูบริเวณเสนศูนยสูตร แตต้ังอยูบนที่ราบ เชน มาเลเซีย มีอุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซียส และมีฝนตกชุกตลอดทั้งปสูงกวา 2,500 มิลลเิ มตรตอป

19 4. ลกั ษณะเศรษฐกิจและสภาพแวดลอมทางสังคม วฒั นธรรม ลักษณะเศรษฐกจิ การทําเกษตรกรรม 1. จากลกั ษณะอากาศของทวีป เหมาะกับการปลกู พชื เมืองรอน เชน กาแฟ กลวย โกโก ออย ยาสูบ โดยเฉพาะกาแฟมีผผู ลติ รายใหญ คอื บราซิลและโคลัมเบีย 2. บริเวณท่ีราบลุม แมนํา้ ปารานา–ปารากวัย–อรุ ุกวัย มีความเหมาะสมในการปลกู ขาวสาลี เน่ืองจาก อยใู นเขตอบอุนและเปนท่รี าบลมุ แมน า้ํ ที่มคี วามอดุ มสมบรู ณโ ดยเฉพาะในเขตประเทศอารเ จนตินา 3. การเพาะปลูกในทวปี มีท้ังการเพาะปลกู เปนไรการคาขนาดใหญ ที่เรียกวา เอสตันเซีย และมีการ เพาะปลูกแบบยงั ชพี การเลย้ี งสัตว การเลี้ยงสัตวใ นทวีปอเมริกาใตก ระทําอยางกวา งขวาง ดงั น้ี 1. ทงุ หญาปามปส เปน เขตปศุสตั วข นาดใหญ มีการเล้ียงโคเนือ้ โคนม แกะ 2. ทุง หญา ยาโนส และทงุ หญาแกมโปส เปน เขตเลีย้ งโคเนอ้ื 3. ทุงหญา กึง่ ทะเลทราย บริเวณทรี่ าบสูงปาตาโกเนยี มีการเล้ยี งแกะพนั ธขุ น ประเทศท่ีสง เนอ้ื สตั วเ ปนสินคา ออกจํานวนมาก คือ ประเทศอารเจนตนิ า อุรุกวยั บราซิล การประมง แหลง ประมงทส่ี ําคัญของทวปี คือ บรเิ วณชายฝง ประเทศเปรูและชิลี ซง่ึ มกี ระแสนํ้าเยน็ เปรู (ฮัมโบลด) ไหลผาน มีปลาแอนโชวีเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยังมีการจับปลาตามลุมแมนํ้าตาง ๆ โดยชาวพื้นเมือง อกี ดวย แตเ ปน การจับปลาเพือ่ ยงั ชีพ การปา ไม การทําปาไมในทวีปมีไมมากนักเน่ืองจากความไมสะดวกในการคมนาคมและการขนสง เขตที่มี ความสาํ คญั ในการทําปา ไม คอื ภาคตะวันออกเฉยี งใตของบราซิล การทาํ เหมอื งแร ทวปี อเมริกาใตเปนแหลงผลติ พชื เมืองรอนและสินแร การทําเหมืองแรมีความสําคัญรองจากการทํา เกษตรกรรม โดยมแี หลงแรท่ีสาํ คัญ ดังน้ี อตุ สาหกรรม การอตุ สาหกรรมในทวีปยังไมค อ ยมคี วามเจริญมากนกั เนอื่ งจากขาดเงินทุน และยังตองอาศัยความรวมมือ และการรวมลงทุนจากตางชาติ ประเทศที่มีความเจริญทางดานอุตสาหกรรม คือ อารเจนตินา บราซิล ชิลี เวเนซเุ อลา

20 ทวปี อเมริกาเหนอื 1. ขนาดทต่ี ัง้ และอาณาเขตตดิ ตอ ทวีปอเมรกิ าเหนือเปนทวปี ที่มีขนาดกวางใหญโดยมีขนาดใหญเปนอันดับที่ 3 ของโลกรองจากทวีป เอเชียและทวปี แอฟรกิ ามีพ้นื ทป่ี ระมาณ 24 ลานตารางกิโลเมตร รปู รางของทวปี อเมริกาเหนอื มลี ักษณะคลา ย สามเหลี่ยมหัวกลบั มฐี านกวา งอยูท างทศิ เหนอื สว นยอดสามเหลยี่ มอยูทางทิศใต ดวยความกวางใหญของทวีป จึงมีความหลากหลายท้ังในดานลักษณะทางกายภาพทรัพยากรธรรมชาติและเปนท่ีรวมของชนชาติหลาย เช้อื ชาตจิ นกลายเปนเบา หลอมทางวัฒนธรรม อีกทัง้ มคี วามเจริญกา วหนาในดานเทคโนโลยีและเปนศูนยรวม ของวฒั นธรรมตาง ๆ ตั้งอยใู นแถบซกี โลกเหนอื ระหวางละตจิ ดู 7 องศา 15 ลปิ ดาเหนอื ถึง 83 องศา 38 ลิปดา เหนือและลองจจิ ูด 55 องศา 42 ลิปดาตะวนั ตก 172 องศา 30 ลปิ ดาตะวนั ออก อาณาเขตตดิ ตอ ทศิ เหนอื ตดิ กบั ทะเลโบฟอรตในมหาสมุทรอารกติกและข้ัวโลกเหนือ จุดเหนือสุดอยูท่ีแหลมมอริส เจซปุ เกาะกรนี แลนดและประเทศแคนาดา ทิศใต ตดิ กับทวปี อเมริกาใต (มคี ลองปานามาเปนเสน แบง ทวปี ) ทะลแครบิ เบยี นในมหาสมุทรแปซฟิ ก และอา วเม็กซโิ กในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ทิศตะวันออก ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ีคาบสมุทรลาบราดอร ประเทศแคนาดา ทศิ ตะวันตก ติดกับมหาสมุทรแปซฟิ ก จุดตะวันตกสดุ ของทวีปอยูทแี่ หลมปรินซอ อฟเวลรัฐอะลาสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

21 2. ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภมู ิประเทศของทวีปอเมรกิ าเหนือ สามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะ ไดแก 1. เขตเทือกเขาภาคตะวนั ออก เร่ิมต้ังแตเกาะนิวฟนดแลนดทางตะวันออกเฉียงเหนือของแคนาดา จนถึงตะวนั ออกเฉียงใตข องสหรัฐอเมริกา ประกอบดวยเทือกเขาและที่ราบสูงแตไมสูงนัก ยอดเขาที่สูงที่สุด คือ ยอดเขามิตเชล มคี วามสูง 2,037 เมตร เทือกเขาที่สําคัญ คือ เทือกเขาแอปปาเลเซียน นอกจากนี้ยังมีที่ ราบแคบ ๆ ขนานไปกบั ชายฝงทะเล บางสว นลาดลงทะเลกลายเปน ไหลท วปี

22 2.เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก ไดแก พื้นท่ีชายฝงตะวันตกดานมหาสมุทรแปซิฟก ต้ังแตเทือกเขา ตอนเหนอื สุดบริเวณชอ งแคบแบรงิ ทอดตวั ยาวทางใตของทวีป ประกอบดวยเทือกเขาสูงสลับซับซอนจํานวน มาก ยอดเขาที่สงู ทีส่ ุด คือ ยอดเขาแมกคนิ เลย สูง 6,096 เมตร ในเทอื กเขาอะลาสกา นอกจากนย้ี ังมีเทอื กเขา ร็อกกแี ละเทือกเขาแมกเคนซี ระหวา งเทือกเขาสูงมีทรี่ าบสูงจาํ นวนมาก ทีส่ าํ คัญไดแ ก ท่ีราบสูงอะลาสกา ที่ราบโคโรราโด ที่ราบสงู เม็กซิโก และที่ราบสูงบริตชิ โคลมั เบีย เขตเทือกเขาสงู บรเิ วณนม้ี ีภมู ิประเทศทสี่ วยงาม ที่มีทัง้ เทอื กเขาสูง สลบั กับทร่ี าบสูง หบุ เขาลึกชนั เกดิ เปนโตรกเขาที่เกิดจากการกัดเซาะของแมนํ้า โตรกเขา ที่มีชื่อเสียงท่ีสุด คือ แกรนดแคนยอน (grand canyon) ที่เกิดจากการกัดเซาะของแมนํ้าโคโรราโด รฐั แอริโซนาประเทศสหรฐั อเมรกิ า 3. เขตท่ีราบภาคกลาง เปนที่ราบขนาดกวางใหญ อยูระหวางเทือกเขาตะวันออกและตะวันตก เรม่ิ ตง้ั แตช ายฝง มหาสมุทรอารต ิกจนถึงชายฝง อา วเม็กซิโก มลี กั ษณะเปน ที่ราบลูกคล่ืนอันเกิดจากการกระทํา ของธารนาํ้ แข็งและการทับถมของตะกอนจากแมน าํ้ ที่ราบที่สําคัญ ไดแก ท่ีราบลุมทะเลสาบท้ังหา ท่ีราบลุม แมนาํ้ แมกแคนซี ท่ีราบลุมแมน ํ้ามิสซิสซิปป-มิสซูรี่ ที่ราบแพรแี ละท่ีราบชายฝง อา วเมก็ ซิโก แมน ํ้าท่ีสาํ คัญในทวปี อเมรกิ าเหนือ มีดังนี้ แมน ํ้ามสิ ซสิ ซปิ ป เกิดจากเทือกเขาสงู ทางตะวนั ตกของทวปี เปนแมนา้ํ สายทีย่ าวทสี่ ดุ ในทวีปไหลผา น ท่รี าบกวา งลงสอู าวเมก็ ซโิ ก เปนเขตทร่ี าบท่ีมีตะกอนทับถมเปนบริเวณกวาง จึงเหมาะแกการเพาะปลูกและ เปนเขตประชากรหนาแนน แมนาํ้ เซนตล อวเรนซ ไหลจากทะเลสาบเกรตเลค ออกสูมหาสมทุ รแอตแลนติก แมนา้ํ สายนใ้ี ชใ นการ ขนสงสนิ คาหรือวัตถดุ บิ ทางอุตสาหกรรม (เนอ่ื งจากบริเวณรอบ ๆ เกรตเลคเปนเขตอุตสาหกรรม) แตปญหา สําคัญของแมน ้ําสายนี้ คือ จะมีระยะที่เดินเรือไมไดในฤดูหนาว ลักษณะพิเศษของแมนํ้าเซนตลอวเรนซ คือ มีการขุดรอ งนาํ้ และสรา งประตกู น้ั นํา้ เปนระยะ ๆ เนอื่ งมาจากบริเวณแมน ้ํามีแกงนา้ํ ตกขวางหลายแหงเสน ทาง การขนสง สนิ คา และเดนิ เรอื น้ี เรยี กวา “เซนตลอวเรนซซ เี วย” (St. Lawrence Seaway) แมนา้ํ ริโอแกรนด ก้ันพรมแดนระหวา งประเทศสหรฐั อเมรกิ ากบั ประเทศเมก็ ซิโก 3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ปจจัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ ภูมอิ ากาศของทวีปอเมรกิ าเหนือ 1. ละติจดู ทวีปอเมรกิ าเหนอื ตั้งอยูร ะหวา งละติจูด 7 องศา 15 ลิปดาเหนือ ถึง 83 องศา 38 ลิปดา เหนือใกลขั้วโลกเหนือ จึงทําใหมีเขตภูมิอากาศทุกประเภทต้ังแตอากาศรอนไปจนถึงอากาศหนาวเย็นแบบ ขว้ั โลก 2. ลมประจํา ลมประจําที่พดั ผา นทวปี อเมริกาเหนือ มคี วามแตกตา งกนั ตามชว งละติจูด มลี มประจํา ที่สําคัญดังนี้ 1) ลมดานตะวันออกเฉียงเหนือ พัดตั้งแตละติจูด 40 องศาเหนือลงไปทางใตพัดผานมหาสมุทร แอตแลนติกเขาสูทวีป จึงนําความชุมชื้นมาใหชายฝงตะวันออกของทวีปตลอดทั้งป ตั้งแตตอนใตของ สหรฐั อเมริกา อเมริกากลางและหมเู กาะอนิ ดิสตะวันตก

23 2) ลมตะวันตกเฉียงใต พัดตั้งแตละติจูด 40 องศาเหนือถึง 60 องศาเหนือ พัดจากมหาสมุทร แปซฟิ กเขาสตู อนกลางถึงตอนเหนอื ของสหรฐั อเมรกิ าและตอนใตของแคนาดา 3) ลมข้วั โลก พดั อยบู ริเวณขว้ั โลกนําความหนาวเย็นมาใหพ้นื ที่ทางตอนบนของทวีป 3. ความใกลไกลทะเล จากลักษณะรปู รางของทวปี อเมรกิ าเหนอื ซ่งึ ตอนบนจะกวา งใหญ และคอย ๆ เรียวแคบลงมาทางตอนใต ทําใหตอนบนของทวีปไดรับอิทธิพลจากมหาสมุทรนอย จึงทําใหพื้นท่ีตอนบน มภี ูมอิ ากาศคอนขางแหง แลง 4. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทศิ ทางการวางตวั ของเทือกเขาในทวปี อเมริกาเหนอื เปน สวนสาํ คัญในการทํา ใหพื้นที่ทางตอนในของทวีปมีอากาศคอนขางแหงแลง โดยเฉพาะเทือกเขาทางตะวันตกของทวีป ซึ่งเปน เทือกเขายคุ ใหมทสี่ งู มาก จึงขวางกั้นความชื้นท่ีมากับลมประจาํ 5. กระแสน้ํา ทวปี อเมรกิ าเหนอื มกี ระแสนํา้ 4 สาย ซึ่งมอี ิทธิพลตออากาศบริเวณชายฝงโดยกระแส นํ้าอุน ทาํ ใหอ ากาศบริเวณชายฝงอบอุนชมุ ชน้ื สวนกระแสนํ้าเยน็ ทาํ ใหอากาศบริเวณชายฝง เยน็ และแหงแลง 1) กระแสนํา้ อนุ กลั ฟสตรมี ไหลเลยี บชายฝงตะวนั ออกของเมก็ ซิโก และสหรฐั อเมรกิ าทางใตขน้ึ ไป ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะนิวฟน ดแลนดข องแคนาดา 2) กระแสนํ้าเย็นแลบราดอร ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของเกาะกรีนแลนดลงมาจนถึงชายฝง ตะวนั ออกของแคนาดา พบกบั กระแสนา้ํ อุนกัลฟสตรีม บริเวณเกาะนิวฟนดแลนดจึงทําใหบริเวณนี้เปนแหลง ปลาชมุ เนอื่ งจากมอี าหารปลาจํานวนมาก กลายเปน เขตทาํ ประมงทสี่ ําคัญ เรียกบริเวณนีว้ า “แกรนดแบงค” (Grand Bank) 3) กระแสนํ้าอุนอลาสกา ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของรัฐอลาสกาขึ้นไปทางเหนือจนถึงชอง แคบเบรงิ ทําใหชายฝงอบอนุ น้าํ ไมเ ปน น้ําแข็งสามารถจอดเรือไดต ลอดป 4) กระแสน้ําเย็นแคลิฟอรเนีย ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของสหรัฐอเมริกาลงมาทางใตจนถึง ชายฝง คาบสมทุ รแคลิฟอรเ นีย ทําใหชายฝงมีอากาศเยน็ และแหง พายุ พายุทมี่ ีอทิ ธิพลตอ ลมฟา อากาศของทวีปอเมริกาเหนอื เปน อยางมากคอื 1. พายุเฮอริเคน เปนพายุหมุนเขตรอน เชนเดียวกับใตฝุน พายุนี้เกิดในทะเลแคริเบียน และอาว เมก็ ซโิ ก เปน พายุที่ทําใหฝนตกหนัก คล่ืนลมแรงเคลื่อนตัวจากทะเลเขาสูชายฝงของสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก และหมูเกาะในทะเลแครเิ บียน 2. พายุทอรนาโด เนือ่ งจากบริเวณภาคกลางของสหรัฐอเมริกาเปนพ้ืนที่โลงกวาง ทําใหมวลอากาศ ปะทะกันไดง า ยเกิดเปน พายหุ มุนทอรน าโด มีกาํ ลงั แรงมาก กอใหเกิดความเสียหายกับบานเรือนในรอบ 1 ป เกดิ พายุนีไ้ ดบอยคร้ัง จนไดรบั สมญานามวา “พายปุ ระจําถ่นิ ”ของสหรฐั อเมริกา

24 เขตภูมอิ ากาศแบง ออกไดเปน 12 เขต ไดแก 1. ภูมอิ ากาศแบบรอ นช้นื ไดแก บรเิ วณชายฝงตะวนั ออกของอเมรกิ ากลาง และบางสวนของหมูเกาะ อนิ ดสี ตะวันตก มีอากาศรอนเกือบตลอดทั้งป อุณหภูมิเฉลี่ย 18 องศาเซลเซียสและมีฝนตกชุกเฉล่ีย 1,700 มลิ ลเิ มตรตอ ป ในเขตนีไ้ มม ฤี ดหู นาว 2. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย ไดแก บริเวณภาคตะวันตกเฉียงใตของสหรฐั อเมรกิ าและภาคเหนอื ของ เม็กซโิ ก มีอากาศรอนจัดและมฝี นตกนอยมาก เฉลี่ย 250 มิลลิเมตรตอ ป 3. ภูมิอากาศแบบทุงหญาเขตรอน ไดแก ชายฝงตะวันตกของอเมริกากลาง พื้นที่สวนใหญของ เมก็ ซโิ ก บางสวนของหมูเกาะอินดสี ตะวนั ตก และทางตอนใตส ุดของคาบสมทุ รฟลอริดา มีอณุ หภมู ิแตกตางกัน มากระหวางฤดรู อนและฤดหู นาว คือ ฤดูหนาวอากาศหนาวจดั ฤดรู อ นมีอากาศรอ นจัดและมฝี นตก 4. ภมู ิอากาศแบบทุง หญา กึ่งทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณชายขอบของเขตทะเลทรายเร่ิมต้ังแตบางสวน ของประเทศแคนาดาและเม็กซิโก ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใตของสหรัฐอเมริกา มีลักษณะภูมิอากาศกึ่ง แหงแลง ฤดูหนาวมีอากาศหนาวจัด ฤดูรอนมีอากาศรอนและแหงแลง ปริมาณฝนไมมากนัก แตมากกวา ในเขต ทะเลทราย 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก ในเขตรัฐแคลิฟอรเนีย ของสหรัฐอเมริกา ในฤดรู อนมอี ากาศไมรอ นจัด ในฤดหู นาวมอี ากาศอบอนุ แหงแลงและมีฝนตก 6. ภมู ิอากาศแบบอบอุนช้ืน ไดแก บริเวณท่ีราบชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติกและที่ราบตอนกลาง ของทวีป อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ตลอดทั้งปม ีความใกลเคียงกนั มีฝนตกเกอื บตลอดทัง้ ปเฉลยี่ 750 มิลลเิ มตรตอ ป 7. ภมู อิ ากาศแบบภาคพน้ื สมทุ รชายฝงตะวันตก ไดแก ชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกในเขตสหรัฐอเมริกา และแคนาดา มีฝนตกชุกเกือบตลอดท้ังปเฉลี่ย 2,000 มิลลิเมตรตอป ฤดูรอนมีอากาศรอนช้ืนและ ฤดูหนาว มีอากาศเยน็ สบาย 8. ภูมิอากาศแบบช้ืนภาคพื้นทวีป ไดแก ตอนใตของประเทศแคนาดารอบ ๆ ทะเลสาบทั้ง 5 และ ภาคเหนือของสหรัฐอเมรกิ า ในฤดหู นาวมอี ากาศหนาวเยน็ ในฤดรู อนมีอากาศอบอุนและมฝี นตก 9. ภูมิอากาศแบบไทกา ไดแก ภาคเหนือของประเทศแคนาดา และตอนใตของรัฐอะลาสกา สหรฐั อเมริกา เปน บริเวณท่มี อี ากาศหนาวจัด มีหิมะตกตดิ ตอกันหลายเดอื นฤดูรอ นมอี ากาศเย็น มีปริมาณฝน ตกนอ ยและระยะส้นั ๆ 10. ภูมิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ชายฝงมหาสมุทรอารกติก ภาคเหนือของแคนาดา รัฐอะลาสกา ของสหรัฐอเมรกิ า และชายฝง เกาะกรนี แลนด มีอากาศหนาวจัดเกอื บตลอดทง้ั ป ฤดรู อนมีชวงสัน้ และอณุ หภูมิ ต่ําเฉล่ยี ตลอดท้งั ป 10 องศาเซลเซยี ส 11. ภมู ิอากาศแบบขวั้ โลก ไดแ ก ตอนกลางของเกาะกรีนแลนด มีอากาศหนาวจัดมีนํ้าแข็งปกคลุม เกอื บตลอดทงั้ ป บริเวณตอนกลางของเกาะมนี ํ้าแข็งปกคลุมหนาถงึ 3,000 เมตร

25 12. ภูมิอากาศแบบบริเวณภูเขาสูง ไดแก เทือกเขาสูงในภาคตะวันตก เปนบริเวณที่มีอุณหภูมิ แตกตา งกนั มาก ขึ้นอยูกับความสูงของพื้นที่ เชน ในฤดูรอนดานท่ีรับแสงแดดอากาศรอนจัด ในดานตรงกัน ขา มจะมอี ากาศหนาวเยน็ ในแถบหุบเขาจะมีอากาศหนาวเยน็ โดยเฉพาะในเวลากลางคนื อณุ หภูมิจะต่ําลง เม่ือความสงู เพิ่มข้ึน บริเวณยอดเขามีนาํ้ แข็งปกคลุมอยู ในบริเวณนี้มฝี นตกนอย 4. สภาพเศรษฐกจิ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวฒั นธรรม ลักษณะเศรษฐกิจ ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมรกิ าเหนือจะมคี วามแตกตางกนั คือ ในสหรฐั อเมริกา แคนาดา จะเปนเขตเศรษฐกิจที่มีความเจริญสูง สวนในเขตของเม็กซิโก อเมริกากลางและหมูเกาะอินดีส ตะวนั ตกจะมที ง้ั เขตเศรษฐกิจทเี่ จรญิ แลว และเขตทยี่ งั ตอ งไดร ับการพฒั นา การทาํ เกษตรกรรม 1. เขตปลกู ขา วสาลี บริเวณท่ีมีการปลูกขาวสาลี ซึง่ ถอื เปน แหลง สําคญั ของโลก คือ บรเิ วณ ภาคกลางของแคนาดาและสหรัฐอเมรกิ า 2. เขตทําไรปศุสัตว พบในบริเวณท่ีภูมิอากาศคอนขางแหงแลง เชน ภาคตะวันตกของแคนาดา สหรฐั อเมริกา และเมก็ ซิโก สตั วท ี่เล้ียง คือ โคเนอ้ื 3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแก เขตท่ีมกี ารเล้ยี งสัตวค วบคูกบั การปลูกพชื เชน ขา วสาลี ขา วโพด สว นสัตวเลีย้ งคือ โคเน้อื โคนม การเกษตรลักษณะนี้พบบริเวณทางตะวนั ออกของสหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา 4. เขตปลกู ฝาย ไดแ ก บรเิ วณทางตะวนั ตกของสหรัฐอเมรกิ า ซง่ึ เปน เขตที่มีอากาศคอ นขางรอ นและ แหง แลง 5. เขตปลูกผกั ผลไมและไรยาสูบ ไดแก บรเิ วณทร่ี าบชายฝงมหาสมทุ รแอตแลนตกิ 6. เขตปลูกพืชเมืองรอน พืชเมืองรอนที่นิยมปลูกคือ กลวย โกโก ออย กาแฟ ซึ่งมีมากบริเวณ อเมริกากลางและหมูเกาะอนิ ดสี ตะวันตก การประมง บรเิ วณทม่ี กี ารทาํ ประมงกนั อยางหนาแนน คือ แกรนดแบงค และบริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก โดยเฉพาะบริเวณทม่ี กี ระแสนา้ํ เย็นแคลิฟอรเนียไหลผาน การทาํ เหมอื งแร ถา นหนิ สหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา สามารถผลิตถานหนิ ไดเปน จาํ นวนมาก โดยมแี หลงผลิตที่สําคัญ คอื บริเวณเทอื กเขาแอปปาเลเซียน ในสหรัฐอเมรกิ า และมณฑลควเิ บกของแคนาดา เหลก็ แหลง สําคญั คอื ทะเลสาบเกรตแลค น้ํามนั และกา ซธรรมชาติ พบบริเวณเทือกเขาแอปปาเลเซยี นลมุ แมน้ํามสิ ซสิ ซปิ ป อาวเม็กซิโก แคลิฟอรเ นีย อลาสกา การทําอตุ สาหกรรม สหรัฐอเมรกิ าเปน ประเทศผูนําในการทําอุตสาหกรรมระดับโลก สวนใหญเปน อตุ สาหกรรมขนาดใหญใชเ งนิ ทุนเปนจาํ นวนมาก สว นประเทศเมก็ ซโิ ก และอเมรกิ ากลาง รวมถึงประเทศในหมู

26 เกาะอนิ ดีสตะวันตก อุตสาหกรรมสวนใหญเปนอุตสาหกรรมเกษตรการแปรรูปผลผลิตตาง ๆ ซึ่งตองอาศัย การพฒั นาตอไป สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม ประชากร 1. บริเวณที่มีประชากรหนาแนน ไดแก ชายฝงตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ลุมแมน้ํามิสซิสซิปป ลุมแมน าํ้ เซนตลอรวเรนซ ทีร่ าบสงู ในเม็กซิโก หมเู กาะอนิ ดสี ตะวนั ตก 2. มีผูค นหลากหลายเชื้อชาติ เชน อินเดียนแดง เอสกิโม ยุโรป แอฟรกิ นั เอเชยี และกลุม เลือดผสม เขตวัฒนธรรม 1. แองโกอเมรกิ า หมายถงึ สหรัฐอเมริกาและแคนาดา 2. ลาตินอเมริกา หมายถึง กลุมคนในเมกซิโก อเมริกากลาง และหมูเกาะอินดีสตะวันตก (ซึ่งไดร ับอทิ ธพิ ลจากสเปนและโปรตเุ กส) ทวีปแอฟรกิ า 1. ขนาดทต่ี ้งั และอาณาเขตตดิ ตอ ทวปี แอฟริกามีขนาดใหญเปนอนั ดับ 2 รองจากทวปี เอเชยี มพี ื้นท่ีประมาณ 30.3 ลา นตารางกิโลเมตร มปี ระชากร 600 ลา นคน อยรู ะหวางละติจูดที่ 37 องศา 21 ลิปดาเหนือ ถึง 34 องศา 50 ลิปดาใต ลองติจูด ที่ 51 องศา 24 ลิปดาตะวันออกถงึ 17 องศา 32 ลปิ ดา

27 อาณาเขตตดิ ตอ ทศิ เหนือ ติดกับทะเลเมดิเตอรเรเนียน ในมหาสมุทรแอตแลนติก ชองแคบยิบรอลตาร จุดเหนือสุด ของทวปี อยทู ่แี หลมบอน ประเทศตูนเิ ซยี ทิศใต ติดกับมหาสมทุ รแอตแลนตกิ และมหาสมุทรอินเดีย จุดใตสุดของทวีปอยูท่ีแหลมอะกอลฮัส (Agulhas) ในประเทศแอฟริกาใต ทิศตะวันออก ติดกับทะเลแดง ในมหาสมุทรอินเดีย จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูที่แหลมฮาฟูน ประเทศโซมาเลยี ทศิ ตะวันตก ติดกบั มหาสมุทรแอตแลนตกิ จดุ ตะวนั ตกสุดของทวปี อยทู แ่ี หลมเวริ ดประเทศเซเนกัล 2. ลักษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภูมิประเทศทวปี แอฟริกาสามารถแบงออกไดเ ปน 3 ลักษณะดงั นี้ 1. เขตทร่ี าบสูง พนื้ ทเี่ กือบทงั้ หมดของทวปี เปนทีร่ าบสูง จนไดร บั สมญาวา เปนทวีปแหงที่ราบสูงโดยทางซีกตะวันออก จะสูงกวา ซกี ตะวันตก ลักษณะเดน ของบรเิ วณทร่ี าบสงู ทางภาคตะวนั ออกของทวีป คอื เปน พน้ื ที่ที่มี ภูเขาสงู และภเู ขาไฟ ภูเขาไฟท่มี ีชื่อเสียง คือ ภูเขาคิลิมันจาโร (แทนซาเนีย) และมีทะเลสาบหลายแหง เชน ทะเลสาบวคิ ตอเรยี (ทะเลสาบนา้ํ จืดใหญเ ปน อนั ดบั 2 ของโลก) ทะเลสาบแทนแกนยิกาและทะเลสาบไนอะซา

28 2. เขตทรี่ าบ ทวปี แอฟรกิ ามที ่ีราบแคบ ๆ บรเิ วณชายฝง ทะเล 3. เขตเทือกเขา เขตเทือกเขาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คือ เทือกเขาแอตลาส วางตัวขนานกับชายฝงทะเล เมดเิ ตอรเรเนยี น เปนเทอื กเขายุคใหม เทือกเขาทางทศิ ใต คอื เทอื กเขาดราเคนสเบิรก วางตัวขนานกับชายฝงมหาสมทุ รอนิ เดยี เปนเทอื กเขายคุ เกา แมน ้าํ แมน ํ้าในทวีปแอฟริกาสว นใหญเ กดิ จากทร่ี าบสงู ตอนกลาง และทางตะวันออกของทวปี ซง่ึ มีฝน ตกชุก เนอ่ื งจากพน้ื ทต่ี า งระดบั แมน าํ้ จึงกดั เซาะพ้ืนทใ่ี หเ กดิ เปน แกง น้ําตกขวางลําน้ํา จึงเปนอุปสรรคตอการ คมนาคม แตสามารถใชป ระโยชนใ นการผลติ กระแสไฟฟาไดแมนา้ํ ท่ีสําคัญ ไดแก แมนํ้าไนล เปน แมนาํ้ สายที่ยาวที่สดุ ในโลก ไหลลงสูทะเลเมดิเตอรเรเนียน ประกอบดวยแควสําคัญ คือ ไวทไนว บลไู นลแ ละอัตบารา ปากแมน าํ้ เปน เดลตา แมนํ้าซาอีร (คองโก) เปนแมน้ําสายยาวอันดับ 2 ของทวีป และเปนที่ราบลุมแมน้ําที่กวางขวางนํ้า ในแมน า้ํ ไหลลงสูม หาสมุทรแอตแลนตกิ แมน้ําไนเจอร ไหลลงสอู าวกินี แมน ้าํ แซมเบซี ไหลลงสูม หาสมุทรอินเดีย ไหลผานที่ราบสูงและไหลเช่ียวมาก 3. ลักษณะภมู อิ ากาศ เขตอากาศ ปจจัยท่ีมอี ทิ ธิพลตอ ภูมอิ ากาศของทวปี แอฟริกา 1. ละติจูด ทวีปแอฟริกามีเสนศูนยสูตรผานเกือบกึ่งกลางทวีป และต้ังอยูระหวางเสนทรอปคออฟ แคนเซอร กบั เสน ทรอปค ออฟแคปรคิ อรน ทาํ ใหมีเขตอากาศรอนเปนบรเิ วณกวาง มีเฉพาะสวนเหนือสุดและ ใตส ดุ ทีอ่ ยใู นเขตอบอุน 2. ลมประจาํ มี 2 ชนดิ คือ ลมสินคาตะวนั ออกเฉยี งใต พดั จากมหาสมทุ รอนิ เดยี และมหาสมุทรแอตแลนติกทําใหฝนชุกบริเวณ ชายฝงแอฟรกิ าตะวันออกและตะวนั ออกเฉียงใตกับชายฝงอาวกนิ ี ลมสินคา ตะวนั ออกเฉียงเหนือ พัดจากตอนในของทวีปมาสูชายฝง จึงนําความแหงแลงมาสูชายฝง ตะวันออกเฉียงเหนือของทวปี 3. กระแสนํ้า ไดแก กระแสน้าํ อนุ กนิ ี ไหลผา นชายฝง ตะวันตกจากมหาสมุทรแอตแลนตกิ ไปยงั อา วกนิ ี กระแสนํา้ เย็นคานารี ไหลเลียบชายฝงตะวันตกเฉยี งเหนือของทวีป กระแสนาํ้ เยน็ เบงเก-ลา ไหลเลียบชายฝง ตะวนั ตกเฉียงใตของทวีป กระแสน้ําอนุ โมซมั บิก ไหลผานบรเิ วณชอ งแคบโมซมั บิก

29 4. ระยะหางจากทะเล ดวยความกวางใหญของทวีป การมีท่ีสูงอยูโดยรอบทวีปทําใหอิทธิพลของ มหาสมุทรเขาไปไมถงึ ประกอบกบั ไดรับอิทธิพลจากทะเลทรายของทวีปเอเชยี ทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ ของทวปี ทาํ ใหท วปี แอฟรกิ ามเี ขตภูมิอากาศแหงแลง เปนบริเวณกวา ง ทวปี แอฟรกิ าสามารถแบงเขตอากาศไดเปน 8 เขตดังนี้ 1. ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก บริเวณทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลิเบียทางตอนเหนือ ของทวีป ในเขตประเทศไนเจอร ชาด ลเิ บีย มาลี บุรกินาฟาโซ มอริเตเนีย คิดเปนพ้ืนที่รอยละ 30 ของพ้ืนที่ ในทวีปแอฟริกา และถือเปนเขตทะเลทรายที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ทะเลทรายท่ีสําคัญอีกแหงหนึ่ง คือ ทะเลทรายกาลาฮารี ทางตอนใตของทวปี ในเขตประเทศบอตสวานาและนามิเบีย มีลักษณะอากาศรอนและ แหง แลงเฉลยี่ สงู กวา 35 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมิระหวางกลางวันและกลางคืนแตกตางกันมาก มีฝนตกนอย เฉล่ียตํ่ากวา 250 มลิ ลิเมตรตอป 2. ภมู อิ ากาศแบบทุง หญา กง่ึ ทะเลทราย ไดแก บรเิ วณทรี่ าบสงู ตอนในของทวีปชายฝงตะวันตกและ ตอนใตข องเสนศนู ยสตู ร ในฤดูรอ นมอี ากาศรอ นจัดและมีฝนตกแตไ มม ากนกั ประมาณ 600 มิลลเิ มตรตอ ป ฤดู หนาวมอี ากาศหนาวจัด บางคร้ังอาจถึงจุดเยือกแขง็ 3. ภูมิอากาศแบบปาดบิ ชืน้ ไดแก บรเิ วณลมุ แมนํ้าคองโก ท่ีราบสูงในแอฟรกิ าตะวนั ออก ฝงตะวนั ออกของเกาะมาดากัสการ และชายฝง รอบอาวกินี มอี ากาศรอ นอุณหภมู ิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซยี ส และฝนตกชุกตลอดทั้งปม ากถึง 2,000 มลิ ลเิ มตรตอ ป 4. ภูมิอากาศแบบทุงหญาสะวันนา ไดแก บริเวณเหนือและใตแนวเสนศูนยสูตรในเขตประเทศ เอธโิ อเปย ซดู าน เคนยา คองโก สาธารณรฐั คองโก แทนซาเนยี และดานปลายลมของเกาะมาดากัสการ มอี ุณหภูมิรอนเกือบตลอดท้ังป ในฤดูรอนมอี ากาศรอนและมีฝนตกปริมาณ 1,500 – 2,000 มิลลิเมตรตอป ฤดหู นาวมีอากาศหนาวและแหงแลง 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บริเวณชายฝงของประเทศตูนิเซีย แอลจีเรีย โมร็อกโก และตอนใตของประเทศแอฟริกาใต มีอุณหภูมิไมแตกตางกันมากนัก ในฤดูรอนมีอากาศรอนและแหงแลง ในฤดูหนาวมอี ากาศอบอนุ และมีฝนตก 6. ภมู อิ ากาศแบบมรสุม ไดแ ก ประเทศไลบีเรีย และโกตดวิ วั ร เน่ืองจากไดร บั อิทธิพลจากลมประจํา ตะวันตกและกระแสน้ําอุนกินี สงผลใหมีฝนตกชุกประมาณ 2,500 มิลลิเมตรตอปและมีอากาศรอนชื้น อณุ หภมู เิ ฉลีย่ 20 องศาเซลเซียส 7. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น ไดแก บริเวณตะวันออกเฉียงใตของทวีป ในเขตประเทศแทนซาเนีย แซมเบีย โมซัมบิก ซิมบับเว มาลาวี สวาซิแลนด เลโซโท และแอฟริกาใต ไดรับอิทธิพลจากกระแสนํ้าอุน โมซัมบิก และลมคาตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทาํ ใหฤ ดหู นาวมอี ากาศอบอุน ในฤดรู อนมฝี นตก 8. ภูมิอากาศแบบภูเขา ไดแก ท่ีราบสูงเอธิโอเปย และท่ีราบสูงเคนยา ทางตะวันออกของทวีป ลกั ษณะอากาศช้ืนอยกู บั ความสูงของพืน้ ที่ ยิง่ สงู ขน้ึ อากาศจะเย็นลง และมปี รมิ าณฝนตกนอ ยลง

30 4. ลักษณะเศรษฐกจิ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวฒั นธรรม ลกั ษณะเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม 1. การเพาะปลูกแบบยังชีพ เปน การปลูกพชื เพือ่ บริโภคภายในครอบครวั 2. การทําไรขนาดใหญ เปน การเพาะปลูกเพอื่ การคา พืชที่ปลกู เชน ยางพารา ปาลม นํ้ามนั 3. การเกษตรแบบผสม คอื การเพาะปลูกแบบเลี้ยงสัตวควบคูกันไป พืชท่ีปลูกคือ ขาวโพดขาวสาลี สตั วท เี่ ลี้ยง คือ โคเน้อื โคนม แกะ 4. การเกษตรแบบเมดิเตอรเรเนียน คือปลูกองุน มะกอก บริเวณชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนและ ตอนใตข องทวีป 5. การทําไรปศุสัตว สวนใหญจะเปนการเลี้ยงแบบปลอยคือ การปลอยใหสัตวหากินในทุงหญา ตามธรรมชาติ 6. การเล้ยี งสตั วแบบเรรอน เปนการเล้ยี งสัตวใ นพนื้ ท่ที เี่ ปน ทะเลทราย การปาไม พ้นื ท่ที ่ีมคี วามสําคัญในการทําปาไม คือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกากลาง ปาไมสวนใหญสูญเสียไป เนอ่ื งจากการทาํ ไรเลือ่ นลอยและการขาดการบาํ รงุ การลาสัตวและการประมง ชนพนื้ เมอื งจะดํารงชพี ดว ยการลา สัตว สวนการประมงมีความสําคัญไมมาก การประมงน้ําจืดจะทํา ตามลุมแมน้าํ สายใหญ และทะเลสาบวคิ ตอเรยี สวนประมงนํ้าเค็มมักจะทําบรเิ วณท่ีมีกระแสน้ําเย็นเบงเก-ลา ไหลผา น การทําเหมอื งแร เปนทวปี ท่ีมีสินแรอ ยูเปนจาํ นวนมาก ทีส่ าํ คัญคือ เพชร ทองคาํ นํ้ามนั กาซธรรมชาติ การอตุ สาหกรรม การทําอุตสาหกรรมสวนใหญในทวีปแอฟริกา เปนอุตสาหกรรมที่เก่ียวของกับการแปรรูปผลิตผล การเกษตร การอุตสาหกรรมสว นใหญย ังไมคอ ยเจรญิ มากนักเน่ืองจากยังขาดเงินทุนและผูเช่ียวชาญดานการ พฒั นาอตุ สาหกรรม ประชากร มีประชากรมากเปน อนั ดบั 2 รองจากทวปี เอเชยี ประชากรหนาแนนบรเิ วณลมุ แมนาํ้ และบริเวณชายฝงทะเล ประกอบดวยเช้ือชาตินิกรอยดและ คอเคซอยด

31 ทวปี ออสเตรเลียและโอเซียเนยี 1. ขนาดทตี่ งั้ และอาณาเขตตดิ ตอ ทวปี ออสเตรเลียและโอเซียเนีย เปน ทต่ี ้ังของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด ทวีปออสเตรเลีย ไดรับสมญานามวา ทวปี เกาะ สว นหมูเกาะแปซิฟก ซง่ึ เปนท่ตี งั้ ของประเทศ อน่ื ๆ ตอ เนอื่ งไปถงึ ทวปี แอนตารกติก เรียกวา โอเชียเนีย หมายถึง เกาะและหมูเกาะในภาคกลางและภาคใตข องมหาสมทุ รแปซิฟก รวมทั้งหมูเกาะ ไมโครนเี ซยี เมลานเี ซยี โปลนี ีเซยี ออสเตรเลยี นิวซีแลนด และหมูเกาะมลายู ทวปี ออสเตรเลยี เปนทวปี ทีม่ ีขนาดเล็กทส่ี ดุ ในโลก มพี ้ืนท่ี 7.6 ลา น ตร.กม. มีประชากร 17.5 ลา นคน ท่ีตั้งของทวีปออสเตรเลียอยูในซีกโลกใตท้ังหมด ตั้งแตละติจูด ที่ 10 องศา 41 ลิปดาใต ถึง 43 องศา 39 ลิปดาใต และลองจิจดู 113 องศา 9 ลปิ ดาตะวนั ออก ถงึ 153 องศา 39 ลปิ ดาตะวนั ออก อาณาเขตตดิ ตอ ทิศเหนือ ติดตอกบั ทะเลเมดิเตอรเรเนียนในมหาสมทุ รแปซิฟก จดุ เหนอื สดุ ของทวีปอยูที่แหลมยอรก มีชอ งแคบทอรเรสกัน้ จากเกาะนวิ กนิ ี ทิศตะวันออก ติดกับทะเลคอรัลและทะเลแทสมันในมหาสมุทรแปซิฟก จุดดานตะวันออกสุดอยูที่ แหลมไบรอน ทศิ ใต ติดกับมหาสมุทรอินเดีย จดุ ใตส ดุ อยทู ่แี หลมวิลสนั มชี อ งแคบบาสสก ้นั จากเกาะแทสมาเนยี ทิศตะวนั ตก ติดกบั มหาสมทุ รอินเดยี จดุ ตะวันตกสุดอยูท่แี หลมสตีฟ ภมู ิภาคและประเทศตาง ๆ ของทวปี ออสเตรเลยี 1. ออสเตรเลีย ไดแก ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด 2. หมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก ไดแก ปาปวนิวกินี หมูเกาะเซโลมอน ฟจิ วานูอาตู คิริบาส ซามัว ตะวันตก ตองกา ตูวาลู นาอรู ู ไมโครนีเซยี 2. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนีย มีเขตท่สี ูงทางดา นตะวันออก มฝี นตกชกุ ที่สดุ ของทวปี มีเทอื กเขาเกรตดไิ วดิงอยทู างดา นตะวนั ออก มีลักษณะเปนสนั ปนน้ําทแี่ บง ฝนทต่ี กลงใหไ หลสลู าํ ธาร เขตที่ราบตา่ํ ตอนกลาง พ้ืนทีร่ าบเรยี บ มลี าํ น้าํ หลายสาย ไหลมาอยูบริเวณน้ี และเขตที่ราบสูงทางดานตะวันตกตอนกลางของเขตน้ีเปนทะเลบริเวณทางใตและทาง ตะวนั ออกเฉยี งเหนือใชเปนเขตปศสุ ตั วและเพาะปลูก 3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศของทวปี ออสเตรเลียและโอเซียเนีย ปจจยั สําคัญทท่ี าํ ใหท วีปออสเตรเลยี มภี ูมอิ ากาศตาง ๆ กนั คือ ตัง้ อยูในโซนรอนใตแ ละอบอนุ ใต มลี มประจําพัดผา น ลักษณะภูมปิ ระเทศและมกี ระแสนาํ้ อุนและกระแสนา้ํ เยน็ ไหลผาน

32 ลกั ษณะภมู อิ ากาศของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนยี แบง เขตภมู ิอากาศเปน 6 ประเภท คือ 1. ภมู อิ ากาศทงุ หญา เขตรอ น 2. ภูมิอากาศทงุ หญา กึ่งทะเลทราย 3. ภมู อิ ากาศทะเลทราย 4. ภมู อิ ากาศเมดเิ ตอรเ รเนยี น 5. ภูมิอากาศอบอนุ ช้ืน 6. ภมู ิอากาศภาคพนื้ สมทุ รชายฝง ตะวันตก 4. สภาพทางสังคม เช้อื ชาติ เศรษฐกจิ ศาสนาและวัฒนธรรม ประชากร เชื้อชาติเผาพันธุของออสเตรเลีย ชาวพื้นเมืองด้ังเดิมเปนพวกผิวดําเรียกวาอะบอริจินสเปนพวกท่ี อพยพมาจากหมเู กาะในมหาสมุทรแปซฟิ ก สวนใหญอยูทางภาคเหนอื และภาคตะวันตกปจจุบันมี ชาวผิวขาว ซ่ึงสวนใหญเ ปนชาวอังกฤษอาศัยอยูจํานวนมากรัฐบาลไดจัดท่ีอยูในเขตนอรทเทิรนเทริทอรี่ รัฐควีนสแลนด และรัฐออสเตรเลียตะวันตก พวกผิวเหลืองเปนพวกที่อพยพมาภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ไดแก ชาวจีน ญ่ีปนุ พวกผวิ ขาว สว นใหญเปนพวกทอี่ พยพมาจากประเทศอังกฤษ มีการประกอบอาชีพทางดานการเกษตร คือปลกู พืชและเลย้ี งสัตว การประมง และอตุ สาหกรรม การกระจายประชากร รัฐบาลออสเตรเลยี มีนโยบายสงวนพื้นท่ีไวสําหรับชาวผิวขาว คือ นโยบายออสเตรเลียขาวกีดกันผิว โดยจาํ กัดจํานวนคนสีผวิ อนื่ ทไ่ี มใชผ วิ ขาวเขา ไปต้ังถน่ิ ฐานในออสเตรเลีย บริเวณทีป่ ระชากรอาศัยอยูหนาแนน ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงใต บริเวณท่ีมีประชากรเบาบาง ไดแก ตอนกลางของทวีป ภาคเหนือ และภาค ตะวนั ตก ศาสนา ชาวออสเตรเลียนบั ถือศาสนาครสิ ตห ลายนกิ าย ไดแก แองกลกิ นั โรมันคาทอลกิ โปรแตสแตนส ภาษาที่ใชม ากคอื ภาษาอังกฤษ การปกครอง การแบงแยกทางการเมือง ออสเตรเลียมีระบบการปกครองแบบสหพันธรัฐประกอบดวยรัฐตาง ๆ รวม 6 รัฐและดินแดนอสิ ระท่ไี มขน้ึ กบั รฐั ใด ๆ อีก 2 แหง คือ 1. รัฐนิวเซาทเ วล เมืองหลวง ซิดนีย 2. รัฐวิกตอเรยี เมอื งหลวง เมลเบริ น 3. รัฐควีนสแลนด เมอื งหลวง บรสิ เบรน 4. รัฐออสเตรเลยี ใต เมืองหลวง แอเดเลด 5. รัฐออสเตรเลยี ตะวนั ตก เมืองหลวง เพริ ธ 6. รัฐแทนสเมเนยี เมอื งหลวง โอบารต

33 ดินแดนอิสระ 2 บรเิ วณ ไดแก นอรทเทิรนแทริทอรี เมอื งหลวง ดารว ิน ออสเตรเลยี แคปตอลเทรทิ อรี เมอื งหลวงแคนเบอรร า ออสเตรเลยี เปน ประเทศเอกราช ในเครอื จกั รภพ อังกฤษ มพี ระนางเจาอลซิ าเบธท่ี 2 เปนพระราชินีและเปนประมุขของประเทศ มีขาหลวงใหญเปนผูสําเร็จ- ราชการแทนพระองค จัดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบ สหพันธรัฐการปกครองของออสเตรเลีย เปนแบบ รฐั บาลรวม คอื มรี ฐั บาล 2 ระดับ ไดแก รฐั บาลกลาง รฐั บาลของรัฐ กจิ กรรมท่ี 1.1 สภาพภูมิศาสตรกายภาพ 1. ใหบ อกลักษณะภมู ปิ ระเทศและลกั ษณะเศรษฐกิจของประเทศไทยและทวีปยโุ รป ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะเศรษฐกจิ ประเทศไทย ทวปี ยุโรป 2. ปจจยั ทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอภูมิอากาศของทวปี อเมรกิ าใต คอื .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ปจจยั สําคัญทท่ี าํ ใหท วปี ออสเตรเลยี มีสภาพภมู อิ ากาศท่ีแตกตา งกัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

34 เรือ่ งที่ 2 ลักษณะปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ีส่ ําคัญและ การปองกันอนั ตราย ปรากฏการณธรรมชาติ คือ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ทั้งในระยะยาวและระยะส้ัน สภาพแวดลอมของโลกเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ท้ังเปนระบบและไมเปนระบบ เปนสิ่งท่ีอยูรอบตัวเรา มกั สง ผลกระทบตอ เราในธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงบางอยางมีผลกระทบตอเรารุนแรงมาก สาเหตุของการ เปล่ียนแปลงมีท้ังเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเปนส่ิงที่มนุษยทําใหเกิดข้ึน ในเรื่องน้ีจะกลาวถึงสาเหตุและ ลกั ษณะปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ่ีสาํ คญั ดงั นี้ 1) พายุ พายุ คือ สภาพบรรยากาศท่ีเคล่ือนตัวดวยความเร็วมีผลกระทบตอพื้นผิวโลก โดยบางครั้งอาจมี ความเร็วที่ศูนยกลางถึง 400 กิโลเมตร/ช่ัวโมง อาณาบริเวณท่ีจะไดรับความเสียหายจากพายุวาครอบคลุม เทา ใดข้ึนอยกู ับความเรว็ ของการเคลือ่ นตวั ของพายุ ขนาด ความกวาง เสนผาศูนยกลางของตัวพายุ หนวยวัด ความเรว็ ของพายคุ ือ หนว ยรกิ เตอรเหมือนการวดั ความรนุ แรงแผนดนิ ไหว พายุแบงเปน ประเภทใหญ ๆ คือ 1. พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเปนลมพัดยอนไปมาหรือพัดเคล่ือนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกิดจากพายทุ ่ีออนตัวและลดความรนุ แรงของลมลง หรือเกิดจากหยอมความกดอากาศต่ํา รองความกด อากาศตา่ํ อาจไมม ีทศิ ทางที่แนนอน หากสภาพการณแ วดลอมตา ง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม ก็จะเกิดฝนตก มลี มพดั 2. พายุหมนุ เขตรอน (Tropical cyclone) ไดแ ก เฮอรริเคน ไตฝุน และไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุ หมุนขนาดใหญเชนเดียวกัน และจะเกิดข้ึนหรือเริ่มตนกอตัวในทะเล หากเกิดเหนือเสนศูนยสูตร จะมีทิศ ทางการหมนุ เวยี นทวนเข็มนาฬกิ า และหากเกิดใตเสนศูนยสูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยมีช่ือตางกันตาม สถานที่เกดิ คอื 2.1 พายุเฮอรริแคน (hurricane) เปนช่ือเรียกพายุหมุนที่เกิดบริเวณทิศตะวันตกของ มหาสมุทรแอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เปนตน รวมท้ัง มหาสมุทรแปซิฟก บรเิ วณชายฝง ประเทศเม็กซโิ ก 2.2 พายุไตฝุน (typhoon) เปนชื่อพายุหมุนท่ีเกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก เหนือ เชน บริเวณทะเลจีนใต อาวไทย อาวตังเก๋ีย ประเทศญี่ปุน แตถาเกิดในหมูเกาะฟลิปปนส เรียกวา บาเกยี ว (Baguio) 2.3 พายุไซโคลน (cyclone) เปนช่ือพายุหมุนท่ีเกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ เชน บริเวณ อา วเบงกอล ทะเลอาหรับ เปน ตน แตถ าพายุนเี้ กิดบริเวณทะเลติมอรแ ละทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศ ออสเตรเลีย จะเรยี กวา พายวุ ิลล-ี วิลลี (willy-willy)

35 2.4 พายุโซนรอน (tropical storm) เกิดขึ้นเมอื่ พายเุ ขตรอ นขนาดใหญออ นกําลงั ลง ขณะเคล่อื นตัวในทะเล และความเร็วทจี่ ุดศูนยก ลางลดลงเมือ่ เคลื่อนเขา หาฝง 2.5 พายดุ ีเปรสชนั (depression) เกดิ ข้นึ เม่อื ความเร็วลดลงจากพายุโซนรอน ซึ่งกอใหเกิด พายฝุ นฟา คะนองธรรมดาหรือฝนตกหนกั 2.6 พายทุ อรนาโด (tornado) เปน ช่ือเรียกพายุหมุนท่เี กิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็ก หรือเสน ผาศูนยกลางนอย แตห มนุ ดว ยความเรว็ สูง หรอื ความเร็วทีจ่ ดุ ศนู ยกลางสูงมากกวา พายหุ มนุ อื่น ๆ กอ ความเสียหายไดร ุนแรงในบรเิ วณทีพ่ ดั ผา นเกดิ ไดท้งั บนบก และในทะเล หากเกดิ ในทะเล จะเรยี กวา นาคเลนนํ้า (water spout) บางครั้งอาจเกิดจากกลุมเมฆบนทองฟา แตหมุนตัวยื่นลงมาจากทองฟาไมถึง พ้ืนดนิ มีรูปรา งเหมอื นงวงชา ง จึงเรยี กกนั วา ลมงวง อนั ตรายของพายุ 1. ความรุนแรงและอันตรายอันเกดิ จากพายไุ ตฝ นุ เม่อื พายุทมี่ ีกาํ ลังขนาดไตฝ นุ พัดผานท่ใี ดยอ มทําใหเ กดิ ความเสยี หายรา ยแรงทว่ั ไป เชน บนบกตน ไม จะลม ถอนราก ถอนโคน บา นเรือนพงั ทบั ผคู นในบานและทใ่ี กลเคยี งบาดเจ็บหรอื ตาย สวน ไรนาเสียหายหนกั มาก เสาไฟฟาลม สายไฟฟา ขาด ไฟฟา ช็อต เกิดเพลงิ ไหมและผคู นอาจเสียชวี ติ จากไฟฟา ดูดได ผคู นทม่ี อี าคาร พักอาศัยอยรู มิ ทะเลอาจถกู นา้ํ พัดพาลงทะเลจมนํ้าตายได ดงั เชน ปรากฎการณทแี่ หลมตะลุมพุก จังหวดั นครศรธี รรมราช ในทะเลลมแรงจัดมากคล่ืนใหญ เรือขนาดใหญ ขนาดหมื่นตันอาจจะถูกพัดพาไปเกยฝงลมจมได บรรดาเรอื เล็กจะเกดิ อนั ตรายเรือลม ไมสามารถจะตานความรุนแรงของพายไุ ด คลน่ื ใหญซ ดั ขนึ้ ริมฝงจะทําให ระดบั นา้ํ ข้ึนสูงมากจนทวมอาคารบา นชองรมิ ทะเลได บรรดาโปะจับปลาในทะเลจะถกู ทําลายลงโดยคล่นื และลม

36 2. ความรนุ แรงและอนั ตรายจากพายโุ ซนรอ น พายุโซนรอนมีความรุนแรงนอยกวาพายุไตฝุน ฉะนั้น อันตรายจะเกิดจากการที่พายุนี้พัดมาปะทะ ลดลงในระดับรองลงมาจากพายุไตฝนุ แตความรนุ แรงท่ีจะทาํ ใหความเสยี หายก็ยงั มมี ากเหมือนกัน ในทะเลลม จะแรงมากจนสามารถทาํ ใหเ รือขนาดใหญ ๆ จมได ตน ไมถ อนรากถอนโคน ดังพายุโซนรอนท่ีปะทะฝงแหลม ตะลุมพุก จังหวดั นครศรธี รรมราช ถาการเตรียมการรบั สถานการณไ มเพียงพอ ไมม กี ารประชาสมั พนั ธใหป ระชาชนไดทราบ เพ่ือหลีกเลย่ี ง ภยั อันตรายอยา งท่ัวถงึ ไมมวี ิธกี ารดําเนนิ การทเี่ ขมแข็งในการอพยพ การชวยเหลอื ผปู ระสบภยั ตาง ๆ ในระหวา งเกดิ พายุ การสญู เสียก็ยอมมกี ารเสยี ท้ังชวี ติ และทรัพยส มบตั ิของประชาชน 3. พายดุ เี ปรสชน่ั เปนพายุท่มี ีกาํ ลงั ออ น ไมมีอนั ตรายรุนแรงแตทําใหมีฝนตกปานกลางท่ัวไปตลอด ทางทีพ่ ายดุ เี ปรสช่นั พัดผา น และมีฝนตกหนักเปนแหง ๆ พรอ มดว ยลมกรรโชกแรงเปน ครง้ั คราว ซึ่งบางคราว จะรุนแรงจนทําใหเกิดความเสียหายได ในทะเลคอนขางแรงและคล่ืนจัด บรรดาเรือประมงเล็กขนาด ตํา่ กวา 50 ตนั ควรงดเวน ออกทะเลเพราะอาจจะลม ลงได และพายุดีเปรสชนั่ น้เี มอื่ อยใู นทะเลไดรับไอนํ้าหลอ เล้ยี งตลอดเวลา และไมม สี ิ่งกีดขวางทางลมอาจจะทวีกําลังขน้ึ ได โดยฉับพลัน ฉะนั้น เมื่อไดรับทราบขาววามี พายุดีเปรสช่ันขึ้นในทะเลก็อยาวางใจวาจะมีกําลังออนเสมอไปอาจจะมีอันตรายไดเหมือนกัน สําหรับพายุ พดั จดั จะลดนอยลงเปน ลําดบั มแี ตฝนตกทว่ั ไปเปน ระยะนาน ๆ และตกไดมากถึง 100 มิลลิเมตร ภายใน 12 ชั่วโมง ซึง่ ตอ ไปก็จะทําใหเ กดิ น้ําปาไหลบาจากภเู ขาและปา ใกลเคยี งลงมาทว มบานเรือนไดในระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากพายุไดผ านไปแลว 4. ความรนุ แรงและอันตรายจากพายุฤดูรอน พายฤุ ดรู อนเปนพายุที่เกิดข้ึนโดยเหตแุ ละวิธีการตางกับพายุดีเปรสชั่น และเกิดบนผืนแผนดินที่รอน อบอาวในฤดรู อนแตเปนพายทุ ม่ี บี รเิ วณยอ ม ๆ มอี าณาเขตเพียง 20-30 ตารางกิโลเมตร แตอาจมีลมแรงมาก

37 ถึง 47 น็อต หรือ 87 กิโลเมตรตอชั่วโมง พายุนี้มีกําลังแรงที่จะทําใหเกิดความเสียหายไดมาก แตเปนชวง ระยะเวลาสัน้ ๆ ประมาณ 2-3 ช่วั โมง อนั ตรายทีเ่ กดิ ขนึ้ คือ ตน ไมห ักลมทบั บา นเรอื นผคู น ฝนตกหนกั และอาจ มลี กู เห็บตกได ในกรณที ่พี ายมุ ีกําลงั แรง การเตรยี มการปองกนั อนั ตรายจากพายุ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟง คาํ เตอื นจากกรมอุตนุ ิยมวิทยาสม่าํ เสมอ 2. สอบถาม แจงสภาวะอากาศรอนแกก รมอตุ ุนยิ มวทิ ยา 3. ปลูกสราง ซอ มแซม อาคารใหแข็งแรง เตรียมปองกนั ภยั ใหส ตั วเลี้ยงและพชื ผลการเกษตร 4. ฝกซอ มการปอ งกันภยั พิบตั ิ เตรียมพรอมรับมอื และวางแผนอพยพหากจําเปน 5. เตรียมเคร่อื งอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยกุ ระเปาห้ิวเพ่ือตดิ ตามขาวสาร 6. เตรยี มพรอมอพยพเม่ือไดรับแจง ใหอ พยพ 2) นํา้ ทว ม สาเหตุสาํ คัญข้ึนอยกู บั สภาพทอ งที่ และความวิปรติ ผันแปรของธรรมชาติแตใ นบางทองท่ี การกระทํา ของมนุษยก ็มีสวนสาํ คญั และ เกดิ จากมนี ้าํ เปน สาเหตุ อาจจะเปนนํ้าทวม น้ําปาหรืออื่น ๆ โดยปกติ อุทกภัย เกดิ จากฝนตกหนกั ตอ เนอื่ งกนั เปน เวลานาน บางครง้ั ทาํ ใหเกิดแผน ดนิ ถลม อาจมสี าเหตจุ ากพายหุ มนุ เขตรอน ลมมรสมุ มีกําลังแรง รอ งความกดอากาศต่ํามีกําลังแรงอากาศแปรปรวน นํ้าทะเลหนุน แผนดินไหว เข่ือนพัง ซ่งึ ทําใหเ กดิ อุทกภยั ได สาเหตุการเกิดอุทกภัยแบง ไดเปน 2 ชนดิ ดงั นี้ 2.1 จากนํา้ ปา ไหลหลากและน้ําทวมฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักติดตอกันหลายช่ัวโมง ดินดูดซับ ไมทนั นาํ้ ฝนไหลลงพน้ื ราบอยา งรวดเรว็ ความแรงของนาํ้ ทาํ ลายตน ไม อาคาร ถนน สะพาน ชีวิต ทรัพยสนิ 2.2 จากน้ําทวมขงั และนา้ํ เออนอง เกิดจากนาํ้ ในแมน ้าํ ลําธารลนตล่ิง มีระดับสูงจากปกติ ทวมและ แชข ัง ทําใหก ารคมนาคมชะงัก เกดิ โรคระบาด ทาํ ลายสาธารณูปโภค และพืชผลการเกษตร การปองกนั นํา้ ทวมปฏิบตั ิไดดงั น้ี 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟง คําเตอื นจากกรมอตุ ุนิยมวทิ ยา 2. ฝก ซอ มการปอ งกนั ภัยพบิ ัติ เตรียมพรอมรับมือ และวางแผนอพยพหากจําเปน 3. เตรียมน้าํ ด่ืม เครอ่ื งอุปโภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วทิ ยุกระเปาหวิ้ เพอ่ื ตดิ ตามขา วสาร 4. ซอ มแซมอาคารใหแ ขง็ แรง เตรยี มปองกันภยั ใหส ตั วเ ลยี้ งและพืชผลการเกษตร 5. เตรียมพรอมเสมอเมอ่ื ไดร บั แจง ใหอ พยพไปท่ีสงู เม่ืออยใู นพื้นท่ีเส่ียงภัย และฝนตกหนกั ตอเน่ือง 6. ไมล งเลน น้าํ ไมข ับรถผา นนาํ้ หลากแมอยูบ นถนน ถาอยูใ กลนา้ํ เตรียมเรอื เพอ่ื การคมนาคม 7. หากอยใู นพ้นื ทนี่ ้ําทวมขัง ปอ งกันโรคระบาด ระวังเร่อื งน้าํ และอาหารตอ งสุก และ สะอาดกอ น บริโภค

38 3) แผนดนิ ไหว เปน ปรากฏการณ การสัน่ สะเทอื นหรอื เขยา ของพ้ืนผวิ โลก สาเหตขุ องการเกิดแผน ดนิ ไหวน้ันสวนใหญ เกดิ จากธรรมชาติ โดยแผนดนิ ไหวบางลักษณะสามารถเกดิ จากการกระทําของมนษุ ยไ ดเชน การทดลองระเบดิ ปรมาณู การปรบั สมดลุ เนื่องจากนํ้าหนักของนํ้าท่ีกักเก็บในเขอ่ื นและแรงระเบดิ การทาํ เหมืองแร เปน ตน การปฏิบตั ิปองกนั ตวั เองจากการเกดิ แผนดนิ ไหว กอ นเกิดแผน ดนิ ไหว 1. ควรมีไฟฉายพรอ มถา นไฟฉาย และกระเปา ยาเตรยี มไวใ นบาน และใหท กุ คนทราบวาอยทู ่ไี หน 2. ศกึ ษาการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน 3. ควรมีเครือ่ งมอื ดับเพลิงไวใ นบาน เชน เครื่องดับเพลงิ ถุงทราย เปนตน 4. ควรทราบตําแหนงของวาลว ปด นํา้ วาลว ปดกา ซ สะพานไฟฟาสําหรับตัดกระแสไฟฟา 5. อยา วางสงิ่ ของหนกั บนชน้ั หรอื หงิ้ สงู ๆ เมื่อแผน ดินไหวอาจตกลงมากเปนอนั ตรายได 6. ผูกเครอ่ื งใชหนัก ๆ ใหแ นนกบั พ้ืนผนงั บา น 7. ควรมกี ารวางแผนเรื่องจดุ นดั หมาย ในกรณีทีต่ องพลดั พรากจากกนั เพื่อมารวมกันอีกคร้ังในภายหลงั ระหวางเกิดแผน ดนิ ไหว 1. อยา ตนื่ ตกใจ พยายามควบคุมสติอยอู ยางสงบ 2. ถาอยใู นบานใหยืนหรือหมอบอยูในสว นของบา นที่มีโครงสรา งแขง็ แรงท่ีสามารถรับน้ําหนักไดมาก และใหอยหู างจากประตู ระเบียง และหนาตาง 3. หากอยใู นอาคารสงู ควรตงั้ สติ และรบี ออกจากอาคารโดยเรว็ หนใี หห างจากส่งิ ทีจ่ ะลมทับได 4. ถาอยูในที่โลงแจง ใหอยูหางจากเสาไฟฟา และส่ิงหอยแขวนตาง ๆ ที่ปลอดภัยภายนอก คือ ที่โลงแจง 5. อยาใช เทยี น ไมข ีดไฟ หรอื สิง่ ท่ที าํ ใหเกดิ เปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจมีแกส รัว่ อยูบรเิ วณนัน้ 6. ถากาํ ลังขบั รถใหหยดุ รถและอยูภายในรถ จนกระทัง่ การสั่นสะเทอื นจะหยดุ 7. หา มใชล ฟิ ทโ ดยเด็ดขาดขณะเกดิ แผนดนิ ไหว 8. หากอยูชายหาดใหอ ยูหางจากชายฝง เพราะอาจเกดิ คลืน่ ขนาดใหญซดั เขา หาฝง หลังเกิดแผน ดนิ ไหว 1. ควรตรวจตวั เองและคนขางเคยี งวา ไดร บั บาดเจบ็ หรอื ไม ใหท ําการปฐมพยาบาลขั้นตน กอน 2. ควรรบี ออกจากอาคารที่เสียหายทันที เพราะหากเกดิ แผนดนิ ไหวตามมา อาคารอาจพงั ทลายได 3. ใสรองเทาหุมสนเสมอ เพราะอาจมีเศษแกว หรือวสั ดุแหลมคมอน่ื ๆ และสงิ่ หกั พังท่มิ แทงได 4. ตรวจสายไฟ ทอ นํ้า ทอแกส ถา แกสรว่ั ใหปด วาลว ถังแกส ยกสะพานไฟ อยา จดุ ไมขดี ไฟ หรอื กอ ไฟจนกวา จะแนใจวาไมมีแกสรัว่ 5. ตรวจสอบวา แกสรวั่ ดวยการดมกลน่ิ เทา นัน้ ถาไดก ล่นิ ใหเปด ประตหู นาตา งทกุ บาน

39 6. ใหออกจากบริเวณทีส่ ายไฟขาด และวสั ดุสายไฟพาดถึง 7. เปด วทิ ยฟุ งคาํ แนะนําฉกุ เฉิน อยาใชโทรศพั ท นอกจากจําเปน จริง ๆ 8. สํารวจดูความเสยี หายของทอสว ม และทอ นาํ้ ทงิ้ กอ นใช 9. อยา เขา ไปในเขตทมี่ คี วามเสยี หายสงู หรืออาคารพงั 4) ปรากฏการณเรือนกระจก คาํ วา เรือนกระจก (greenhouse) หมายถึง อาณาบริเวณทปี่ ด ลอ มดวยกระจกหรือวสั ดอุ นื่ ซ่ึงมผี ล ในการเก็บกักความรอนไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใชเรือนกระจกในการเพาะปลูกตนไม เพราะ พลังงานแสงอาทิตยสามารถผานเขาไปภายในไดแตความรอนที่อยูภายในจะถูกกักเก็บ โดยกระจกไมให สะทอนหรือแผออกสูภายนอกไดทําใหอณุ หภูมขิ องอากาศภายในอบอุน และเหมาะสมตอการเจรญิ เตบิ โตของ พืชแตกตา งจากภายนอกที่ยังหนาวเย็น นักวิทยาศาสตรจ ึงเปรยี บเทียบปรากฏการณท คี่ วามรอนภายในโลก ถูกกับดักความรอนหรือกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases) เก็บกักเอาไวไมใหสะทอนหรือแผออกสู ภายนอกโลกวา ปรากฏการณเ รอื นกระจก โลกของเราตามปกติมกี ลไกควบคุมภมู อิ ากาศโดยธรรมชาตอิ ยแู ลว กระจกตามธรรมชาติของโลก คือ กา ซคารบ อนไดออกไซดและไอนาํ้ ซึ่งจะคอยควบคุมใหอุณหภูมิของโลกโดยเฉล่ียมีคาประมาณ 15 °C และ ถา หากในบรรยากาศไมม กี ระจกตามธรรมชาตอิ ณุ หภูมิของโลกจะลดลงเหลอื เพียง -20°C มนุษยและพืชก็จะ ลม ตายและโลกกจ็ ะเขา สยู ุคนาํ้ แข็งอกี ครัง้ หนง่ึ สาเหตสุ ําคัญของการเกิดปรากฎการณเรอื นกระจกมาจากการเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจกประเภท ตา ง ๆ ไดแก คารบอนไดออกไซด (CO2) ไอน้ํา (H2O) โอโซน (O3) มีเทน (CH4)ไนตรัสออกไซด (N2O) และ คลอโรฟลอู อโรคารบอน (CFCs) ในสวนของกาซคารบ อนไดออกไซดจ ะเกดิ การหมนุ เวียนและรักษาสมดลุ ตามธรรมชาติ ปญ หาในเรื่องปรากฏการณเ รอื นกระจกจะไมส ง ผลกระทบท่รี ุนแรงตอมนุษยชาตโิ ดยเดด็ ขาด แตปญ หาที่โลกของสงิ่ มีชวี ติ กําลงั ประสบอยูในปจจบุ ันกค็ อื ปริมาณกา ซเรือนกระจกที่อยใู นบรรยากาศ เกิดการสญู เสียสมดลุ ขึน้ ปรมิ าณความเขมของกา ซเรอื นกระจกบางตวั เชน คารบอนไดออกไซด มีเทน ไนตรัส ออกไซดแ ละคลอโรฟลอู อโรคารบ อนกลบั เพิ่มปริมาณมากขนึ้ นับตัง้ แตเกดิ การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม (industrial revolution) หรือประมาณป พ.ศ. 2493 เปนตน มา กจิ กรรมตา ง ๆ ทท่ี ําใหเ กิดการเพิ่มข้ึนของกาซเรือนกระจกมีดังน้ีคือ 57% เกิดจากการเผาไหมของ เช้ือเพลิงฟอสซิล (นํ้ามันเชื้อเพลิง ถานหินและกาซธรรมชาติ) 17% เกิดจากการใชสารคลอโรฟลูออโร คารบอน 15% เกดิ จากการผลิตในภาคเกษตรกรรม 8% เกดิ จากการตัดไมทําลายปา สวนอีก 3% เกิดจาก การเปล่ียนแปลงตามธรรมชาติ นกั วทิ ยาศาสตรท่ัวโลกไดต ิดตามการเพม่ิ ขนึ้ ของปรมิ าณกา ซเรอื นกระจก โดยการใชวทิ ยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยีอนั ทันสมยั เชน การใชดาวเทียมสํารวจอากาศและสามารถสรปุ ไดว าในแตละปส ดั สว นของกา ซเรอื น กระจกท่ีถูกปลอยออกจากโลก โมเลกุลของคารบอนไดออกไซดจะมีผลตอการตอบสนองในการเก็บกัก ความรอ นนอยมาก แตเน่ืองจากปริมาณของคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษยมีมาก

40 ที่สดุ ดังน้ัน หัวใจสําคัญของการแกปญ หาจงึ ตองมงุ ประเด็นตรงไปทกี่ ารลดปรมิ าณคารบอนไดออกไซด ซ่ึงเกิด จากการเผาไหมข องเช้ือเพลิง ฟอสซลิ กอนเปนอนั ดับแรก ตอ จากนั้นจึงคอ ยลดและเลกิ การใชค ลอโรฟลอู อโร- คารบอนรวมถึงการควบคมุ ปริมาณของมีเทนและไนตรสั ออกไซดท จี่ ะปลอยขึ้นสูบรรยากาศ ผลกระทบตอ มนุษยช าติจากการเกิดปรากฎการณเรือนกระจก จากการคาดการณของนกั วทิ ยาศาสตร อณุ หภูมโิ ดยเฉลยี่ ของโลกสูงข้ึนถึงแมการเพิ่มสูงขึ้นจะแสดง ออกมาเปนตัวเลขเพียงเล็กนอย แตอาจสงผลกระทบที่รุนแรงตอโลกของส่ิงมีชีวิต เพราะการเปลี่ยนแปลง อณุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลกดังทเี่ กดิ ข้ึนในปจ จบุ นั ทําใหค วามแตกตางระหวางอณุ หภมู ิบริเวณเสน ศนู ยสตู รกบั บรเิ วณ ขวั้ โลกลดนอยลงทําใหเกดิ ความผนั ผวนข้ึนในอณุ หภมู ิอากาศของโลก เชน แนวปะทะระหวางอากาศรอนกับ อากาศเยน็ ของลมเปลยี่ นไปอยา งมากเกิดสภาวะความกดอากาศตํา่ มากขึน้ ทําใหม ีลมมรสมุ พัดแรง เกดิ ลมพายุ ชนิดตาง ๆ เชน พายุโซนรอน ใตฝุน ดีเปรสช่ันและทอรนาโดขึ้นบอย ๆ หรืออาจเกิดฝนตกหนักผิดพ้ืนท่ี สมดุลทางธรรมชาติจะเปลี่ยนแปลงไปทําใหเกิดภัยธรรมชาติ เชน ดินถูกนํ้าเซาะพังทลายหรือเกิดอุทกภัย เฉียบพลนั เปน ตน นอกจากนีน้ กั วิทยาศาสตรยงั มคี วามเช่ือวาหากอุณหภูมิเฉล่ียของโลกสูงมากจะทําใหนํ้าแข็งบริเวณ ข้ัวโลกละลาย นํ้าในทะเลและมหาสมทุ รจะเพม่ิ ปรมิ าณและทวมทนทําใหเกาะบางแหงจมหายไป เมืองท่ีอยู ใกลช ายทะเลหรือมรี ะดับพ้นื ทีต่ ่าํ เชน กรงุ เทพฯ จะเกิดปญหาน้ําทวมขึ้นและถาน้ําแข็งบริเวณข้ัวโลกละลาย อยา งตอเน่ือง ก็จะสง ผลใหระดบั น้าํ ทะเลท่ัวโลกเพ่มิ สูงขน้ึ อีกสามเมตรหรือมากกวานน้ั ซง่ึ หมายถงึ อทุ กภัย ครั้งใหญจะเกิดขึ้นในโลกอยางแนนอน จากเอกสารของโครงการสิ่งแวดลอมขององคการสหประชาชาติ ไดประมาณการณวาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกอาจสูงขึ้น 2 ถึง 4°C และระดับน้ําทะเลอาจสูงข้ึน 20-50 เซนติเมตร ในระยะเวลาอกี 10 – 50 ปนบั จากปจ จุบนั มาตรการปอ งกนั ผลกระทบจากการเกดิ ปรากฎการณเ รอื นกระจก หลกั จากที่เราไดท ราบมูลเหตแุ หง การเกดิ ปรากฎการณเ รือนกระจกแลว ขอสรุปที่ดีที่สุดในการแกไข ปญ หา คอื การลดปรมิ าณกาซเรือนกระจกทจ่ี ะถูกปลอยออกสูบ รรยากาศใหอ ยูในสัดสว น และปริมาณท่ีนอย ที่สดุ เทา ทีจ่ ะกระทาํ ได การรกั ษาระดับความหนาแนน ของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศทที่ ั่วโลกกําลังปฏิบัติ มีหลายวิธี ยกตัวอยางเชน มาตรการของ IPCC (Intergovermental Panel on Climate Change) ซ่งึ ประมาณการณเอาไววาการรักษาระดับความหนาแนนของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศใหอยูในระดับ เดยี วกับปจ จบุ นั จะตอ งลดการปลดปลอ ยกาซเรือนกระจกจากการกระทาํ ของมนุษยใ หต ่าํ ลงจากเดิม 6% และ ไดเ สนอมาตรการตา ง ๆ ดังนี้ 1. สงเสรมิ การสงวนและการใชพ ลงั งานอยางมปี ระสิทธิภาพสูงสุดดังจะยกตัวอยางในบานเมืองของ เราก็เชน การใชเครื่องไฟฟาท่ีมีสลากประหยัดไฟ หรือการเลือกใชหลอดฟลูออเรสเซนต ชนิดหลอดผอม เปนตน

41 2. หามาตรการในการลดปริมาณคารบอนไดออกไซด เชน กําหนดนโยบายผูทําใหเกิดมลพิษตอง เปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ในการบําบัดในบางประเทศมีการกําหนดใหมีการเก็บภาษีผูท่ีทําใหเกิดกาซ คารบอนไดออกไซดใหมากขน้ึ ท้งั นจี้ ะสง ผลตอ การประหยดั พลงั งานของประเทศทางออ มดวย 3. เลิกการผลิตและการใชคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) รวมท้ังคนหาสารอื่นมาทดแทนคลอโร ฟลอู อโรคารบ อน ในบางประเทศกําหนดใหใ ชไ ฮโดรฟลูออโรคารบอน(HFCs) แทน สําหรับประเทศไทยของ เรามีการสงเสริมการสรางคานิยมในการใชสเปรย และอุปกรณที่อยูในประเภทที่ปราศจากคลอโรฟลูออโร คารบ อน (Non-CFCs) เปน ตน 4. หันมาใชเ ชื้อเพลงิ ทีก่ อใหเ กิดคารบ อนไดออกไซดในปรมิ าณที่นอ ยกวาเมือ่ เทียบกบั คา พลังงานท่ีได เชน การกอ สรางโครงการรถไฟฟา ของกรงุ เทพมหานครจะชว ยลดการใชน าํ้ มนั เชอ้ื เพลิงจากการขนสงมวลชน ในแตล ะวันไดอ ยางดีและประสิทธภิ าพทสี่ ดุ 5. สนับสนุนการวิจัยเก่ียวกับแหลงพลังงานทดแทนอ่ืน ๆ เชน พลังงานแสงอาทิตยและพลังงาน นวิ เคลยี รใ หเ กดิ เปนรูปธรรมและไดรับความเช่ือมั่นจากประชาชนวาจะไมกอใหเกิดมหันตภัยมวลมนุษยชาติ ดังท่ีเกดิ ข้ึนในเชอรโนบวิ ล 6. หยุดยั้งการทําลายปาไมและสนับสนุนการปลูกปาทดแทน สําหรับในประเทศไทยการรณรงค ในเรือ่ งการปลูกปาเฉลิมพระเกียรตินับเปน โครงการที่นาสนบั สนนุ อยา งมาก 5) ภาวะโลกรอ น ภาวะโลกรอน หมายถึง การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศทีเ่ กิดจากการกระทําของมนุษย ท่ีทําใหอุณหภูมิ เฉลยี่ ของโลกเพมิ่ สงู ขน้ึ เราจงึ เรียกวา ภาวะโลกรอ น (Global Warming) กิจกรรมของมนษุ ยท่ที าํ ใหเ กิดภาวะ โลกรอนคือ กิจกรรมทที่ าํ ใหป รมิ าณกา ซเรอื นกระจกในบรรยากาศเพมิ่ มากขนึ้ ไดแก การเพมิ่ ปรมิ าณกา ซเรอื น กระจกโดยตรง เชน การเผาไหมเช้ือเพลิง และการเพิ่มปริมาณกาซเรือนกระจกโดยทางออม คือ การตัดไม ทําลายปา หากไมมกี ารชว ยกันแกไขปญหาโลกในวันน้ี ในอนาคตจะสงผลกระทบดงั น้ี 1. ทําใหฤดูกาลของฝนเปล่ียนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น หมายถึงวา ฝนอาจจะตกบอ ยข้ึน แตน ํา้ จะระเหยเร็วข้นึ ดว ย ทําใหด ินแหงเร็วกวาปกตใิ นชว งฤดกู าลเพาะปลูก 2. ผลผลติ ทางการเกษตรจะลดลง นอกจากผลกระทบโดยตรงจากอุณหภมู ิ ฝน ชวงระยะเวลาฤดกู าล เพาะปลกู แลว ยังเกิดจากผลกระทบทางออมอีกดว ย คอื การระบาดของโรคพชื ศตั รพู ชื และวัชพืช 3. สตั วนํา้ จะอพยพไปตามการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิน้าํ ทะเล แหลงประมงท่ีสาํ คัญ ๆ ของโลกจะ เปลยี่ นแปลงไป 4. มนุษยจะเสียชีวิตเน่ืองจากความรอนมากขึ้น ตัวนําเช้ือโรคในเขตรอนเพิ่มมากขึ้น ปญหาภาวะ มลพิษทางอากาศภายในเมอื งจะรุนแรงมากข้ึน

42 วิธีการลดภาวะโลกรอน มี 10 วธิ ีดงั น้ี 1. ลดการใชพลงั งานทไี่ มจ าํ เปน จากเครือ่ งใชไฟฟา เชน เครอื่ งปรบั อากาศ พดั ลม หากเปน ไปไดใชวิธี เปดหนา ตา ง ซึ่งบางชว งท่ีอากาศดี ๆ สามารถทาํ ได เชน หลังฝนตก หรือชว งอากาศเยน็ เปน การลดคาไฟ และ ลดความรอ น เนือ่ งจากหลกั การทาํ ความเยน็ น้นั คอื การถายเทความรอ นออก ดังน้ันเวลาเราใชเครื่องปรับอากาศ จะเกดิ ปริมาณความรอนบรเิ วณหลงั เครื่องระบายความรอ น 2. เลอื กใชระบบขนสง มวลชน ในกรณที ่สี ามารถทาํ ได ไดแก รถไฟฟา รถตู รถเมล เน่ืองจากพาหนะ แตละคัน จะเกิดการเผาผลาญเช้ือเพลิง ซ่ึงจะเกิดความรอน และกาซคารบอนไดออกไซด ดังนั้นเมื่อลด ปรมิ าณจาํ นวนรถ ก็จะลดจํานวนการเผาไหมบนทองถนน ในแตละวนั ลงได 3. ชว ยกันปลกู ตน ไม เพราะตนไมจ ะคายความชุมช้ืนใหกับโลก และชวยดูดกาซคารบอนไดออกไซด ซึง่ เปนสาเหตภุ าวะเรือนกระจก 4. การชวนกนั ออกไปเที่ยวธรรมชาตภิ ายนอก กช็ วยลดการใชปรมิ าณไฟฟา ได 5. เวลาซ้ือของพยายามไมรับภาชนะที่เปนโฟม หรือกรณีที่เปนพลาสติก เชน ขวดนํ้าพยายามนํา กลับมาใชอ ีก เน่อื งจากพลาสตกิ เหลา น้ีทาํ การยอ ยสลายยาก ตองใชปริมาณความรอน เหมือนกับตอนที่ผลิต มนั มา ซงึ่ จะกอใหเ กดิ ความรอนกับโลกของเรา เราสามารถนาํ กลบั มาใชเ ปนภาชนะใสนํ้าแทนกระติกนํ้า หรือ ใชปลกู ตนไมก ็ได 6. ใชกระดาษดวยความประหยดั กระดาษแตละแผน ทํามาจากการตัดตนไม ซึ่งเปนเสมือนปราการ สําคญั ของโลกเรา ดงั นั้นการใชกระดาษแตละแผนควรใชใหประหยัดทั้งดานหนาหลัง ใชเสร็จควรนํามาเปน วัสดรุ อง หรอื นาํ มาเชด็ กระจกกไ็ ด นอกจากนก้ี ารนาํ กระดาษไปเผาก็จะเกิดความรอ นตอ โลกเราเชน กนั 7. ไมสนับสนุนกิจการใด ๆ ท่ีส้ินเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการท่ีมีการ คาํ นึงถึงการรักษาส่ิงแวดลอม กิจกรรมท่ี 1.2 ลักษณะปรากฏการณท างธรรมชาติทสี่ าํ คัญและการปองกันอันตราย 1. ปรากฏการณเ รอื นกระจกคืออะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook