Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและถูกต้องตามสิทธิในการนำมาใช้

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและถูกต้องตามสิทธิในการนำมาใช้

Published by pathchanon Khamram, 2023-01-08 13:57:26

Description: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและถูกต้องตามสิทธิในการนำมาใช้

Search

Read the Text Version

1.กฎหมายเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร 1.1 พระราชบญั ญตั าิ ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ประเทศไทยไดประกาศใชพระราชบัญญตั ิวาดวยการกระทําความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร ฉบับแรกใน พ.ศ. 2550 และไดมกี ารปรับปรุงบทบญั ญตั ิใหทันสมัยและสอดคลองกับสถานการณใ นปจ จบุ ัน เหตุผลในการประกาศใชพระราชบญั ญัตฉิ บบั นี้ คือ พระราชบัญญัตวิ าดว ยการกระทาํ ความผดิ เก่ยี วกับ คอมพวิ เตอร พ.ศ. 2550 มบี ทบัญญตั ิบางประการทไ่ี มเ หมาะสมตอการปองกันและปราบปรามการกระทาํ ความผิดเกย่ี วกับคอมพิวเตอรใ นปจ จุบนั ซ่ึงมีรูปแบบการกระทําความผิดทมี่ ีความซบั ซอนมากขนึ้ ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีซ่งึ เปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็ และโดยท่ีมีการจดั ตงั้ กระทรวงดจิ ิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมซึ่งมีภารกิจในการกาํ หนดมาตรฐานและมาตรการในการรักษาความมนั่ คงปลอดภัย ไซเบอร รวมทง้ั การเฝา ระวังและติดตามสถานการณดานความมน่ั คงปลอดภยั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสือ่ สารของประเทศจงึ สมควรปรบั ปรุงบทบัญญตั ใิ นสวนที่เก่ยี วกบั ผรู กั ษาการตามกฎหมาย กาํ หนดฐานความผดิ ขึ้นใหม และแกไขเพมิ่ เติมฐานความผิดเดมิ รวมท้งั บทกําหนดโทษของความผิด ดงั กลา ว การปรบั ปรุงกระบวนการและหลักเกณฑในการระงบั การทาํ ใหแ พรห ลายหรือลบขอ มูล คอมพวิ เตอร ตลอดจนกาํ หนดใหม คี ณะกรรมการเปรยี บเทียบซง่ึ มอี ํานาจเปรียบเทยี บความผิดตาม พระราชบญั ญตั วิ าดว ยการกระทําความผดิ เกีย่ วกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 และแกไ ขเพม่ิ เตมิ อาํ นาจหนาที่ ของพนกั งานเจาหนาทใ่ี หเ หมาะสมยิ่งขน้ึ ซึง่ มสี าระสาํ คัญ ดังน้ี มาตรา 4 ผูใดสง ขอ มลู คอมพวิ เตอรห รือจดหมายอิเลก็ ทรอนิกสแ กบคุ คลอ่นื อนั มลี กั ษณะ เปน การกอ ใหเกดิ ความเดอื ดรอ นราํ คาญแกผูร ับขอมูลคอมพิวเตอรหรอื จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส โดยไม เปด โอกาสใหผ ูรบั สามารถบอกเลกิ หรือแจง ความประสงคเพื่อปฏเิ สธการตอบรับไดโดยงา ย ตอ งระวางโทษ ปรบั ไมเ กิน 200,000 บาท มาตรา 5 การกระทําตอขอมลู คอมพวิ เตอรห รอื ระบบคอมพวิ เตอรที่เกีย่ วกับการรักษา ความมนั่ คงปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะความมัน่ คงในทางเศรษฐกจิ ของประเทศหรอื โครงสรา งพื้นฐานอนั เปน ประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจาํ คกุ ตั้งแต 1-7 ป และปรบั ตงั้ แต 20,000-140,000 บาท มาตรา 6 ถา การกระทําความผิดเปน เหตใุ หเ กิดอนั ตรายแกบ คุ คลอืน่ หรือทรัพยสนิ ของ ผูอืน่ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเกิน 10 ป และปรับไมเกนิ 200,000 บาท ถาการกระทาํ ความผดิ โดยมิไดมี เจตนาฆา แตเ ปนเหตใุ หบุคคลอนื่ ถงึ แกความตาย ตองระวางโทษจาํ คุกตัง้ แต 5-20 ป และปรับต้ังแต 100,000-400,000 บาท มาตรา 7 ผใู ดจาํ หนา ยหรือเผยแพรช ุดคาํ สั่งทจ่ี ัดทาํ ข้ึนโดยเฉพาะเพ่อื นําไปใชเ ปนเครื่องมอื ในการกระทาํ ความผดิ ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ 2 ป หรอื ปรบั ไมเกนิ 40,000 บาท หรอื ท้งั จาํ ทง้ั ปรบั มาตรา 8 ผูใดกระทาํ ความผิดท่รี ะบุไวดงั ตอ ไปนี้ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ 5 ป หรอื ปรบั ไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาํ ท้ังปรับ

(1) โดยทจุ ริต หรือโดยหลอกลวง นําเขา สูระบบคอมพิวเตอรซ่งึ ขอ มลู คอมพิวเตอรท ี่ บดิ เบอื นหรือปลอมไมวา ทั้งหมดหรอื บางสว นหรือขอ มูลคอมพิวเตอรอันเปน เท็จ โดยประการที่ นาจะเกิด ความเสยี หายแกป ระชาชน อนั มใิ ชก ารกระทําความผดิ ฐานหมน่ิ ประมาทตามประมวลกฎหมาย อาญา (2) นาํ เขาสูร ะบบคอมพวิ เตอรซ ึ่งขอ มูลคอมพิวเตอรอ นั เปนเท็จ โดยประการทนี่ าจะเกิด ความเสยี หายตอการรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภยั สาธารณะ ความ มนั่ คงในทาง เศรษฐกจิ ของประเทศ หรอื โครงสรางพ้ืนฐานอันเปน ประโยชนสาธารณะของประเทศ หรือกอให เกิดความ ตืน่ ตระหนกแกป ระชาชน (3) นาํ เขาสูร ะบบคอมพิวเตอรซ ่ึงขอ มูลคอมพวิ เตอรใด ๆ อนั เปน ความผดิ เกย่ี วกับ ความมั่นคงแหงราชอาณาจักรหรอื ความผิดเก่ยี วกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา (4) นาํ เขา สรู ะบบคอมพวิ เตอรซ ึ่งขอ มูลคอมพิวเตอรใด ๆ ท่มี ลี กั ษณะอนั ลามกและขอมูล คอมพิวเตอรน้นั ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงได

5) เผยแพรหรือสง ตอ ซง่ึ ขอ มูลคอมพวิ เตอรโดยรอู ยูแ ลววา เปนขอมลู คอมพวิ เตอร มาตรา 9 ผใู หบ ริการผูใดใหค วามรว มมือยินยอมหรือรูเห็นเปน ใจใหม ีการกระทําความผิด ตามมาตรา 14 ในระบบคอมพวิ เตอรท อ่ี ยูในความควบคมุ ของตน ตองระวางโทษเชน เดียวกับผูกระทาํ ความผิดตามมาตรา 14 มาตรา 10 ผูใดนาํ เขา สูระบบคอมพิวเตอรทปี่ ระชาชนทว่ั ไปอาจเขา ถึงไดซ ึง่ ขอ มูล คอมพวิ เตอรท ปี่ รากฏเปน ภาพของผูอน่ื และภาพนั้นเปนภาพท่เี กดิ จากการสรางขน้ึ ตัดตอ เติม หรอื ดัดแปลงดวยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนกิ สหรือวธิ ีการอืน่ ใด โดยประการทนี่ าจะทําใหผอู ่ืนน้ันเสียชื่อเสยี ง ถกู ดูหม่ิน ถูกเกลียดชงั หรอื ไดรบั ความอบั อาย ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ 3 ป และปรับไมเกนิ 200,000 บาท ถาการกระทาํ ตามวรรคหนง่ึ เปนการกระทําตอภาพของผตู าย และการกระทาํ น้นั นาจะทําให บดิ า มารดา คสู มรส หรือบุตรของผูต ายเสียชอ่ื เสียง ถูกดหู มน่ิ หรือถูกเกลียดชงั หรอื ไดรับความอบั อาย ผกู ระทําตอ งระวางโทษดังที่บญั ญัตไิ วใ นวรรคหนงึ่ มาตรา 14 ในกรณีท่ีมีการทาํ ใหแ พรหลายซึ่งขอมลู คอมพิวเตอร ดงั ตอไปนี้ พนกั งาน เจา หนาที่โดยไดร ับความเหน็ ชอบจากรฐั มนตรอี าจย่ืนคํารองพรอ มแสดงพยานหลกั ฐานตอศาลท่ีมี เขตอาํ นาจขอใหมีคาํ สั่งระงับการทําใหแ พรหลายหรอื ลบขอมลู คอมพวิ เตอรนนั้ ออกจากระบบคอมพิวเตอรไ ด

มาตรา 23 พนักงานเจา หนา ทหี่ รือพนกั งานสอบสวนในกรณตี ามมาตรา 18 วรรคสอง ผูใด กระทําโดยประมาทเปน เหตุใหผอู ่ืนลว งรขู อ มูลคอมพิวเตอร ขอ มลู จราจรทางคอมพิวเตอร หรอื ขอมูล ของ ผูใชบ ริการ ทีไ่ ดมาตามมาตรา 18 ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กิน 1 ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ 20,000 บาท หรอื ทง้ั จํา ทงั้ ปรบั มาตรา 24 ผูใดลวงรูข อมลู คอมพวิ เตอร ขอ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอร หรอื ขอมลู ของผใู ช บรกิ ารทีพ่ นักงานเจาหนาท่หี รอื พนกั งานสอบสวน และเปด เผยขอมลู น้ันตอ ผูหนง่ึ ผใู ด ตอ งระวางโทษ จาํ คุกไมเ กิน 2 ป หรอื ปรับไมเกนิ 40,000 บาท หรือท้งั จําท้ังปรบั มาตรา 26 ผูใหบริการตอ งเก็บรกั ษาขอ มูลจราจรทางคอมพิวเตอรไ วไมน อยกวา 30 วนั นับแตวนั ท่ีขอ มูลนั้นเขา สรู ะบบคอมพวิ เตอร แตใ นกรณจี ําเปนพนักงานเจาหนาทจ่ี ะสงั่ ใหผ ใู หบริการผู ใด เก็บรกั ษาขอ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอรไวเ กนิ 90 วนั แตไ มเกิน 2 ปเ ปน กรณพี ิเศษเฉพาะรายและ เฉพาะคราวกไ็ ด

2.ทรพั ยส ินทางปญ ญา ทเี่ ปนทรัพยส นิ ทางปญ ญา โดยไมลอกเลียนผลงานของผอู ื่น เทคโนโลยีท่ถี ูกวิจยั และพัฒนาข้ึนบางสวนเปนการเปดเผยใหสามารถนําไปประยกุ ตใชไดอ ยา งอิสระ ไมมกี ารซ้ือขาย แตบางสว นก็มกี ารคุม ครองในความเปนเจา ของผลิตภณั ฑน ้ัน ๆ ซ่ึงเรยี กวา เปน ทรพั ยสนิ ทางปญ ญา (Intellectual Property) เนื่องจากผูผลติ หรอื เจาของผลงานมกี ารลงทนุ ทงั้ ดา น การเงนิ และบุคลากรในการวจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยหี รอื ผลติ ภัณฑใหอ อกมาใชงานสนองตาม ความตองการของตลาดได หากมกี ารลักลอบ คัดลอก สําเนาไปใชงานตอก็จะเกิดความเสยี หายแก ผเู ปนเจา ของผลงานน้นั ไดในประเทศไทยมีการออกพระราชบัญญตั กิ ฎหมายคุมครองทรัพยส ินทาง ปญญา ซงึ่ การคุมครองทรัพยสนิ ทางปญ ญาแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1. ลขิ สิทธิ์ (Copyrights) หมายถึง สิทธิแตเพยี งผเู ดียวท่จี ะกระทําการใดๆ เกี่ยวกับงานทีผ่ ูส รา ง หรือพฒั นาไดคดิ คน หรอื สรา งสรรคข ึ้นโดยใชสตปิ ญญา ความรู ความสามารถ และทกั ษะของตนเอง 9 ประเภท ดังนี

กฎหมายลิขสทิ ธข์ิ องประเทศไทยน้นั ไดใหความคมุ ครองแกผ ลงานทีส่ รางขึ้น โดยแบง เปน 1.1 งานวรรณกรรม เชน หนังสอื ส่งิ พมิ พต า ง ๆ รวมทัง้ โปรแกรมคอมพวิ เตอร 1.2 งานนาฏกรรม เชน ทารํา ทาเตน หรือการแสดงทีป่ ระกอบขึ้นเปนเรื่องราว 1.3 งานศิลปกรรม เชน งานจติ รกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม ภาพถาย ฯลฯ 1.4 งานดนตรีกรรม เชน เพลงทม่ี ีคาํ รอ ง ทาํ นอง การเรียบเรียงโนตเพลง 1.5 งานสิ่งบันทกึ เสยี ง เชน แผนซีดีเพลง 1.6 งานโสตทศั นวัสดุ เชน อุปกรณท่บี นั ทกึ ภาพ เสยี ง วดิ ีโอ 1.7 งานภาพยนตร 1.8 งานแพรเสยี งแพรภ าพ เชน การกระจายเสยี งทางวิทยหุ รอื โทรทศั น 1.9 งานอนื่ ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร หรือศิลปะ 2. สทิ ธิบัตร (Patents) หมายถงึ สิทธพิ เิ ศษที่กฎหมายบัญญัตไิ วใ หเจา ของสิทธิบตั รน้นั มีสทิ ธิ แตเ พยี งผเู ดียวในการแสวงหาประโยชนจ ากการประดิษฐห รือการออกแบบผลติ ภัณฑท ี่ไดรับการจด สิทธิบัตร เชน การผลิตและการจําหนาย โดยสวนใหญแ ลวสทิ ธิบตั รจะเกีย่ วของกับสง่ิ ประดษิ ฐ ทีไ่ มเหมอื นกับใคร มเี อกลักษณของตวั เอง โดยสวนมากจะเปน เครื่องจักร เครอื่ งกลไก หรือการออกแบบ

3. เคร่ืองหมายการคา (Trademark) เปน สทิ ธ์ิในการใชเครอ่ื งหมายท่เี กย่ี วขอ งกบั สนิ คา เพ่ือ แสดงวา สนิ คา ท่ใี ชเ คร่ืองหมายของเจาของเคร่อื งหมายการคา นั้น แตกตา งกับสินคาทีใ่ ชเ ครอ่ื งหมายการคา ของบคุ คลอนื่ หากมกี ารนาํ เครื่องหมายการคานั้นไปใชใ นเชิงแอบอา งโดยไมไ ดรบั อนญุ าตกจ็ ะถกู เนนิ คดีตามกฎหมายได

3.การใชเ ทคโนโลยแี ละสารสนเทศกับการเผยแพร สทิ ธขิ องส่อื ในการนําขอมูลมาใชเผยแพรตอ หรือทาํ ซ้าํ (Fair Use and Creative Commons) การนาํ ส่ือมาใช เชน การดาวนโ หลดภาพ เพลง สื่อวดิ ีโอ หรือสื่อตาง ๆ จากโลกออนไลนก็มปี ระเด็น ดานสิทธเิ ชน เดียวกนั กับลขิ สทิ ธ์ิ เพราะเจาของทีส่ รางภาพหรอื สื่อตา ง ๆ ขนึ้ มาน้นั ไดใ ชทกั ษะและความรู ความสามารถและเสยี เวลาในการผลิตสื่อนั้น ๆ ซงึ่ ถือวาเปน ลกั ษณะของทรัพยส นิ ทางปญ ญาเชน กนั โดยกฎหมายสากลท่ีเกี่ยวกบั ทรัพยส ินทางปญญาเกิดข้นึ โดยการลงนามในสนธิสัญญา ณ กรุงเบริ น ซึง่ ประเทศไทยกล็ งนามในสัญญานั้นดว ย ดว ยเหตนุ ี้ในการนําผลงานหรือสอื่ ทดี่ ูเหมอื นวา มลี ขิ สทิ ธ์ิ หรอื เปนลกั ษณะงานท่ีเปนทรัพยส นิ ทางปญญาไปใชน ้นั กระบวนการทีถ่ ูกตองจะตองดาํ เนนิ ขัน้ ตอน ตามกฎหมาย โดยตอ งทาํ เรื่องขออนญุ าตไปยังเจาของผลงาน (ในบางกรณอี าจจะตอ งเสยี คาใชจ าย) หรือใหใ ชส ทิ ธิไดบ างสว น และเมื่อเปน ลักษณะออนไลนดว ยกจ็ ะมปี ระเด็นดานความไมส ะดวก เกิดข้ึนอยางมากในการนาํ ไปใชงาน จงึ มวี ธิ ีการแกไ ขสําหรบั เหตกุ ารณเหลา นโ้ี ดยเจาของผลงานน้นั สามารถประกาศเงอ่ื นไขการใชงานเพิม่ ขึ้นมาเปน พิเศษโดยถือวาเปน “สัญญา” ซึ่งในปจ จุบนั มโี ครงการ ทช่ี ื่อวา ครีเอทีฟคอมมอนส (Creative Commons) ข้นึ มาเพือ่ แกไขสถานการณด งั กลา ว

โครงการ Creative Commons ไดม กี ารแกปญ หา ดงั น้ี จัดชดุ ของเงอ่ื นไข เชน หา มนําไปใชเ พื่อการคา หา มดดั แปลงตอ อน่ื ๆ เขา ไวดวยกัน สรา งความคมุ ครองทางกฎหมาย โดยเขยี นสัญญาที่มผี ลบังคับใชจ รงิ ๆ ในทางกฎหมาย มีโลโก CC เพือ่ ใหเกดิ ความเขา ใจตรงกัน โดยมีลกั ษณะ 4 แบบ ดังน้ี

ปจ จัย 4 อยางทีเ่ ปนตวั กาํ หนด Fair Use 1. จดุ มงุ หมายและลกั ษณะของการใชผ ลงานทม่ี ีลขิ สทิ ธิ์ เชน เพือ่ การเรยี น เพอ่ื วจิ ารณ เพอ่ื การ MOREL 2. ลกั ษณะของผลงานลขิ สิทธิ์ เชน หนงั สอื ในหอ งสมุดท่ีสมาชกิ ยืมไปอา นได 3. ความยาวของงานท่นี ําไปใช อาจเปนหนงั สือทง้ั เลม หรอื 2-3 ยอ หนา ที่คดั ลอกไปสอน 4. ผลกระทบทีอ่ าจมีตอ ตลาด รายไดของผผู ลิตผลงาน และมูลคาของผลงาน เชน ถา หอ งสมุด ใหย มื หนังเร่อื งหนึง่ แลวผูย ืมนําไปฉายใหคนหลาย ๆ คนดู อาจมีแนวโนมทีท่ ําใหเกนิ ขอบเขตของ Fair use

4.การทาํ ธุรกิจออนไลน การทาํ ธุรกรรมออนไลนและความปลอดภัยในการใชงานสาํ หรับผูใชบ ริการ การดาํ เนนิ ชีวติ ของมนษุ ยในปจจุบันจาํ เปน ตองพ่งึ พาเทคโนโลยี เพราะไมวา กิจกรรมใด ๆ ใน แตล ะวนั จะพบวามนุษยม กี ารใชเทคโนโลยอี ยตู ลอดเวลา เชน การต่นื นอนดวยเสียงนาฬกิ าปลุกดิจทิ ลั การทําอาหารทอี่ ยากรบั ประทานดว ยการเปดเมนูและวิธีการทาํ อาหารจากอนิ เทอรเ น็ต การเดนิ ทาง ออกจากบา นโดยใชรถยนตท ีม่ ีระบบ GPS นําทางและรายงานสภาพการจราจร หรอื แมกระทง่ั การซื้อสินคา ออนไลนโดยที่ไมจ ําเปน ตอ งเดินทางไปยงั รา นคาหรือหางสรรพสนิ คา สามารถเลือกและซื้อสินคา ไดจ าก แอปพลิเคชันบนสมารตโฟนไดท กุ ทท่ี ุกเวลา ตวั อยางทีย่ กมานน้ั เปน เพียงเทคโนโลยีสวนหน่งึ ทเี่ กีย่ วขอ ง กับมนษุ ยในชีวิตประจาํ วนั เทา นน้ั ยงั มเี ทคโนโลยอี กี มากมายรวมทั้งเทคโนโลยีทีก่ ําลังเกิดขึ้นและมบี ทบาท ตอ การดําเนินชีวติ ในอนาคต เชน การเขา มาของระบบอตั โนมตั ิเพื่ออาํ นวยความสะดวก หรือระบบปญญา ประดิษฐ (Artificial Intelligence: Al) ทีจ่ ะเขามาทาํ งานตาง ๆ แทนมนษุ ย มากยง่ิ ขนึ้

การทีเ่ ทคโนโลยเี ตบิ โตอยางรวดเร็วยอ มเปน ผลดตี อ การดําเนินชวี ติ ทีจ่ ะมีสิง่ อาํ นวยความสะดวก แตก ารใชเ ทคโนโลยโี ดยไมร ะมัดระวงั หรือไมร อบคอบนั้นอาจจะสงผลเสียหรอื สรางความ เสียหายตอ ตนเองได เชน การเตบิ โตของธรุ กิจออนไลนท่ีลกู คา สามารถซ้อื สนิ คา ไดงาย สะดวกและรวดเร็ว ผานสมารต โฟนโดยไมตองเดินทางไปยงั รานคา เปน ผลใหมิจฉาชีพมีชองทางในการหลอกลวงหรือ ปลอมแปลงขอมูลดานธรุ กรรมการเงิน หรอื การทาํ ธุรกจิ ออนไลน เชน การผลติ งานฝมือและจัดจาํ หนาย ผานแอปพลเิ คชนั หรือเวบ็ ไซต ซ่ึงควรจะศึกษาขอกาํ หนดและกฎหมายเกี่ยวกับการทาํ ธรุ กจิ ออนไลน ใหเ ขาใจเสียกอน เพอ่ื ใหก ารทําธรุ กจิ ถูกตอ งตามกฎหมายและไมละเมิดสทิ ธิผอู นื่ สําหรับประเทศไทย ธุรกจิ ออนไลนน ีน้ ับไดวา มีการเจรญิ เตบิ โตสงู และมมี ูลคาการซอื้ ขายในระบบธรุ กิจออนไลนส งู มาก และ เปน เรื่องใกลต ัวที่ทุกคนควรที่จะศกึ ษาไมวา จะอยใู นฐานะผบู ริโภคหรือผูท ําธุรกจิ ก็ตาม

ธุรกิจออนไลน หรอื e-commerce คือ การทําธรุ กิจการคาผา นเครอื ขายอินเทอรเ นต็ ในรปู แบบ อัตโนมตั ิ โดยผซู ื้อซง่ึ ถือวาเปน ลกู คาตดั สินใจซ้ือสินคา ดงั กลาวและสามารถชาํ ระคา สินคา ไดทันทีผา นระบบ บตั รเครดติ บัตรเดบติ หรอื ระบบเงนิ เครดติ ในลกั ษณะอน่ื ๆ เชน Rabbit LINE Pay หรอื สามารถดําเนินการ โอนเงนิ เขา บัญชแี ละแจงกับผูท ําธรุ กิจนน้ั ภายหลงั เมอ่ื การดําเนินธุรกรรมทางการเงินไดถกู ตรวจสอบ เสร็จสนิ้ โดยสมบูรณ เว็บไซตห รือแหลง นําเสนอสินคาน้ันจะตดั สนิ คา ออกจากคลังและจดั สง สนิ คาไปยัง ลกู คาปจจุบนั ไดมีการนําเทคโนโลยใี นลกั ษณะของระบบอาํ นวยความสะดวกตางๆ มาใชใ นกระบวนการ ทางธุรกิจ เพอ่ื ลดคาใชจ ายลดขั้นตอน โดยสามารถใหบริการในการทาํ การคาขายไดต ลอด 24 ช่วั โมง สาํ หรบั ธรุ กจิ ออนไลนใ นปจจบุ ันมีอยทู ว่ั ไป และมชี อ งทางในการขายหลายเทคนคิ โดยมลี ักษณะโดยสงั เขป ดงั นี้

5.ประเภทของขอมลู ทม่ี กี ารแชรห รือแบงปน ในสงั คมออนไลน ความหมายของสอ่ื สังคมออนไลน สื่อสังคมออนไลน หมายถงึ ส่ือดิจทิ ัลท่ีเปน เครือ่ งมอื ในการปฏบิ ตั ิการทางสงั คม (Social Tool) เพ่อื ใชสือ่ สาร ระหวางกันในเครอื ขายทางสังคม (Social Network) ผา นทางเวบ็ ไซตและโปรแกรมประยุกตบ นส่อื ใดๆ ท่ีมกี ารเชอื่ มตอ กับอนิ เทอรเ น็ต โดยเนน ใหผใู ชท้ังทเ่ี ปน ผูสง สารและผูรบั สารมสี ว นรวม (Collaborative) อยา งสรา งสรรค ในการผลติ เนือ้ หาขนึ้ เอง (User-GenerateContent: UGC) ในรูปของขอ มลู ภาพ และเสียง

ประเภทของสอื่ สงั คมออนไลน ประเภทของสอื่ สงั คมออนไลน มดี ว ยกนั หลายชนดิ ขน้ึ อยกู ับลักษณะของการนํามาใชโดยสามารถแบงเปนกลุม หลักดงั น้ี 1. Weblogs หรอื เรยี กส้นั ๆ วา Blogs คือ ส่ือสวนบคุ คลบนอนิ เทอรเ นต็ ทใี่ ชเ ผยแพรขอมลู ขาวสาร ความรู ขอ คิดเหน็ บนั ทึก สวนตัว โดยสามารถแบง ปนใหบ ุคคลอื่นๆ โดยผรู บั สารสามารถเขา ไปอา น หรอื แสดงความคิดเหน็ เพม่ิ เติมได ซง่ึ การแสดงเน้ือหา ของบลอ็ กนัน้ จะเรยี งลาํ ดบั จากเนื้อหาใหมไ ปสเู นือ้ หาเกา ผูเขยี นและผูอา นสามารถคน หาเนื้อหายอนหลังเพื่ออา นและแกไขเพ่ิมเตมิ ไดตลอดเวลา เชน Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation 2. Social Networking หรอื เครือขายทางสังคมในอินเทอรเ น็ต ซึ่งเปนเครือขา ยทางสงั คมทใ่ี ชส าํ หรบั เชือ่ มตอระหวางบคุ คล กลมุ บุคคล เพอ่ื ใหเ กิดเปนกลมุ สังคม (Social Community) เพ่ือรวมกนั แลกเปลี่ยนและแบง ปนขอมูลระหวา งกนั ท้งั ดานธรุ กจิ การเมือง การศึกษา เชน Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือทเ่ี รยี กกันวา “บลอ็ กจ๋ิว” ซง่ึ เปนเว็บเซอรว สิ หรอื เวบ็ ไซตทใี่ หบ รกิ ารแกบคุ คล ทว่ั ไป สาํ หรบั ใหผใู ชบ ริการเขียนขอ ความสนั้ ๆ ประมาณ 140 ตวั อกั ษร ที่เรียกวา “Status” หรือ “Notice” เพอ่ื แสดงสถานะของตัว เองวา กําลังทําอะไรอยู หรือแจง ขาวสารตา งๆ แกกลุมเพ่อื นในสังคมออนไลน (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ท้งั น้ี การกาํ หนดใหใ ชขอมูลในรูปขอความสัน้ ๆ ก็เพอ่ื ใหผ ใู ชท ่ีเปนทง้ั ผเู ขียนและผอู า นเขาใจงา ย ทนี่ ิยมใชกันอยา งแพรห ลายคอื Twitter 4. Online Video เปน เวบ็ ไซตท ่ใี หบริการวดิ โี อออนไลนโ ดยไมเ สียคาใชจ า ย ซ่ึงปจ จุบนั ไดร ับความนยิ มอยา งแพรหลายและ ขยายตัวอยางรวดเร็ว เนอื่ งจากเน้ือหาท่ีนาํ เสนอในวดิ ีโอออนไลนไ มถ ูกจํากดั โดยผงั รายการที่แนนอนและตายตวั ทาํ ใหผูใชบริการ สามารถตดิ ตามชมไดอยางตอ เนอ่ื ง เพราะไมมโี ฆษณาคั่น รวมทัง้ ผใู ชสามารถเลือกชมเน้ือหาไดตามความตอ งการและยังสามารถ เช่ือมโยงไปยังเว็บวดิ โี ออ่ืนๆ ที่เกยี่ วขอ งไดจ าํ นวนมากอกี ดว ย เชน Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เปนเว็บไซตทีเ่ นน ใหบ ริการฝากรปู ภาพโดยผใู ชบ รกิ ารสามารถอัพโหลดและดาวนโ หลดรปู ภาพเพ่อื นํามา ใชง านได ท่ีสาํ คญั นอกเหนือจากผูใชบรกิ ารจะมโี อกาสแบงปนรูปภาพแลว ยงั สามารถใชเ ปน พน้ื ทีเ่ พอ่ื เสนอขายภาพทตี่ นเองนาํ เขา ไปฝากไดอ กี ดวย เชน Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom

6. Wikis เปน เวบ็ ไซตท ีม่ ลี กั ษณะเปนแหลงขอมูลหรือความรู (Data/Knowledge) ซง่ึ ผูเขียนสวนใหญอาจจะเปนนักวชิ าการ นักวิชาชีพหรอื ผเู ช่ียวชาญ เฉพาะทางดานตางๆ ทง้ั การเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ซึง่ ผใู ชสามารถเขยี นหรือแกไ ขขอ มลู ไดอ ยา งอิสระ เชน Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสรา งโลกจนิ ตนาการโดยจําลองสว นหนง่ึ ของชวี ติ ลงไป จัดเปน สื่อสังคมออนไลนทบ่ี รรดาผทู องโลกไซเบอรใชเ พื่อ สื่อสารระหวางกนั บนอนิ เทอรเ นต็ ในลกั ษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซ่งึ ผทู จี่ ะเขา ไปใชบริการอาจจะบริษทั หรอื องคก ารดา นธุรกิจ ดานการศกึ ษา รวมถงึ องคการดา นสอ่ื เชน สํานกั ขาวรอยเตอร สาํ นกั ขา วซเี อ็นเอน็ ตอ งเสยี คาใชจ ายในการซ้ือพ้ืนทเ่ี พือ่ ใหบ ุคคลในบรษิ ัทหรือองคก รไดมีชองทางใน การนาํ เสนอเรอื่ งราวตา งๆ ไปยงั กลมุ เครอื ขา ยผใู ชส ื่อออนไลน ซง่ึ อาจจะเปนกลมุ ลูกคา ทัง้ หลกั และรองหรือ ผูทเี่ กยี่ วขอ งกบั ธุรกิจ ของบรษิ ทั หรือองคการ กไ็ ด ปจ จบุ นั เว็บไซตท ใ่ี ชหลัก Virtual Worlds ท่ปี ระสบผลสาํ เรจ็ และมชี ื่อเสยี ง คอื Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาํ สองคาํ คอื Crowd และ Outsourcing เปนหลักการขอความรว มมอื จากบุคคลในเครอื ขา ยสังคมออ นไลน โดยสามารถจดั ทาํ ในรูปของเวบ็ ไซตท ม่ี วี ัตถปุ ระสงคหลักเพื่อคน หาคาํ ตอบและวธิ กี ารแกป ญ หาตา งๆทงั้ ทางธุรกิจ การศกึ ษา รวมทง้ั การสอ่ื สาร โดยอาจจะเปนการดงึ ความรว มมอื จากเครือขายทางสงั คมมาชว ยตรวจสอบขอมลู เสนอความคดิ เหน็ หรอื ใหข อเสนอแนะ กลมุ คนท่ีเขา มาใหข อ มลู อาจจะ เปนประชาชนทว่ั ไปหรอื ผมู ีความเช่ยี วชาญเฉพาะดานทอ่ี ยใู นภาคธรุ กิจหรือแมแ ตในสังคมนักขา ว ขอ ดขี องการใชหลกั Crowd souring คือ ทาํ ใหเกดิ ความหลากหลายทางความคิดเพอ่ื นาํ ไปสูก ารแกป ญหาทีม่ ีประสิทธภิ าพ ตลอดจนชว ยตรวจสอบหรือคดั กรองขอ มูลซ่ึงเปน ปญ หาสาธารณะรว มกนั ได เชน Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตวั ของสองคํา คอื “Pod” กับ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรอื PersonalOn - Demand คอื อุปสงค หรือความตอ งการสวนบคุ คล สว น“Broadcasting” เปน การนําส่อื ตา งๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสยี ง หรอื อาจกลาวงา ยๆ Podcast คอื การบันทึกภาพ และเสียงแลว นํามาไวในเวบ็ เพจ (Web Page) เพอื่ เผยแพรใหบ คุ คลภายนอก (The public in general) ท่ีสนใจดาวนโหลดเพื่อนาํ ไปใชง าน เชน Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เปนเว็บบอรดทีผ่ ใู ชอ ินเทอรเน็ตสามารถแสดงความคดิ เห็น โดยอาจจะเก่ียวกับ สนิ คา หรือบรกิ าร ประเดน็ สาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม เชน Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp