หนว่ ยท่ี 1 ความรู้เกย่ี วกบั การบญั ชี
2 หนว่ ยที่ 1 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกบั การบัญชี 1.1 ประวตั แิ ละววิ ัฒนาการของการบัญชี จากการค้นพบหลักฐานการจดบนั ทกึ รายการทางบัญชี แสดงใหเ้ ห็นวา่ การบัญชีเกิดข้นึ มา ประมาณ 5,000 ปีมาแลว้ ต้งั แตส่ มัยบาบิโลเนียนและอยี ิปต์ แตเ่ ป็นการบนั ทึกปริมาณแทนที่จะบนั ทกึ เปน็ จานวนเงนิ และในสมยั กรกี มกี ารบนั ทึกเกี่ยวกบั ทรัพย์สินและพืชผล และทรัพยากรตา่ ง ๆ โดยมี วตั ถุประสงค์เพอื่ การควบคมุ ต่อมาในสมยั โรมันจงึ เรม่ิ มีการบนั ทกึ เกีย่ วกับเงนิ สดรบั และจ่าย ในช่วงตน้ ศตวรรษท่ี 14 เป็นช่วงเริ่มต้นของการใช้หลกั การบัญชคี ู่ (Double Entry System) เนือ่ งจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมทางดา้ นสังคม เศรษฐกจิ และการปกครอง การแข่งขันทาง การตลาด การค้นพบเทคโนโลยี การเขยี นตวั เลข และการใช้เงนิ เปน็ ส่ือกลางในการแลกเปลีย่ น ต่อมาในศตวรรษที่ 15 ไดค้ น้ พบหลกั ฐานการบนั ทกึ บัญชีในกรงุ เจนีวา ประเทศอิตาลี ซ่งึ เปน็ ศูนยก์ ลางทางการคา้ ในขณะนั้น ลกู า ปาซิโอลี (Luca Pacioli) ซง่ึ ไดร้ บั การยกย่องวา่ เป็นบิดาทาง การบัญชี ได้เขียนหนังสือเชิงคณิตศาสตร์ ชอื่ The Summa de Arithmetica Geometrica Propertioniet Proportionalita และสว่ นหน่งึ ของหนงั สือได้เขียนถึงหลกั การบัญชีคู่ไวด้ ้วย ในศตวรรษที่ 20 สภาพสังคมและเศรษฐกิจมคี วามสลับซบั ซ้อนมากขน้ึ เนื่องจากผลกระทบ จากการปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม ทาใหเ้ กดิ ความต้องการทางการบญั ชีมากข้นึ ดังน้นั จึงเกดิ การพัฒนา ทางการบญั ชีในเร่ืองต่าง ๆ เช่น การใชท้ ฤษฎคี วามเปน็ หน่วยงาน การบญั ชตี น้ ทนุ การคิดคา่ เสอื่ ม ราคา นอกจากน้นั ประเทศต่าง ๆ ในยโุ รปและประเทศสหรัฐอเมริกาไดก้ ่อตัง้ สมาคมนักบัญชีขึ้นและ สมาคมนักบญั ชีของแตล่ ะประเทศกไ็ ด้กาหนดมาตรฐานการบญั ชไี ว้เป็นแนวทางใหน้ ักบัญชีถือปฏิบตั ิ ส่วนประวัติทางการบญั ชีในประเทศไทย เร่ิมต้ังแตส่ มยั การเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 รัฐบาลเห็นความสาคญั ของการบญั ชี ซง่ึ มีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีพระยาไชยยศ สมบตั ิ (เสรมิ กฤษณามระ) และหลวงดาริอิสรานวุ รรต (ม.ล.ดาริ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา) ซ่งึ สาเร็จ การศกึ ษาทางการบญั ชจี ากประเทศองั กฤษ รับราชการอยู่ในสานกั งานตรวจเงนิ แผ่นดิน เปน็ นักบัญชี ทีพ่ ยายามเผยแพร่ความรู้ทางการบญั ชี โดยจดั ให้มีหลักสูตรการสอนวิชาบญั ชีในระดบั ก่อนอดุ มศึกษา และระดับอุดมศกึ ษา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ใหค้ นไทยมีความรู้ทางการบญั ชมี ากข้นึ เพื่อทาให้เกดิ วชิ าชพี การสอบบัญชีสาธารณะ สอดคลอ้ งกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยท์ ่รี ะบไุ ว้เกี่ยวกับการจัดทา บญั ชแี ละการสอบบญั ชีของธุรกจิ และในปี พ.ศ. 2491 นกั บัญชีไดร้ ่วมกนั ก่อตง้ั สมาคมนักบัญชแี ห่ง ประเทศไทย ซง่ึ ต่อมาได้เปลี่ยนชือ่ เปน็ “สมาคมนักบญั ชแี ละผ้สู อบบัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทย” ปัจจบุ นั ไดย้ กเลกิ ไปแลว้ และจัดตงั้ สภาวชิ าชพี บัญชขี น้ึ แทน สภาวชิ าชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) ถอื เปน็ สถาบนั วชิ าชพี แห่ง เดยี วในประเทศไทย มบี ทบาทสาคัญในการพัฒนาวิชาชีพบัญชี ไดแ้ ก่ การกาหนดมาตรฐานการบัญชี การสอบบัญชี บัญญัติศพั ท์ทางบัญชีและความรู้อื่นท่ีเกีย่ วกับการบญั ชี เพื่อใหผ้ ้ปู ระกอบวชิ าชพี ได้ใช้ เปน็ มาตรฐานในการปฏิบัติงานให้เปน็ ไปในแนวทางเดียวกัน และเป็นแหลง่ เผยแพร่ความรู้และให้ ความชว่ ยเหลอื รวมทงั้ จัดสัมมนาฝึกอบรมให้แกน่ ักบญั ชีและผสู้ นใจ
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: