Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาแห่งที่2

การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาแห่งที่2

Published by NATTAWAT THEKAPORN, 2020-09-03 00:16:06

Description: การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา
โดยนางสาวจิตราวรรณ บุตราช
สถานศึกษาแห่งที่ 2

Search

Read the Text Version

1 ใบงาน การฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา โดยนางสาวจิตราวรรณ บตุ ราช วทิ ยาลัยแห่งที่ ๒ ระหว่างวันท่ี ๓๑ สงิ หาคม - ๔ กันยายน ๒๕๖๓ ๑. วิเคราะห์บรบิ ทของสถานศึกษาในด้านท่ีประสบความสาเรจ็ และสง่ิ ท่ีควรพฒั นา - ศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐานสถานศกึ ษา ๑. ประวัตขิ องวทิ ยาลยั แหง่ ท่ี ๒ วิทยาลัยเทคนคิ ตรงั ได้ถือกาเนดิ มาจากประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั ลงวนั ที่ 23 พฤศจกิ ายน 2520 เรือ่ งรวมโรงเรยี นการชา่ งตรังและโรงเรียนอาชีวศกึ ษาตรัง เปน็ โรงเรยี นเทคนิคตรัง ตั้งแตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2521 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับลงวันท่ี 18 สิงหาคม 2523 เร่ือง ยกฐานะโรงเรียนเทคนิคตรัง เป็นวิทยาลัยเทคนคิ ตรัง ตงั้ วนั ท่ี 1 เมษายน 2521 โรงเรียนช่างไม้ตรัง เปิดทาการสอนเมื่อวันท่ี 22 กันยายน 2481 โดยโรงธรรมของวัดมัชฌิมภูมิ เป็นสถานที่เลา่ เรยี น ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ไดเ้ ปลี่ยนช่ือจากโรงเรยี นช่างไม้ตรังเปน็ โรงเรยี นการช่างตรัง และใน ปี พ.ศ. 2591 โรงเรยี นการชา่ งตรงั ไดย้ า้ ยมาทาการสอน ในหมูท่ ่ี 4 ตาบลบ้านควน อาเภอเมืองตรงั จังหวดั ตรัง จนถงึ ปัจจบุ ัน โรงเรียนการช่างสตรี กรมอาชีวศึกษาได้ประกาศต้ังโรงเรียนการช่างสตรีตรังข้ึนในปี พ.ศ. 2494 และต่อมาในปี พ.ศ. 2520 กรมอาชวี ศกึ ษาได้ประกาศยุบโรงเรยี นการชา่ งตรังกับโรงเรียนอาชวี ศกึ ษาตรงั ขึ้นเป็น โรงเรยี นเทคนิคตรงั โรงเรียนเทคนิคตรังสังกดั กองโรงเรียนอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ กม.5 หมู่ที่ 4 ถนน ตรงั – ปะเหลยี น ตาบลบา้ นควน อาเภอเมือง จังหวดั ตรงั โดยมีเนอื้ ท่ที งั้ ส้ิน 300 ไร่ ดา้ นทิศตะวันตก ตดิ กบั ถนนตรงั – ปะเหลียน ด้านทิศตะวนั ออก ติดกับถนนเข้าหม่บู ้านและทดี่ ินสาธารณะ ด้านทิศเหนือ ติดกบั ถนนทางเข้าศูนยบ์ ารงุ การทางตรังและสถานวี ิทยุ ดา้ นทศิ ใต้ ตดิ กับถนนเขา้ กองร้อย ต.ช.ด. กองรอ้ ยอาสาฯและ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กรมอาชีวศึกษา ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนเทคนิคตรังเป็นวิทยาลัยเทคนิคตรัง เม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2523 ทาการเปิดสอนดังนี้ 1. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม เปดิ เรยี นระดับ ปวช. สาขาวิชาช่างกอ่ สร้าง สาขาวชิ าชา่ งยนต์ 2. ประเภทวชิ าคหกรรมแผนกวชิ าผ้าและเครอ่ื งแตง่ กาย แผนกวชิ าอาหารและโภชนาการ แผนกวชิ าคหกรรมทว่ั ไป 3. ประเภทวชิ าพณชิ ยกรรมแผนกวิชาการบญั ชี แผนกวชิ าการเลขานกุ าร แผนกวชิ าการตลาด พ.ศ. 2521 เปิดสอนหลักสตู ร ปวช. แผนกวชิ าชา่ งไฟฟ้ากาลัง พ.ศ. 2522 เปิดสอนหลักสูตร ปวช. แผนกวิชาชา่ งเช่ือมและโลหะแผ่น พ.ศ. 2524 เปดิ สอนหลกั สตู ร ปวท. สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ แผนกวิชาการบัญชี พ.ศ. 2526 เปดิ สอนหลกั สตู ร ปวส. แผนกวชิ าคหกรรมท่วั ไป และแผนกวชิ าการบญั ชี

2 พ.ศ. 2527 เปดิ สอนหลกั สตู ร ปวช. แผนกวชิ าช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2534 เปดิ สอนหลักสูตร ปวส. แผนกวิชาช่างกอ่ สรา้ งและแผนกวชิ าช่างยนต์ พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2536 เปดิ สอนหลักสตู ร ปวส. แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลัง พ.ศ. 2537 เปิดสอนหลกั สูตร ปวช. แผนกวิชาคหกรรมธรุ กจิ พ.ศ. 2538 เปิดสอนหลกั สูตร ปวช. แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน พ.ศ. 2539 ปวส. แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ โลหะ และแผนกวชิ าอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว พ.ศ. 2540 เปิดสอนหลักสตู ร ปวส. แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542 เปดิ สอนหลกั สูตร ปวส. แผนกวิชาการเลขานกุ าร เปดิ สอนหลกั สูตร ปวช. และ ปวส. ระบบทวภิ าคี ไดแ้ ก่ พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544 1. แผนกวชิ าช่างก่อสร้าง 2. แผนกวิชาช่างยนต์ พ.ศ. 2545 3. แผนกวชิ าธรุ กิจค้าปลีก พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2552 เปดิ สอนหลกั สตู ร ปวส. แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ พ.ศ. 2556 เปิดสอนหลกั สูตร ปวส. สมทบแผนกวชิ าช่างยนต์และแผนกวิชาช่างกอ่ สรา้ ง พ.ศ. 2561 พ.ศ. 256๓ เปิดสอนหลักสตู ร ปวส. แผนกวิชาชา่ งเทคนิคการผลติ เปิดสอนหลกั สูตร ปวช. แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ เปิดสอนหลักสูตร ปวส. แผนกวชิ าคหกรรมธุรกิจ เปิดสอนหลกั สตู ร ปวส. ระบบทวิภาคี แผนกวชิ าช่างเทคนคิ อุตสาหกรรม เปิดสอนหลักสตู ร ปวส. แผนกวิชาเครอื่ งกลอตุ สาหกรรม แผนกวิชาเทคนคิ คอมพิวเตอร์ แผนกวิชาการตลาด เปิดสอนหลักสูตร ปวส. ระบบทวิภาคี แผนกวิชาเทคโนโลยีการยาง แผนกวชิ าคหกรรม เปดิ สอนหลกั สูตร ปวส. ระบบทวิภาคี สาขาวิชาธรุ กจิ โรงแรม สาขาวชิ าการโรงแรม เปดิ สอนหลักสตู ร ปทส. (ระดบั ปริญญาตร)ี สาขาวิชาเครื่องกล (เทคนิคยานยนต)์ สาขาวิชาการโยธา และสาขาวิชาการบญั ชี เปิดสอนหลกั สูตร ปทส. (ระดับปริญญาตร)ี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ศึกษา เปิดสอนหลักสตู ร ปวช. แผนกวิชาเทคโนโลยกี ารยางและพอลเิ มอร์ เปิดสอนหลกั สตู ร ปวช. แผนกวชิ าการโรงแรม เปิดสอนหลักสตู ร ปรญิ ญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์ (ต่อเน่ือง) เปิดสอนหลกั สตู ร ปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร เปิดสอนหลกั สูตร ปรญิ ญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า

3 2. ขนาดและท่ตี ัง้ วทิ ยาลยั ขนาดเนอื้ ทที่ ้ังสิน้ 300 ไร่ โดยมเี ขตตดิ ต่อ ดงั นี้ ดา้ นทิศตะวนั ตก ติดกับถนนตรัง – ปะเหลียน ดา้ นทศิ ตะวันออก ตดิ กับถนนเข้าหมูบ่ ้านและที่ดนิ สาธารณะ ดา้ นทศิ เหนอื ตดิ กบั ถนนทางเขา้ ศนู ย์บารงุ การทางตรงั และสถานวี ิทยุ ด้านทิศใต้ ตดิ กบั ถนนเข้ากองร้อย ต.ช.ด. กองร้อยอาสาฯและ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ตงั้ วทิ ยาลัย เลขที่ 96 หมทู่ ี่ 4 ถนนตรัง – ปะเหลียน ตาบลบา้ นควน อาเภอเมือง จังหวดั ตรัง 92000 บนเน้อื ท่ี 260 ไร่ โทรศัพท.์ 0 – 7550 – 1027, โทรสาร. 0 – 7550 – 1070 เว็บไซต์ www.technictrang.ac.th. สารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ trang01 สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ๓. การจดั การศกึ ษา หลักสตู รการเรียนการสอน สถานศึกษาไดจ้ ัดการเรยี นการสอน จานวน 3 หลักสตู ร ดงั นี้ 3.1 หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) (1) ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม 1.1 สาขางานยานยนต์ 1.2 สาขางานเครื่องมอื กลและซ่อมบารุง 1.3 สาขางานไฟฟ้ากาลงั 1.4 สาขางงานอเิ ล็กทรอนิกส์ 1.5 สาชางานเชอื่ มโลหะ 1.6 สาขางานก่อสร้าง 1.7 สาขางานโยธา 1.8 สาขางานสถาปตั ยกรรม 1.9 สาขางานผลิตภัณฑ์ยางและพอลเิ มอร์ (2) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 2.1 สาขางานการบัญชี 2.2 สาขางานการเลขานุการ 2.3 สาขางานการขาย 2.4 สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ (3) ประเภทวชิ าคหกรรม 3.1 สาขางานผ้าและเคร่ืองแต่งกาย 3.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (4) ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการทองเทย่ี ว 4.1 สาขางานการโรงแรมและบริการ 4.2 สาขางานการทองเท่ยี ว

4 (5) ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5.1 สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.2 หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.) (1) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 1.1 สาขางานเทคนคิ ยานยนต์ 1.2 สาขางานเทคนคิ การผลติ 1.3 สาขางานเทคนิคการเชอ่ื มอุตสาหกรรม 1.4 สาขางานเครอื่ งกลไฟฟ้า 1.5 สาขางานติดตง้ั ไฟฟา้ 1.6 สาขางานระบบเสยี งและระบบภาพ 1.7 สาขางานระบบโทรคมนาคม 1.8 สาขางานเทคนคิ คอมพิวเตอร์ 1.9 สาขางานเทคนิคการกอ่ สร้าง 1.10 สาขางานโยธา 1.11 สาขางานสถาปัตยกรรม 1.12 สาขางานเทคโนโลยีการยางและพอลิเมอร์ (2) ประเภทวิชาบรหิ ารธุรกิจ 2.1 สาขางานการบญั ชี 2.2 สาขางานเลขานุการ 2.3 สาขางานการตลาด 2.4 สาขางานการพัฒนาโปรแกรม 2.5 สาขางานเทคโนโลยีสานักงาน (3) ประเภทวิชาคหกรรม 3.1 สาขางานการตดั เย็บเสอื้ ผ้าชนั้ สงู 3.2 สาขางานอาหารและโภชนาการ (4) ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการทองเที่ยว 4.1 สาขางานการโรงแรมและการบริการ 4.2 สาขางานการทองเทีย่ ว (5) ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร 5.1 สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3 หลกั สูตรปรญิ ญาตรี (ป.ตร)ี (1) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 1.1 สาขางานเทคโนโลยียานยนต์ (ต่อเนื่อง) 1.2 สาขางานเทคโนโลยไี ฟฟ้า 1.3 สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

5 4. ดา้ นนักเรยี น นักศกึ ษาและบคุ ลากร ข้อมลู ด้านผเู้ รียน ระดบั ชั้น (หลักสตู รปกติ + ทวภิ าคี) รวม (คน) สาขาวชิ า/สาขางาน ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2 ชาย หญิง ท้งั หมด ชาย หญิง ชาย หญิง ชา่ งยนต์ ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญิง 390 - 390 97 - 72 - ชา่ งกลโรงงาน 73 - 11 - 35 - 88 1 89 ชา่ งเช่อื มโลหะ 33 1 3 2- 50 - 50 ชา่ งไฟฟ้ากาลงั 9- 31 - 328 4 332 ช่างอเิ ล็กทรอนิกส์ 80 1 21 - 23 - 9 - 71 - 167 13 180 ช่างก่อสร้าง 61 6 42 2 77 4 81 ช่างโยธา 23 - - - 10 - - - 3- 101 14 115 สถาปัตยกรรม 27 1 13 4 17 12 29 เทคโนโลยีการยางฯ 81 49 2 89 1 39 - -1 31 25 56 เทคโนโลยี -- 6 11 สารสนเทศ 20 1 34 4 10 - 108 39 147 การบญั ชี 21 16 36 12 การตลาด 7 1 31 3 13 - 14 163 177 การจดั การธุรกจิ ค้า 5 39 2 29 18 86 104 ปลกี 5 16 17 5 26 3 18 1 1 23 การเลขานกุ ารฯ - 13 13 คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ -- 1585 - - -6 การทอ่ งเทีย่ ว 3 89 92 การโรงแรม 2 14 7 1 15 5 3 8 1 22 66 131 197 อาหารและ 13 32 13 36 25 97 122 โภชนาการ 7 15 10 3 18 2 23 6 4 11 54 266 320 แฟช่ันและส่งิ ทอ 19 58 43 53 2 30 3 45 2 20 45 80 125 รวมท้ังหมด (คน) 16 28 - 9 8 23 4 15 10 10 -11 -- - - - - -7 -- 1,582 1,038 2,620 426 228 - 7 - 14 - 32 330 220 13 19 11 22 6 22 4 20 10 28 - 23 4 54 7 57 11 44 6 14 5 17 8 11 - - -1- - 234 171 411 230 181 189

6 ระดับปริญญาตรี ระดบั ปรญิ ญาตรี รวม (คน) สาขาวชิ า/สาขางาน ทล.บ.1 ทล.บ.2 เทคโนโลยยี านยนต์ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ทงั้ หมด เทคโนโลยีสารสนเทศ 56 - 56 เทคโนโลยีไฟฟา้ 31 - 25 - รวมทงั้ หมด (คน) 99 - - 9 9 18 ๑๗ - - - ๑๗ - ๑๗ ๕๗ 9 25 - ๘๒ 9 ๙๑ ข้อมูลผ้สู าเร็จการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ระดับช้ัน แรกเขา้ สาเร็จการศกึ ษา คดิ เป็นร้อยละ ปวช. ๓ ๖๑๒ ๓๖๗ ๕๙.๙๗ ปวส. ๒ ๔๓๘ ๓๕๘ ๘๑.๗๔ รวม ปวช. ๑,๐๕๐ ๗๒๕ ๖๙.๐๕ ข้อมลู ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ระดบั ชนั้ แรกเขา้ สาเร็จการศกึ ษา คดิ เป็นรอ้ ยละ ปวส.๑ ๕๖๕ ๓๑๒ ๕๕.๒๒ ปวส.๒ ๓๓๙ ๒๗๓ ๘๐.๕๓ รวม ปวส. ๙๐๔ ๕๘๕ ๖๔.๗๑ ขอ้ มูลบุคลากร ประเภท ทงั้ หมด มใี บประกอบ สอนตรงสาขา (คน) วชิ าชีพ (คน) (คน) ผูอ้ านวยการ/รองผูอ้ านวยการ ๕ - ข้าราชการครู ๙๖ ๕ ๙๖ ข้าราชการพลเรอื น ๓ ๙๖ - พนักงานราชการครู ๖ - ๖ พนกั งานราชการ (อน่ื ) ๖ - ครพู ิเศษสอน - - ๒๒ เจ้าหน้าท่ี ๒๒ ๒๒ - บคุ ลากรอืน่ ๆ (นักการภารโรง/ยามรกั ษาการ/พนกั งานขับ ๒๗ - - รถ/อ่ืนๆ) ๑๕ - รวมครู ๑๒๔ ๑๒๔ ๑๒๔ รวมท้ังสน้ิ ๑๗๔ ๑๒๔ ๑๒๔

๕. ดา้ นอาคารสถานที่ 7 ท่ี รายการอาคาร/โรงฝกึ งาน/หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พน้ื ทปี่ ฏบิ ตั ิงาน/ตารางเมตร 1. โรงฝกึ งานแผนกวชิ าชา่ งยนต์ 1,332 2. โรงฝึกงานแผนกวิชาช่างกอ่ สร้าง 1,062 3. โรงฝกึ งานชา่ งเทคนิคพ้นื ฐาน 928 4. โรงฝึกงานช่างเช่ือมโลหะ 1,232 5. โรงฝึกงานชา่ งกลโรงงาน 928 6. อาคารแผนกวิชาชา่ งไฟฟ้ากาลัง 2,400 7. อาคารแผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ 1,728 8. อาคารแผนกวชิ าอาหารและโภชนาการ 416 9. อาคารแผนกผ้าและเครอ่ื งแต่งกาย 416 10. อาคารเรียน 3 832 11. อาคารแผนกวชิ าสถาปัตยกรรม (อาคารเรยี น 4) 1,728 12. อาคารแผนกวชิ าสามญั สัมพนั ธ์ (อาคารเรียน 7) 1,920 13. โรงฝึกงานแผนกวชิ าเทคโนโลยยี างและพอลิเมอร์ 479 14. โรงฝกึ งานปูน 432 15. อาคาร 1 832 16. อาคาร 2 832 17. ศนู ยบ์ รกิ ารทางวิชาการ 384 18. อาคารแผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1,920 19. อาคารปฏิบัติการขาย 240 20. อาคารสถาบนั การอาชีวศึกษา 2549 5,000 21. อาคารเรียนช่ัวคราว 1 360 22. อาคารเรียนชัว่ คราว 2 360 23. อาคารเรียนชว่ั คราว 3 360 24. โรงอาหาร 1,800 25. อาคารห้องเวรยาม 12 26. อาคารหอ้ งรกั ษาความปลอดภัย 48

8 ๖. ปรัชญา อัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ ของสถานศึกษา ๖.1 ปรัชญา “วิชาชพี เดน เนน้ คณุ ธรรม ยดึ มัน่ บริการ สรา้ งงานสูส่ ากล” ๖.2 อตั ลกั ษณ์ “ฝมี ือดี มีน้าใจ วนิ ยั เดน่ ” ๖.3 เอกลกั ษณ์ “แหลง่ เรยี นรู้ สอู่ าชีพ” ๗. วิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์กลยทุ ธก์ ารพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา ๗.1 วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากลตอบสนองความ ต้องการของสังคมดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ๗.2 พนั ธกิจ พันธกิจที่ 1 จดั การอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวชิ าชพี อยา่ งมีคุณภาพสู่มาตรฐานสากล พันธกิจท่ี 2 สร้างเครือข่ายความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ องคก์ รภาครฐั และเอกชน ใน การจัดการศกึ ษา พันธกจิ ที่ 3 พัฒนาเทคโนโลยี นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ และงานวิจยั พันธกิจที่ 4 สง่ เสรมิ สนับสนนุ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และส่งิ แวดลอ้ ม พันธกิจท่ี 5 สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาลและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ขอ้ มูล ค่านยิ ม วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ สภาพชมุ ชน เศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง วทิ ยาลยั ต้งั อยใู่ นยา่ นชมุ ชนใหม่ ผสมผสานกบั ชุมชนเกา่ มีหน่วยงานราชการตัง้ อยรู่ อบๆ มีตลาดนัด ช่วงเย็น ร้านค้า บ้านเช่า และหอพัก นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนบ้านเรือนราษฎรบางส่วน ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา ส่วนใหญ่ มีอาชีพรับจ้าง และค้าขาย ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง อยู่ในระดับประถมศึกษา รายได้ของ ครอบครัวเฉลี่ย 5,000 – 10,000 บาท ต่อเดือน คา่ ใช้จา่ ยของนกั เรียน คนละ 50 - 100 บาทต่อวัน 1. สถานทีส่ าคัญรอบวิทยาลัย ไดแ้ ก่ 1) วทิ ยาลัยการอาชพี ตรงั 2) โรงเรียนวเิ ชยี รมาตุ 3) วัดทงุ่ หวงั 4) ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ตรัง 5) สถาบนั โรคผวิ หนงั เขตรอ้ นภาคใต้ จงั หวัดตรัง 6) ศูนย์ควบคมุ โรคติดตอ่ นาโดยแมลงที่ 47 จังหวดั ตรัง 7) กองร้อย อสจ. ตรัง. ที่ 1 8) สานักงานโยธาธกิ าร จังหวดั ตรงั 9) สถานตี ารวจทางหลวง 2 กองกากบั การ 7 10) กองรอ้ ยตารวจตระเวนชายแดนที่ 435

9 11) ศูนยบ์ ารุงรักษาทางตรงั 12) หมวดการทางย่านตาขาว 13) ศูนย์บรกิ ารโครงการสูบน้าดว้ ยไฟฟา้ จังหวดั ตรัง 14) สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดตรงั 15) สถานีวิทยุ วปถ.17 ตรงั 16) โรงเรียนมิตรภาพที่ 31 (วัดทุ่งหวัง) 17) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบ้านควน 18) เทศบาลตาบลโคกหลอ่ 19) สถานีพัฒนาทดี่ ินตรงั 20) โครงการชลประทานตรงั 21) โครงการพฒั นาน้าบาดาล 5 22) ทา่ อากาศยานตรงั 23) สานักงานการศกึ ษา การศาสนา และวฒั นธรรม จงั หวดั ตรัง 2. แหล่งการเรยี นรู้ และสถานท่ีสาคญั ในชุมชนท่สี ถานศึกษาตัง้ อยู่ 1) วัดทุ่งหวัง 2) ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยต์ รงั 3) สถาบันโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จงั หวัดตรงั 4) ศูนยค์ วบคุมโรคตดิ ตอ่ นาโดยแมลงที่ 47 จงั หวดั ตรงั 5) สถานีวิทยุ วปถ. 17 ตรงั 6) ท่าอากาศยานตรัง 7) สถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยาตรงั 3. ลักษณะภูมปิ ระเทศและอาณาเขตตดิ ต่อและการปกครอง จงั หวดั ตรังเปน็ จงั หวัดชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย มีฝ่ังทะเลยาวเหยยี ดทางด้านตะวันตกมเี กาะ ในทะเลอันดามนั อยู่ในการปกครองกว่า 40 เกาะ ภูมิประเทศเป็นท่ีราบสูง จากเชิงเขาบรรทัดลาดต่าลงมาจนจด ฝ่ังอันดามัน ลักษณะพ้ืนท่ีเป็นควน (เนิน) สูงต่ากระจายอยู่ท่ัวไป มีแม่น้าสาคัญ ได้แก่ แม่น้าตรัง ซึ่งมีต้นกาเนิด จากเทือกเขาหลวง และแม่น้าปะเหลียน ซ่ึงมีต้นกาเนิดจากเทือกเขาบรรทัด มีพ้ืนท่ีรวมทั้งส้ิน 4,917 ตาราง กโิ ลเมตร หรอื 3,088,399.375 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อด้านจังหวัดตา่ งๆ ดงั นี้ ทิศเหนอื จดอาเภอทุ่งสง จงั หวดั นครศรีธรรมราช และอาเภอคลองทอ่ ม จังหวดั กระบ่ี ทิศใต้ จดอาเภอทุง่ หวา้ จงั หวดั สตูลและทะเลอันดามนั ทิศตะวนั ออก จดอาเภอควนขนนุ อาเภอกงหรา อาเภอตะโหมด จงั หวัดพทั ลงุ (มีเทือกเขาบรรทดั ก้ันอาณาเขต) ทิศตะวันตก จดอาเภอคลองทอ่ ม เกาะลันตา จังหวดั กระบ่ี และทะเลอันดามนั มหาสมทุ รอนิ เดีย จงั หวัดตรัง มีพ้ืนท่ีรวม 4,941 ตารางกิโลเมตร แบง่ การปกครองออกเป็น 10 อาเภอ คอื อาเภอ เมอื ง อาเภอกนั ตงั อาเภอห้วยยอด อาเภอย่านตาขาว อาเภอปะเหลียน อาเภอสิเกา อาเภอวังวิเศษ อาเภอนาโยง

10 อาเภอรัษฎา และอาเภอหาดสาราญ เป็นจงั หวัดท่องเท่ียวอกี แห่งหนง่ึ ของภาคใต้ ในอดตี เคยเป็นเมืองท่าค้าขาย กับตา่ งประเทศ และเป็นศูนย์กลางการคมนาคมไปส่จู งั หวดั นครศรีธรรมราช เมอื งสบิ สองนกั ษตั รใน 4. สภาพทางสังคมสภาพของสงั คมไทยในจงั หวัดตรัง ประชาชนส่วนใหญ่มีเชื้อชาติไทย โดยมีคนไทยเชื้อสายจีนประมาณ 30% ของประชาชน ท้ังหมด อาศัยประกอบธุรกิจอยู่ในเขตตัวเมือง และย่านธุรกิจทั่วๆ ไป ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ รองลงมาคอื ศาสนาอิสลาม ซึ่งมีมากในท้องที่อาเภอปะเหลียน อาเภอย่านตาขาว อาเภอกันตัง อาเภอสิเกา ชาวไทยอิสลาม เหล่านี้ มีภาษาพูดเช่นเดียวกบั ประชาชนในเมอื ง คอื ภาษาไทยท้องถิ่นภาคใต้ 5. อปุ นิสยั ใจคอของคนจงั หวัดตรัง โดยทวั่ ไปมจี ิตใจโอบอ้อมอารี เออ้ื เฟอ้ื เผ่อื แผ่ สามคั คชี ว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั รว่ มมือตอ่ ทาง ราชการเป็นอย่างดี 6. ความเชื่อ ศรทั ธา คา่ นยิ ม ในจริยธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ประชาชนส่วนมากในจังหวัดตรัง มีเชื้อสายไทยผสมจีน จริยธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณีจึงมลี ักษณะผสมผสาน ระหวา่ งไทย-จนี ในดา้ นจรยิ ธรรม สมัยก่อนตรังเป็นเมืองแรกท่ีมีต้นยางพารามาปลูกโดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี นาพนั ธุม์ าจากมาเลเซียมาปลกู เป็นแหง่ แรกของภาคใต้ เมืองตรังมแี หลง่ ท่องเทยี่ วทัง้ นา้ ตกและเกาะกลางทะเลอัน งดงามเปน็ จานวนมาก 7. ด้านสาธารณสขุ ของจังหวดั มีบริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุขท้ังภาครัฐและเอกชน มีการวางแผนครอบครัว และสง่ เสริม อนามยั แมแ่ ละเดก็ มบี รกิ ารด้านสุขภาพของประชาชน ประชาชนจังหวัดตรังมีประกันสุขภาพจาแนก เปน็ สวัสดกิ ารประชาชนผู้มีรายได้น้อย กลุม่ ประกนั สงั คม กลุ่มขา้ ราชการรฐั วสิ าหกจิ กลมุ่ ประกันสขุ ภาพเอกชน 8. ด้านการศกึ ษา จังหวดั ตรัง มงุ่ ให้จงั หวดั เปน็ ศูนย์กลางทางการศกึ ษาทุกระดบั และสาขาในภมู ภิ าค ฝัง่ ทะเลอันดามัน โดย ส่งเสรมิ ใหม้ ี การขยายสถาบันการศกึ ษา และจดั ต้ังศูนยพ์ ัฒนาความรู้ ในรูปของสถาบนั การศกึ ษา ศูนยฝ์ ึกอบรม ทางดา้ นวชิ าการ หอสมุด ศนู ยบ์ รกิ ารทดลองปฏบิ ัตงิ านทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ รวมถงึ พพิ ิธภัณฑแ์ ละอุทยาน การศึกษา เปน็ ตน้ เพอื่ ใหป้ ระชาชน มคี วามร้สู กึ ไดม้ สี ว่ นรว่ มกบั การพัฒนาการศกึ ษาใหแ้ ก่เยาวชนในจังหวัดของ ตน ดังเชน่ การจัดตั้งมหาวทิ ยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั ตรัง ทเ่ี กิดขึ้นจากการ รว่ มมือรว่ มใจกันของหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานเอกชน ได้แก่ จงั หวดั ตรัง องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดตรงั เทศบาลนครตรัง หอการคา้ จงั หวดั ตรงั และประชาชนชาวตรังทกุ หมเู่ หล่า 9. สภาพเศรษฐกจิ ของจงั หวัด ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดตรัง ข้ึนอยู่กับพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ยางพารา ประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชพี การทาสวนยางพารา ถา้ ปใี ดยางพารามีราคาสงู เศรษฐกิจของจงั หวัดโดยรวมกจ็ ะดี แต่ถ้าปใี ดราคา ยางพาราตกต่า เศรษฐกจิ โดยรวมกจ็ ะซบเซาไปด้วย 10. อาชีพสาคัญทท่ี ารายไดม้ าส่จู งั หวดั ตรังไดแ้ ก่ 1) การกสิกรรม พืชท่ีปลูกสาคัญ ได้แก่ ยางพารา ข้าว มะพร้าว ปาล์มน้ามัน ทุเรียน มะมว่ งหมิ พานต์ สะตอ กาแฟ แตงโม ถ่ัวลสิ ง ผักตา่ ง ๆ 2) การประมง จังหวัดตรังมีอาณาเขตติดต่อกับฝ่ังทะเลอันดามันมหาสมุทรอินเดีย ถึง 4 อาเภอ 1 กิง่ อาเภอ การประมงจงึ เป็นอาชพี และรายได้หลักทีส่ าคญั อยา่ งหนงึ่ ของจังหวดั ตรัง

11 3) การอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็นอุตสาหกรรมหลัก 5 ประเภท ได้แก่ อุตสาหกรรมแปร รูปน้ายางพารา อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารทะเล อุตสาหกรรมน้ามนั ปาล์ม และอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว 4) การปา่ ไม้ ไดแ้ ก่ การเผาถ่านไม้ 5) การพาณิชย์ ได้แก่ การค้าส่ง ค้าปลีก ค้ากับต่างประเทศ มีสินค้าจากผลิตผลทาง การเกษตร เชน่ ยางแผน่ รมควัน ยางแท่งทที อี าร์ สตั ว์น้าทะเล และผลิตภัณฑจ์ ากสตั ว์น้าทะเล ฯลฯ 11. ทรพั ยากรทส่ี าคญั ของจงั หวัดตรงั จาแนกตามประเภทได้ดังนี้ 1) ยางพารา เป็นพืชเศรษฐกิจที่ทารายได้ให้แก่ประชาชนเป็นอย่างมาก ปลูกท่ัวไปทุก อาเภอแต่ปลูกมากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ อาเภอปะเหลียน 2) สัตว์น้า จงั หวดั ตรังมอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั ชายฝง่ั ทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย ในเขต อาเภอสิเกา อาเภอกันตัง อาเภอปะเหลียน อาเภอย่านตาขาว และกิ่งอาเภอหาดสาราญ มีความยาวประมาณ 119 กโิ ลเมตร จึงอดุ มสมบรู ณ์ไปดว้ ยสัตว์ทะเลนานาชนดิ 3) แรธ่ าตุ ได้แก่ แรด่ ีบุก แรฟ่ ลอู อไรด์ แรถ่ า่ นหิน และแร่แบไรท์ มีมากทีอ่ าเภอหว้ ยยอด 4) ปาล์มน้ามัน ปลูกมากท่ีอาเภอสิเกา และอาเภอวังวิเศษ ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัด กระบ่ี 5) รังนกมีตามเกาะต่าง ๆ ในเขตอาเภอกันตัง อาเภอปะเหลียน อาเภอสิเกา ซึ่งเอกชน ได้รับสัมปทานเกบ็ ในแต่ละปี - วเิ คราะห์ SWOT ของวิทยาลยั เทคนคิ ตรงั (SWOT Analysis) จุดแข็ง (STRENGTH) จดุ อ่อน (WEAKNESS) ๑. การบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม ๑. การจัดหาครพู เิ ศษ วิทยากร ส่งิ ประดิษฐ์ งาน ๒. มีพน้ื ท่ีจัดการศกึ ษาขนาดใหญ่ สรา้ งสรรค์ ในการรว่ มพฒั นาผ้เู รยี น ๓. ผู้บริหารมีจานวนครบ ๕ ท่าน จึงสามารถ ๒. จานวน ผลงานนวัตกรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งาน รองรับภาระงาน กากบั ติดตาม ไดอ้ ย่างทั่วถึง สร้างสรรค์ งานวจิ ยั ควรมสี ดั ส่วนท่ีสูงข้ึน ๔. บคุ ลากรมคี วามรูค้ วามสามารถครบตามสาขา ๓. การใช้นวัตกรรมแก้ปญั หาการเรยี นการสอน วิชาชีพ หรอื โดยการใชว้ ิจยั ในชั้นเรยี นทีค่ รูผู้สอน ๕. ครูผู้สอนมีการจัดทาและพัฒนาหลักสูตร บางส่วนยังไมจ่ ัดทาการวจิ ยั ช้ันเรยี นทเ่ี ต็ม รปู แบบ สมรรถนะที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ร่วมกับ ชุมชน สถานประกอบการ ๔. การกากบั ดแู ลการใชอ้ าคารสถานที่ ห้องเรยี น ๖. สถานศึกษามีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนท่ีดี ห้องปฏบิ ตั ิการ โรงฝกึ งาน ศูนย์วทิ ยบริการ เยี่ยม คือ ๑:๑๔ จัดครูให้สอนตร ง กั บ และอื่นๆ ท่ีมพี ื้นทใี่ นการดูแลเปน็ จานวนมาก สาขาวิชาที่จบการศึกษา มีการพัฒนา แตม่ ีบุคลากรสนับสนุนจานวนทีย่ ังไม่เพยี งพอ ฝกึ อบรม อยา่ งสมา่ เสมอ ๗. วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ มคี วามพรอ้ ม ๕. ผปู้ กครองมีรายไดน้ อ้ ย ขาดความพร้อมใน ๘. อาคารสถานทมี่ ีจานวนมากมคี วามพรอ้ มและ การสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายนอกเหนอื จาก เพียงพอต่อจานวนนักเรียน ค่าใช้จา่ ยพนื้ ฐานในโครงการเรียนฟรี

๙. สภาพแวดล้อมภายในเอ้ือต่อการเรียนการ 12 สอน อุปสรรค (THREAT) ๑๐.นักเรียน นักศึกษา มีทักษะ และมีสมรรถนะ ๑. เสถียรภาพทางการเมืองส่งผลต่อการ ตรงตามหลกั สตู รและสมรรถนะของสาขาวชิ า เปลีย่ นแปลงนโยบายการศึกษาบ่อยคร้งั ๑๑.บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนพ้ืนถ่ินอยู่ใกล้เคียง ๒. รายได้ของพ่อแม่ ผู้ปกครองไม่ดี ส่งผลให้ สถานศึกษา นกั เรยี นนักศกึ ษาตอ้ งออกกลางคัน ๑๒.สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับ ยกย่อง จาก ๓. ไม่มีรถโดยสารประจาทางส่วนใหญ่เป็นรถ หน่วยงานต้นสังกัด องค์กรภายนอก จนเป็น สถานศกึ ษาต้นแบบ รับจ้างส่วนบุคคลจึงทาให้ผู้ปกครองมีค่าให้ จา่ ยเพิม่ ขึ้น ๑๓.การส่งเสริมพฒั นาองคค์ วามรู้ของบุคลากรครู ๔. สื่อ เทคโนโลยีนาเสนอค่านิยมและวฒั นธรรม ในทกุ รูปแบบ ที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม ส่ ง ผ ล ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ข า ด ค ว า ม รับผิดชอบ วินัย คุณธรรม จริยธรรม จิต ๑๔.การจัดโครงการ กจิ กรรม การบรกิ ารวชิ าการ สาธารณะ การส่ือสารและสัมพันธภาพกับ และวิชาชีพสู่ชุมชน ในการซ่อม สร้าง อบรม บคุ คลอื่น ๆ วิชาชีพการช่วยเหลือชุมชนเม่ือมีอุทกภัยและ ๕. คา่ นิยมของการใหบ้ ุตรหลานเรยี นในสาย ความชว่ ยเหลือเร่งดว่ น สามญั มากกว่าทจ่ี ะเรียนในสายอาชีพ โอกาส (OPPORTUNITY) ๑. วทิ ยาลยั อย่ใู นตัวเมือง มีถนนเส้นหลักผา่ น หนา้ วิทยาลัย จึงทาให้สะดวกในการเดินทาง ๒. วทิ ยาลยั อยู่ใกลส้ นามบิน จึงทาใหม้ โี อกาสใน การเปิดหลกั สูตรสาขาใหมๆ่ ทรี่ องรับ ตลาดแรงงานไดเ้ ปน็ อย่างดี ๓. นโยบาย กฎหมายของรฐั มสี ว่ นช่วยสง่ เสริม การจัดการศึกษา เช่น งบประมาณจาก นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี ๔. การส่งเสริมการจดั การศกึ ษาระบบทวภิ าคี เพอ่ื ผลิตกาลงั ฝมี อื แรงงานใหต้ รงกับความ ตอ้ งการของสถานประกอบการ ๕. การจัดงบประมาณสนับสนนุ การจัดการศึกษา ของรัฐ เช่น การให้นกั เรยี นสามารถกยู้ ืมเงิน เพอื่ การศกึ ษาได้ ๖. งบประมาณสาหรับโครงการศูนย์บม่ เพาะ และโครงการตา่ ง ๆ สง่ ผลให้มีวสั ดุ อุปกรณ์ เพื่อการจัดการเรียนการสอนทีส่ นบั สนนุ นกั เรียนให้ได้รบั ประสบการณจ์ รงิ ๗. สถานศึกษามเี ครือข่ายความร่วมมอื จากทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชน เป็นอย่างดี

13 ๘. นาเทคโนโลยชี ว่ ยสนบั สนุนใหค้ รูและนกั เรยี น สามารถพฒั นาตนเองและสร้างองคค์ วามรู้ นวัตกรรมได้มากขน้ึ ๙. วทิ ยาลยั สามารถนานโยบายสกู่ ารลงปฏบิ ัตไิ ด้ ทนั ทีเพราะบุคลากรมีความพรอ้ มและมีการ รบั รูเ้ ปา้ หมายรว่ มกันทั้งวิทยาลัย ต้งั แต่ ผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และ นกั เรียน ๑๐.นโยบายการสง่ เสริมการเป็นผ้ปู ระกอบการ ๑๑.รัฐบาลจัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ การจัด การศกึ ษาจึงช่วยแบ่งเบาภาระของ ผปู้ กครอง ท้าใหน้ กั เรยี นมโี อกาสศกึ ษามากขึน้ . ๑๒.เทคโนโลยีชว่ ยใหก้ ารส่อื สารระหวา่ ง สถานศึกษากับผู้เรียน ผปู้ กครอง ชมุ ชน สงั คม สะดวกรวดเรว็ มากขึน้ ๑๓.พัฒนาสภาพแวดลอ้ มโดยไดร้ บั การสนบั สนุน และการร่วมมอื จากชมุ ชน - กรณสี ถานศกึ ษาประสบความสาเรจ็ ในการนานโยบายสกู่ ารปฏิบัติใหท้ า่ นศึกษาปจั จัยและ นวัตกรรมทส่ี ่งผลต่อความสาเรจ็ และเสนอแนวคดิ การนาไปประยุกต์ใช้ การนานโยบายสกู่ ารปฏิบัติของสถานศึกษา วทิ ยาลัยได้มีการร่วมกาหนด “กลยุทธ์” ในการพฒั นา สถานศกึ ษาไวท้ ั้งหมด ๑๘ ประการ “สคู่ วามสาเร็จ” ดังน้ี ๑. สง่ เสรมิ การพัฒนาครูวชิ าชพี รว่ มกับสถานประกอบการและเครือขา่ ยวชิ าชพี ๒. เพม่ิ ประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ๓. ยกระดบั คุณภาพดา้ นการจดั การเรยี นการสอนดา้ นภาษาอังกฤษ ๔. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจัดการอาชีวศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี ๕. ขยายเครือข่ายความรว่ มมอื ทางการศกึ ษา ๖. ยกระดับคณุ ภาพการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ๗. เพิ่มประสทิ ธิภาพศูนยป์ ระสานงานการผลติ และพัฒนากาลงั คนอาชวี ศึกษา ๘. ขยายเครอื ขา่ ยการจัดการศกึ ษาร่วมกับโรงเรยี นมัธยมศึกษา ๙. สร้างการรบั รู้ทางบวก ๑๐.สง่ เสริมการสร้างนวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ การวจิ ัย เพ่อื พัฒนาอาชพี และคุณภาพชีวิต ๑๑.ส่งเสรมิ การวิจัยเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และการจดั การศึกษา ๑๒.ปลูกจิตสานักความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ๑๓.ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยและประเพณที อ้ งถนิ่

14 ๑๔.ส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ๑๕.เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าล ๑๖.พัฒนาห้องเรียนส่มู าตรฐาน ๑๗.ปรับสภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาให้น่าอยู่ ๑๘.ยกระดับการขับเคล่ือนหลักปรชั ญาของเศรษกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา แนวทางการประยกุ ตใ์ ช้ ประเด็น นกั เรยี น ผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง ชุมชน / สงั คม ครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษา การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา มี - เมื่อจบการศึกษา - บุคลากรสามารถ - ชมุ ชนมีสถานศึกษาทม่ี ี คุณภาพเพื่อให้บุตรหลาน เป้าหมายความสาเร็จที่ทุกคนใน นักเรียนจะเปน็ คนมี ดาเนนิ งานได้อยา่ ง ไดเ้ ขา้ มาศกึ ษาหาความรู้ สถานศึกษา มีการตกลงร่วมกนั คณุ ภาพ เปน็ ที่ยอมรับ เปน็ ระบบ - สามาถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั ได้ ดงั คาว่า และมีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติงาน ของคนทั่วไป - มีส่วนรว่ มในการ สร้างเงิน สร้างงาน สรา้ ง อาชีพ ร่วมกัน ดาเนนิ งานตา่ งๆ ใน - มที กั ษะในด้านวชิ าชีพท่ี สงู ข้ึน วิทยาลัย - เปน็ การสร้างโอกาศใน การพัฒนาผู้เรียน มีเป้าหมาย - ได้รบั การพัฒนาท่ี - ครไู ดพ้ ฒั นาองค์ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ กระบวนการความคิดเพ่ือ ผู้เรียนจะต้องได้รับการพฒั นาการ หลากหลายรูปแบบ ความรู้ ของตนเองใน นาไปสกู่ ารเปล่ยี นแปลง เรียนรู้ท่ีหลากหลาย ด้วยความรู้ ดว้ ยความรู้ และทักษะ นวตั กรรมใหม่ๆ จากแรง วชิ าชีพตามหลกั สูตร การสรา้ งรายวชิ า บันดาลใจสู่ความสาเร็จ และทักษะวชิ าชพี ตามหลกั สูตร - มีการเขา้ ไปฝึกทกั ษะ ใหมๆ่ เพื่อสอดรบั กับ ยคุ โลกาภวิ ัตน์ ใหมๆ่ ในสถาน ประกอบการ - ได้มีการจัดทา นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ และ เทคโนโลยสี มยั วิทยาลยั มกี ารสง่ เสริมใหม้ ีการ - เป็นการเปิดโอกาสให้ - เป็นการเปิดโอกาส บริหารจดั การแบบมีส่วนร่วม ทา นักเรียนไดม้ ีส่วนรว่ มใน ให้ครู และบคุ ลากรได้ ให้การทางานไดร้ ับความร่วมจาก การดาเนนิ กิจกรรม/ มสี ่วนรว่ มในการ ทุกภาคสว่ น โครงการ เพ่อื สร้างการ ดาเนนิ กจิ กรรม/ กลา้ คิด กล้าแสดงออก โครงการ เพื่อสร้าง และภาวะผู้นาใหก้ ับ การกลา้ คิด กล้า นกั เรียน แสดงออก และภาวะ ผู้นาให้กบั บุคลากรใน สถานศกึ ษา

15 ประเด็น นกั เรียน ผ้ทู ี่เกยี่ วขอ้ ง ชมุ ชน / สังคม การสร้างภาคีเครอื ข่าย ทง้ั ใน - ไดฝ้ ึกประสบการณ์ ครูและบุคลากร - มีการเรยี นร้รู ว่ มกันระ ทางการศกึ ษา ว่างชุมชน สถาน ภาครฐั และเอกชน ทั้งในด้านการ อาชีพในสถาน ประกอบการ - ครูได้ออกไปฝึกงาน จดั การเรียนการสอน ความรว่ มมอื ประกอบการทม่ี ี ในสถานประกอบการ และได้เรียนรนู้ วติ กร ต่างๆ คณุ ภาพ รม เทคโนโลยี สมยั ใหม่ เพ่อื นา - ไดฝ้ ึกทกั ษะวิชาชพี ท่ี ความร้มู าถ่ายทอด ใหก้ บั นักเรียนตอ่ ไป ตรงกับสาขาวิชาท่ี ตนเองเรยี น - ได้เรยี นรูเ้ ทคโนโลยี สมยั ใหม่ สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั การเรยี น - ไดท้ าและเรียนรู้สง่ิ - ไดเ้ รยี นรูส้ ิง่ ใหม่ๆ - นาพาชมุ ชนสกู่ ารพฒั นา ก้าวทนั ยุคโลกาภิวัฒน์ ในรปู แบบใหม่ท่ีดี การสอนในระบบทวภิ าคีใน 3 มติ ิ ใหม่ ท่เี ทา่ ทนั และยุคเทคโนโลยี รูปแบบใหม่ เท่าทนั ยคุ 1 ในกลุ่มที่ต้องทา เทคโนโลยี ดิจทิ ัล โลกาภวิ ัฒน์ - ได้แนวความคดิ - พัฒนาชมุ ชนใหก้ า้ วหนา้ ๒ ในกล่มุ ท่ีควรทา ใหม่ๆ ในการพฒั นา ทนั เทคโนโลยี ๓. กลุ่มท่ที ากไ็ ด้ ไมท่ าก็ได้ สถานศึกษา นกั เรียน ให้มีคณุ ภาพ ดา้ นการจดั ทางานวจิ ยั นวัตกรรม - ไดพ้ ัฒนาส่ิงใหมๆ่ ใน - มีการคิดคน้ งานวิจัย - ชุมชนได้สิง่ ประดษิ ฐ์ สงิ่ ประดษิ ฐ์ และเทคโนโลยดี ้าน ดา้ นการทานวตั กรรม พฒั นานวัตกรรม นวตั กรรม เทคโนโลยี วชิ าชีพ เทคโนโลยี ส่งิ ประดิษฐ์ และ ใหมๆ่ ที่นกั เรยี น ครู - นาไปทาเป็นแนวทาง เทคโนโลยีในด้าน ร่วมกันพฒั นา นาไปใช้ ในการประยกุ ตใ์ ชต้ อ่ ไป วิชาการและวชิ าชีพ ในชุมชน ได้ตรงตาม เพอื่ เปน็ พื้นฐานในการ ความตอ้ งการของชมุ ชน นาไปพฒั นานกั เรยี น สังคม สถานศึกษา ชมุ ชน ตอ่ ไปได้

16 นวัตกรรมทส่ี ่งผลต่อความสาเร็จของสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาท่เี ป็นแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) วทิ ยาลยั ไดม้ นี วัตกรรมในการบรหิ ารงาน \"การบริหารจดั การแบบมีส่วนรว่ มโดยใชแ้ ผนกวชิ าเป็นฐาน\" 4.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ วิทยาลยั เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่ จดั การเรียนการสอนทั้งระดับ ปวช. ปวส. และระดับ ปริญญาตรี รวมถึงจัดฝึกอบรมวิชาชีพเฉพาะทางตามความต้องการของ ประชาชนในท้องถ่ิน มีประเภทวิชาที่ จัดการเรียนการสอนรวมท้ังส้ิน 5 ประเภทวิชา คือ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว และเทคโนโลยีสารสนเทศ มี สาขาวิชาทจ่ี ดั การเรียนการสอน ระดับ ปวช. จานวน 19 สาขาวิชา และระดบั ปวส. จานวน 17 สาขาวิชา การบรหิ ารจดั การศึกษาจงึ จาเปน็ ต้องมรี ูปแบบที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ปีการศกึ ษา 2559 วิทยาลัยได้จัดประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา ท้ังหมด เพ่ือระดมความคิดเห็นในการพัฒนาระบบ การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา พบว่าท่ี ผา่ นมาการบรหิ ารสถานศกึ ษา เน้นการสง่ั การจากบนลงล่าง แผนกวิชา ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติ ขาดการมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายปฏิบัติ จึง ส่งผลให้การดาเนินงานบางอย่างไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งไว้ ด้วยเหตุน้ี วิทยาลัย จึงปรับปรุงรูปแบบการ บริหารจัดการใหม่ โดย เน้นการบรหิ ารจัดการแบบมีส่วนรว่ ม โดยใชแ้ ผนกวิชาเป็นฐาน ตงั้ แตป่ กี ารศึกษา 2559 จนถงึ ปจั จบุ นั 4.2 วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้เกดิ การบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นร่วมของ ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศกึ ษา ทงั้ สถานศกึ ษา ร่วมกันพฒั นาไปด้วยกัน 4.3 กรอบแนวคิด การบริหารโดยใช้แผนกวิชาเป็นฐาน คือ แนวคิดของการกระจายอานาจการบริหารการ จัดการศึกษาไป ยังแผนกวิชาโดยตรง โดยมีผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าแผนกวิชา และ ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นคณะกรรมการโดย ร่วมมือกันบริหารจัดการศึกษาภายในวิทยาลัยฯ มีอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบในการตัดสินใจร่วมกัน เก่ียวกับงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป โดยมุ่งเน้นผลผลิต ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา มีประสิทธิภาพ จบการศึกษาออกไป เป็นท่ี ต้องการของตลาดแรงงานและสถานประกอบการ หรอื ประกอบอาชพี ได้ 4.4 วธิ ีการดาเนนิ การ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยใช้แผนกวิชาเป็นฐาน ดาเนินการโดยการ ประยุกต์ใช้แนวคิดการ บริหารจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการบริหาร จัดการแบบมีส่วนร่วม โดยสรุปเป็นหลักการท่ี สาคัญ คอื 1) ใหถ้ ือวา่ แผนกวชิ าแตล่ ะแผนกเป็นเสมอื นโรงเรยี น โรงเรยี นหนง่ึ ทจ่ี ะตอ้ งรับการ กระจายอา นาจจากสถานศกึ ษาในการบรหิ ารดา้ นบคุ ลากร ดา้ นวิชาการ ด้านงบประมาณ และด้านการบริหารทว่ั ไป 2) ใหแ้ ผนกวิชามสี ว่ นรว่ มในการบริหารจดั การท่ี 4 ข้นั ตอน คอื 2.1) ร่วมวางแผนและตัดสนิ ใจ 2.2) รว่ มดาเนินการ 2.3) รว่ มตดิ ตามประเมนิ ผล 2.4) ร่วมรับประโยชน์

17 3) แนวปฏิบตั ิ 3.1) แผนกวชิ ามคี ณะกรรมกรรบรหิ ารและดาเนนิ งานประจาแผนกวิชา มผี ู้รบั ผดิ ชอบงานที่ เกี่ยวข้องกบั ฝา่ ยบรหิ ารของวทิ ยาลัย ท้งั 4 ฝา่ ย คือ ฝา่ ยบริหารทรัพยากร ฝา่ ยวชิ าการ ฝ่ายพัฒนากิจการนกั เรยี น นกั ศึกษา และฝ่ายแผนงานและความรว่ มมอื โดยเน้นการแบง่ งานกันทา ไมใ่ ห้หนกั ท่ีคนใดคนหนึ่ง 3.2) กาหนดจดั ประชมุ หัวหน้าแผนกวชิ าร่วมกบั ฝ่ายบริหารสถานศึกษาประจาสปั ดาห์ ทกุ วนั ศกุ ร์ (เวลา 13.30 – 15.30 น.) โดยมีจดุ ประสงค์การประชมุ 4 ประการ คือ 3.2.1) รบั ฟังสภาพปญั หาการบริหารและการดาเนนิ งานตา่ ง ๆ ที่ผ่านมาของแผนก 3.2.2) แจ้งข้อมลู ข่าวสารและมอบนโยบายทสี่ ถานศึกษาไดร้ บั จากหน่วยงาน ตน้ สังกัด หรือพ้ืนที่ 3.2.3) ตดิ ตามผลการดาเนินการของหน่วยงานตา่ ง ๆ ทีผ่ า่ นมาในรอบสัปดาห์ 3.2.4) วางแผนดาเนนิ งานกิจกรรมต่าง ๆ ในสปั ดาห์หนา้ 4) ใหแ้ ผนกวิชามีส่วนร่วมในการจดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษาและแผนปฏบิ ัติการ ประจาปี งบประมาณ เสนอโครงการพัฒนาคุณภาพของแผนกวิชา ท้งั ด้านวิชาการ ด้านอาคารสถานท่ี การจัด สภาพแวดลอ้ ม การพัฒนาบคุ ลากร และการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 5) ให้แผนกวชิ ามีสว่ นรว่ มในการคดั เลอื กบุคลากร (ในกรณีจาเปน็ ต้องจ้าง) ประเมิน ประสิทธิภาพการปฏิบัตงิ านของบุคลากร และการเสนอขอเล่อื นขนั้ เงนิ เดือนของครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ของแผนกในแต่ละรอบของการประเมินตามโควต้าท่ีวทิ ยาลัยจัดสรรให้ 6) จัดกจิ กรรมยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติครู และนกั เรียน นักศกึ ษา ของแตล่ ะแผนกวิชาที่มี ผลงานหรือ สร้างช่อื เสยี งให้กบั สถานศกึ ษา โดยการมอบเกยี รติหนา้ เสาธง การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ ทางป้ายโฆษณา ส่อื สงิ่ พมิ พ์ สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อมวลชน 7) จดั ระบบการนเิ ทศภายในแบบกัลยาณมิตร โดยฝ่ายบรหิ ารสถานศกึ ษามกี ารตรวจ เย่ียมให้ ขวัญกาลงั ใจแกแ่ ผนกวชิ าอย่างสม่าเสมอ 4.5 ผลการดาเนินงาน 1) บรรยากาศการทางานในสถานศึกษาเปน็ ไปอยา่ งราบรื่น ไม่มเี ร่ืองร้องเรียนทง้ั ภายใน และ ภายนอก 2) สถานศึกษาไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งทวั่ ถงึ โดยกระจายถึงแผนกวชิ าอย่างชัดเจน ส่งผล ให้ สถานศกึ ษาไดร้ ับ สถานศึกษาปลอดภัยติดต่อกนั 2 คร้งั จากกระทรวงแรงงาน ปกี ารศึกษา 2562 3) สถานศึกษามปี ริมาณผูเ้ รยี นทั้งระดับ ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี เพ่มิ ขน้ึ อย่าง ต่อเนอ่ื งทกุ ปี 4) ผู้เรียนมกี ารออกกลางคนั ลดลง และสาเรจ็ การศึกษาตามระยะเวลาท่กี าหนดในหลกั สูตร เพิ่มข้ึน 5) ครูได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ทั้งจากการฝึกอบรม โดยหนว่ ยงานตา่ ง ๆ และการ ฝึก ประสบการณว์ ชิ าชีพในสถานประกอบการเพ่มิ ขึน้ รวมทั้งมีความกา้ วหน้าในตาแหน่ง โดยไดเ้ ล่อื นวิทยฐานะ คศ. 2 และ คศ. 3 เพิม่ ขนึ้ 6) นกั เรียน นักศึกษา ได้รบั การพัฒนาความรู้ ทกั ษะฝีมือ จนมีสมรรถนะสงู ได้รับรางวัล จาก การเป็นตัวแทนเขา้ ร่วมประกวด แสดง แข่งขนั ทักษะวชิ าชพี ทกั ษะพื้นฐาน สิ่งประดษิ ฐ์ นวัตกรรม ทงั้ ระดับภาค และระดับชาตอิ ยา่ งต่อเนื่อง

18 7) ศิษย์เก่าแต่ละแผนกวิชาและชมุ ชน ได้ใหก้ ารสนับสนนุ กิจกรรมของสถานศกึ ษามากข้นึ ทงั้ ดา้ นวสั ดุ ครภุ ัณฑ์ และงบประมาณ เพ่ือการพัฒนาสถานศึกษา 8) สถานศึกษาไดร้ บั การประกาศใหเ้ ปน็ สถานศึกษาต้นแบบสาหรบั การฝกึ ประสบการณ์ ของผู้ท่ี จะบรรจแุ ต่งตงั้ เป็นผู้อานวยการและรองผู้อานวยการสถานศึกษา สงั กดั สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ๔.๖ ความสาเรจ็ ของสถานศกึ ษาทสี่ ่งผลให้เกิดความนา่ เชอื่ ถือของชมุ ชน ผปู้ กครอง นกั เรยี น สถานศกึ ษารางวัลพระราชทาน ๑. สถานศกึ ษารางวัลพระราชทาน ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ๒. สถานศึกษารางวัลพระราชทาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ สถานศกึ ษาปลอดภยั ๑. ได้รับรางวัลชนะเลิศสถานศกึ ษาปลอดภัย จากระทรวงแรงงาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ๒. ได้รบั รางวัลชนะเลิศสถานศกึ ษาปลอดภยั จากระทรวงแรงงาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รางวัลของสถานศกึ ษา 1. ได้รับรางวลั ชนะเลิศ ทักษะการออกแบบและการประกอบอาหารเชิงธรุ กิจสู่มาตรฐานสากล ระดับ ปวส. ในการแข่งขันทักษะวชิ าชีพ ทักษะพื้นฐานจากงานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่ง ประเทศไทย ระดับชาติ คร้งั ที่ ๒๙ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ 2. ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั ๑ ทักษะการผสมเครอ่ื งด่ืม ประเภท Classic Bartender ในการ แข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะพ้ืนฐานจากงานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ ๒๙ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ 3. ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ ทกั ษะพมิ พ์ไทยดว้ ยคอมพิวเตอร์ ระดบั ปวช. ในการแข่งขนั ทักษะวิชาชีพ ทักษะพื้นฐานจากงานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับชาติ ครัง้ ท่ี ๒๙ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ 4. รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ ๔ ทักษะการประกวดร้องเพลงไทยสากลชาย ทกั ษะพน้ื ฐานจากงาน ประชมุ วชิ าการองค์การนักวชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับชาติ คร้งั ที่ ๒๙ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ 5. นกั เรียน นักศึกษา ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๓ จากการประกวดสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรัตนตรยั ทานองสรภัญญะ ในงานส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาเยาวชนเน่อื งในวันสาคัญทางศาสนา (วันมาฆบูชา) ณ มหาวิทยาลัยจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเลยนครศรธี รรมราช 6. นักเรียน นกั ศกึ ษาได้รับรางวัลชนะเลศิ ระดับชาติ ณ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ในการแขง่ ขันทักษะ การประกอบอาหารไทยเชิงธุรกิจ ประเภทหอยทอดจานร้อน (Street Food) และการแขง่ ขันทกั ษะการออกแบบ และการประกอบอาหารเชิงธุรกิจสู่มาตรฐานสากล ประเภทอาหารเพื่อสุขภาพจากหลักประกอบลีลา (Food Healthy Challenge) 7. การพฒั นาการเรยี นการสอนโดยใชก้ ระบวนการชุมชนการเรยี นรู้วิชาชีพ (PLC) สาขาวชิ าคณติ ไทย สังคม และพละ จากการคัดสรรผลงานหน่ึงโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม ระดับภาค โดย คุรุสภา ประจาปี การศกึ ษา ๒๕๖๒ 8. ไดค้ ัดเลือกให้เป็นสถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้และการบรหิ ารจัดการตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสถานศึกษาพอเพียง รางวลั ชนะเลิศ ระดับชาติ จากกระทรวงศกึ ษาธิการ ปี การศกึ ษา ๒๕๖๒

19 9. ไดร้ ับรางวัลชมเชย การประกวดสงิ่ ประดษิ ฐค์ ิดคน้ ทางด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับ อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ภาคกลาง – ภาคใต้ ประจาปี พ.ศ.2561 10.รางวัลรองชนะเลิศอันดบั 1 : การศึกษาปรมิ าณที่เหมาะสมของทางปาลม์ ทใ่ี ช้เปน็ สารตวั เตมิ ต่อ การทาแผน่ พ้ืนยางพารา รับเงนิ รางวลั 15,000 บาท จากการรว่ มประกวดโครงงานวิจยั ด้านยางพารา จดั โดยการ ยางแห่งประเทศไทย (กยท.) กรงุ เทพมหานคร 11.รางวัลชมเชย : การศกึ ษาปรมิ าณซลิ กิ าท่ีเหมาะสมต่อการทาดอกไมจ้ ากเย่อื กระดาษเคลือบน้า ยางพารา รบั เงินรางวลั 5,000 บาท จากการร่วมประกวดโครงงานวจิ ยั ด้านยางพารา จดั โดยการยางแหง่ ประเทศ ไทย (กยท.) กรงุ เทพมหานคร 12.รางวลั ชมเชย : การศกึ ษาปริมาณแคลเซียมคาร์บอเนตที่เหมาะสมตอ่ การทากรวยอัจฉริยะจาก ยางพารา รบั เงินรางวลั 5,000 บาท จากการร่วมประกวดโครงงานวจิ ยั ดา้ นยางพารา จัดโดยการยางแหง่ ประเทศ ไทย (กยท.) กรงุ เทพมหานคร 13.รางวัลชมเชย: การศึกษาปรมิ าณขเ้ี ลื่อยท่เี หมาะสมต่อการทาอฐิ บลอ็ กตัวหนอนจากยางธรรมชาติ รับเงินรางวัล 5,000 บาท จากการร่วมประกวดโครงงานวิจัยด้านยางพารา จัดโดยการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) กรุงเทพมหานคร 14.ได้รับรางวลั รองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันทกั ษะวชิ าชีพ ทกั ษะประมาณราคางานก่อสร้าง ระดบั ภาค ภาคใต้ ประจาปกี ารศกึ ษา 2561 ระดบั ปวส. ๑๕. การประเมนิ สถานศึกษาท่ีจัดอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีสู่ความเป็นเลิศระดับชาติ วิทยาลัยได้รับ การประเมินในระดับ ๕ ดาว ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติในพิธีเชิดชูเกียรติสถานศึกษาและสถานประกอบการท่ี จัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคสี ่คู วามเป็นเลศิ ๑๖. โครงการส่งเสริมความร่วมมือกับสถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ องค์การวิชาชีพในการจัด อาชีวศกึ ษาร่วมกัน และมผี ลสาเร็จในการปฏิบตั งิ านศูนย์กาลังคนอาชวี ศึกษา ระดับดมี าก ๑๗. แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขันทักษะวิชาชีพในอนาคตแห่ง ประเทศไทย ระดบั ภาค ในการติดตงั้ เคร่อื งปรบั อากาศ ระดบั ปวช. ๑๘. แผนกวิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขนั ทักษะวชิ าชีพใน อนาคตแห่งประเทศไทย ระดบั ภาค ในสาขางานผลติ ภัณฑก์ ารยางแหง้ ระดบั ปวช. ๑๙. แผนกวิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ จากการแข่งขัน ทกั ษะวชิ าชพี ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ระดับภาค ในสาขางานผลติ ภณั ฑจ์ ากยางแหง้ ระดบั ปวสใ ๒๐. แผนกวิชาช่างกลโรงงาน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ จากการแข่งขันทักษะวิชาชีพใน อนาคตแหง่ ประเทศไทย ระดบั ภาค ในสาขาเคร่อื งยนต์เลก็ และจกั รยานยนต์ ระดับ ปวช. ๒๑. แผนวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขันทักษะวิชาชีพในอนาคตแห่ง ประเทศไทย ระดับชาติ ในสาขาการติดต้งั เคร่อื งปรับอากาศ ระดับ ปวช. ๒๒. แผนกวิชาช่างกลโรงงาน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จากการแข่งขันทักษะวิชาชีพใน อนาคตแหง่ ประเทศไทย ระดบั ชาติ ในสาขาเครอ่ื งยนตเ์ ล็กและจกั รยานยนต์ ระดับ ปวช. ๒๓. แผนกวชิ การบัญชี ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศอันดับ ๒ จากการแข่งขันทกั ษะวชิ าชีพในอนาคต แห่งประเทศไทย ระดับชาติ ในสาขาโปรแกรมสาเรจ็ รปู เพื่องานบัญชี ระดับ ปวส. ๒๔. แผนกวิชาช่างก่อสร้าง ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขันคอนกรีตพลังช้างอาชีวศึกษา ระดบั ประเทศ ในประเภทคอนกรีตเป้าหมายรักษโ์ ลก ระดับภาคใต้

20 ๒๕. แผนกวิชาช่างก่อสร้าง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ จากการแข่งขันคอนกรีตพลังช้างอาชีวศกึ ษา ระดบั ประเทศ ในประเภทคอนกรตี เปา้ หมายรักษโ์ ลก ระดับภาคใต้ ๒๖. ดาเนินโครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ระดับ ๕ ดาว ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๒๗. อนุสิทธิบัตรสาหรับการประดิษฐ์ตามรายละเอียดการประดิษฐ์ ข้อถือสิทธิ เคร่ืองย่อยโฟม ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๘. อนุสทิ ธบิ ตั รสาหรับการประดษิ ฐ์ตามรายละเอียดการประดิษฐ์ ขอ้ ถอื สิทธิ มะเขือยาวเชอ่ื มแห้ง ๒๙. อนสุ ิทธบิ ตั รสาหรับการประดษิ ฐ์ตามรายละเอียดการประดิษฐ์ ขอ้ ถือสิทธิ น้าเก้ายุคสาเรจ็ รูป ๓๐. แผนกวชิ าการทอ่ งเทีย่ ว ได้รับรางวัลชนะเลิศ (ระดบั เหรียญทอง) การแข่งขนั ทักษะ “การจัดทา และนาเสนอขายรายการนาเท่ยี ว” ระดับภาคใต้ ๓๑. แผนกวชิ าการทอ่ งเทยี่ ว ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศอันดบั สอง ระดบั เหรยี ญทองแดง การแขง่ ขนั ทักษะ “การจดั ทาและนาเสนอขายรายการนาเทย่ี ว” ๓๒. แผนกวชิ าการทอ่ งเที่ยว ไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ (ระดับเหรยี ญทอง) การแข่งขันทกั ษะ “การจดั ทา และนาเสนอขายรายการนาเทย่ี ว” ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี ๒๖ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ๓๓. แผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รับรางวัลชนะเลิศ (ระดับเหรียญทอง) การแข่งขันทักษะ “การออกแบบ Web page” ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี ๒๖ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ๓๔. แผนกวชิ าสามญั ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงิน การแขง่ ขันทกั ษะพน้ื ฐาน “การประกวดการเลา่ นิทาน พน้ื บา้ น” ระดับชาติ ครั้งที่ ๒๖ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ๔.๗ แนวคิดการนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการบริหารสถานศกึ ษา 1. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามสี มรรถนะตามสาขาวชิ าชีพ 2. มรี ะบบการบริหารจดั การเป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาลและหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. จดั การเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย ต่อเนื่อง สอดคลอ้ งกับความต้องการของชมุ ชน ท้องถ่นิ โดยยึดผู้เรียนเปน็ สาคญั 4. ผเู้ รยี นอาชวี ศึกษามีปรมิ าณเพม่ิ ขึ้นทุกหลกั สูตรอย่างมคี ุณภาพ 5. พัฒนาพน้ื ท่ใี นการจัดการเรียนการสอนให้เพยี งพอ เหมาะสม และมีบรรยากาศที่เอ้ือ ตอ่ การจัดการเรียนรู้ 6. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจัดการและส่งเสรมิ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. จัดการเรยี นการสอนโดยมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี พฒั นาผเู้ รยี นในการประดษิ ฐ์คิดค้นนวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 8. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความสามารถในการสร้างเครอื ขา่ ยการทาวิจยั นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐแ์ ละเทคโนโลยดี ้านวชิ าชีพ 9. จดั โครงสรา้ งการบริหารองค์กรอย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ 10.พัฒนาและบารงุ รกั ษาสภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัติการ โรง ฝกึ งาน ให้มบี รรยากาศทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนการสอน 11.ผู้เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านสุขภาพการกฬี าและนนั ทนาการ 12.พัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดบั ตามแนวทางการปฏริ ูปการศึกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

21 13.รว่ มมือกบั สถานประกอบการเพอื่ พฒั นาผเู้ รียน และครู ดา้ นทกั ษะและประสบการณ์ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา ๒. วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ สภาพทว่ั ไป การเชื่อมโยงนโยบายสกู่ ารปฎิบตั ิ กระบวนการบริหารสถานศึกษา การบริหารทรพั ยากร จุดเดน่ จุดด้อยของสถานศึกษา การบริหารความเส่ียง ปจั จยั ส่คู วามสาเร็จ และ สรุปแนวคิดการส่งเสรมิ พัฒนา หรือแนวทางการแกไ้ ขปัญหา โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning : PBL) ประเด็นท่ีไดร้ บั มอบหมาย คอื กระบวนการบรหิ ารจัดการอาชวี ศึกษาทวภิ าคี การยกระดับ การสร้างเครอื ข่ายและความรว่ มมือกับประชาคมการศึกษา ๑. กระบวนการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคี พระราชบัญญตั ิการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔ “การอาชวี ศกึ ษา” หมายความวา่ กระบวน การศึกษาเพื่อผลิตและพฒั นากาลงั คนในด้านวิชาชพี ระดับฝมี ือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี มาตรา ๖ การ จัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัดการศึกษาในด้านวิชาชีพที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมท้ังเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพ่ือให้สอดคล้องกับ ความ ต้องการของตลาดแรงงาน โดยนาความรูใ้ นทางทฤษฎีอนั เปน็ สากลและภูมิปญั ญาไทยมาพัฒนาผ้รู ับ การศึกษาใหม้ ี ความรู้ความสามารถในทางปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในลักษณะ ผู้ปฏิบัติหรือ ประกอบอาชีพโดยอิสระได้ (สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, ๒๕๕๑: ๒-๓) มาตรา ๘ กาหนดให้การ จัดการอาชีวศกึ ษาและการฝกึ อบรมวิชาชีพให้จดั ได้โดยรูปแบบดงั ต่อไปนี้ (๑) การศึกษาในระบบ เปน็ การจดั การศึกษาวิชาชีพทีเ่ น้นการศึกษาในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา หรือ สถาบันเป็นหลัก โดยมีการกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาการวดั และการประเมินผล เป็น เงอ่ื นไขของการสาเรจ็ การศึกษาทแ่ี น่นอน (๒) การศึกษานอกระบบ เปน็ การจดั การศึกษาวิชาชพี ทม่ี ีความยดื หยุ่นในการกาหนด จุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผล ท่ีเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหา และหลักสูตรจะตอ้ งมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความต้องการของบุคคลแต่ละ กล่มุ (๓) การศกึ ษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศกึ ษาวิชาชพี ท่ีเกิดจากขอ้ ตกลงระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับ สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องการจัด หลักสตู ร การเรียน การสอน การวัดและการประเมินผล โดยผ้เู รียนใชเ้ วลาสว่ นหน่ึงในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรือ สถาบันและเรยี น ภาคปฏบิ ัติในสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหน่วยงานของรัฐ เพือ่ ประโยชน์ในการผลิตและ พัฒนากาลังคน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัดการศึกษาในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ ทั้งน้ี สถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันน้ันต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสาคัญ (สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, ๒๕๕๑: ๓-๔) สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาได้ดาเนินการจัดการศึกษา ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซ่ึงเน้น การปฏิรูปการศึกษาทั้งด้านการบริหาร และการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง รวมทั้งการปฏิรูปการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม ส่งเสริมและ

22 พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การพัฒนา ความร่วมมือในการจัดการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน การศึกษาในการจัดการเรียนการสอนท่ี หลากหลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถาน ประกอบการ จะเป็นกระบวนการที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรจู้ ากการปฏิบัติจริง และสามารถพัฒนาขีด ความสามารถในการแขง่ ขันทัง้ ด้านการผลิตและ บริการของประเทศ (สานกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, ๒๕๕๑: ๑) ดังทีี่มีนักการศึกษา กล่าวว่า การจัดการศึกษาเพอ่ื อาชีพ โดยความร่วมมอื ระหวา่ งสถานประกอบการ กับ สถานศึกษาไม่วา่ จะเป็นรูปแบบหรอื วิธกี ารใดกต็ าม ต่างกอ่ ให้เกดิ ผลดีท่เี ปิดโอกาสให้ผ้เู รียนไดร้ ับประสบการณ์ ตรงจากสถานประกอบการ ฝึกใหผ้ ูเ้ รยี นมีกิจนสิ ัยและเจตคตทิ ่ีดใี นการทางานท้ังยงั ก่อใหเ้ กิดความร่วมมือกนั อยา่ ง ใกล้ชิด ในการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่สาคัญอย่างอีกประการหนง่ึ คือ การจัดการศึกษาโดยความร่วมมอื น้ีทาให้ได้ ผลผลิตท่ีตอบสนอง ความต้องการของตลาดแรงงานโดยสามารถปฏบิ ตั ิงานในสถานประกอบการได้ทนั ที จากนโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาท่ีไดก้ าหนดไว้ สกู่ ารปฏิบตั ขิ องวทิ ยาลัย และ วิทยาลัยได้มีกาหนดกระบวนการบริหารจัดการอาชีวศึกศึกษาทวิภาคี ตามแนวทางท่ี สอศ. กาหนดเพ่ือให้การ บริหารจดั การไดถ้ ูกต้องตามมาตรฐานการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ทไี่ ดก้ าหนดไว้ ดังนี้ ๑. ผูบ้ ริหารไดม้ ีการแจ้งแนวนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาให้กับบคุ ลากร ภายในวทิ ยาลยั ทราบ เพือ่ รว่ มกนั ดาเนินการตามนโยบายกาหนด ๒. ขอมติทีป่ ระชมุ ในการแจง้ ความประสงคท์ ่ตี ้องการเปดิ การเรียนการสอนในระบบทวิภาคขี องแต่ ละแผนกวชิ า ๓. มีการเชญิ สถานประกอบการทต่ี อ้ งการรว่ มจัดการเรียนการสอนระบบทวภิ าคีกบั ทางวทิ ยาลยั มาร่วมประชุมกบั วิทยาลัยเพอื่ รับทราบแนวทางการดาเนินการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี และแนวทาง ในการลดหย่อนภาษี สาหรับนักเรียนกลุ่มทเ่ี รียนระบบทวภิ าคี ๔. มีการจัดลงนามความรว่ มมือ (MOU) กับสถานประกอบการท่ีต้องการรว่ มจัดการเรยี นการสอน ในระบบทวิภาคกี ับวิทยาลยั ๕. เชญิ แผนกวชิ า หลักสูตร และสถานประกอบการร่วมกันจดั ทาแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ เพือ่ ใหไ้ ดร้ ายวชิ าและแผนการเรียนที่มคี วามพรอ้ มสมบูรณ์ ตามความต้องการของสถานประกอบการ และวทิ ยาลัย มากทสี่ ดุ ๖. เมื่อได้แผนการเรยี นที่ไดจ้ ัดร่วมกันระหวา่ งสถานประกอบการกบั วิทยาลัยแลว้ นกั เรยี นสามารถ เข้ามาเรียนในระบบทวิภาคีได้ และทางวิทยาลัยจะต้องมีการจัดทาสัญญาฝึกร่วมกันระหว่าง สถานประกอบการ นักเรียน ผู้ปกครอง และมกี ารจดั ทาคาส่งั ครูนิเทศประจาภาคเรียนน้นั ๆ เพือ่ กากับตดิ ตาม ดูแลเอาใจใส่ และเป็นผู้ ประเมินนกั เรียน ๗. สถานประกอบการต้องมจี านวนครูฝึกในสถานประกอบการตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการ อาชวี ศึกษาระบบทวิภาคกี าหนด ๘. ครูฝึกในสถานประกอบการจะตอ้ งเป็นผทู้ ผ่ี ่านการเขา้ รับการอบรมครฝู กึ หลกั สตู ร 30 ช่ัวโมง ๙. ครฝู ึกในสถานประกอบการจะตอ้ งเปน็ ผู้ร่วมในการประเมินผลการเรยี นของนกั เรียนระบบทวิ ภาคี รว่ มกับครนู ิเทศ ครปู ระจารายวิชา ๑๐.เมอ่ื นักเรียนออกฝกึ อาชีพจะต้องมีหนังสอื ส่งตวั ไปฝึกอาชพี และเมื่อนักเรยี นฝกึ อาชพี ครบตาม หลกั สตู รแลว้ สถานประกอบการจะต้องทาหนงั สอื ส่งตัวนักเรยี นกบั วิทยาลยั จากการบรหิ ารจดั การดงั กลา่ ว วิทยาลัยสามารถเปิดสอนนกั เรียนในระบบทวิภาคี ระดับ

23 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) จานวน ๑ สาขา และ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.) ดังน้ี ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ๑. สาขางานยายนต์ ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) ๑. สาขางานเทคนิคยานยนต์ ๒. สาขางานเครอ่ื งมอื กล ๓. สาขางานเทคนิคการเชอ่ื มอุตสาหกรรม ๔. สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕. สาขางานธรุ กจิ ค้าปลีกทว่ั ไป ๖. สาขางานการโรงแรม และในปีการศึกษาหน้าวิทยาลัยได้มีการศึกษาข้อมูลและมีแนวโน้มในการท่ีจัดเปิดสอนในระบบทวิภาคี เพิ่มเติมในอีกหลายสาขา อาทิเช่น สาขาโลจิสติกส์ , สาขาไฟฟ้า , สาขางานอาหารและโภชนาการ เป็นต้น เพื่อ เปน็ การขยายโอกาศทางการศกึ ษาและโภชนาการ เปน็ ต้น ๒. การยกระดับการสรา้ งเครอื ขา่ ย ๑) สถานศึกษามกี ารสารวจความต้องการของภาคีเครอื ข่ายในการสนับสนุนการจัดการอาชีวศกึ ษา ระบบ ทวิภาคี ได้แก่ สถานศกึ ษา สถานประกอบการ และ ผปู้ กครอง ในการพฒั นาแผนการจัดการไเรยี นการสอน และมี การเชื่อมโยงแลกเปลีย่ นเรียนรู้หรอื แหล่งเรยี นรซู้ ึ่งกันและกัน ๒) สถานศกึ ษามกี ารประเมินความพงึ พอใจ ของภาคีเครือขา่ ยทีม่ี ีตอ่ การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี อัน ไดแ้ ก่ สถานประกอบการ ผปู้ กครอง และนาผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั การศึกษาอยา่ งชดั เจนเป็น รูปธรรม สถานศึกษาได้รบั การยอมรับ ไดร้ ับการสนบั สนนุ จากภาคีเครือข่าย อยา่ งสม่าเสมอและตอ่ เน่ือง ๓) วทิ ยาลยั จัดโครงการหรอื กิจกรรมดเี ดน่ ของการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคีของสถานศกึ ษา เป็น โครงการหรอื กจิ กรรมที่วทิ ยาลัยร่วมกับสถานประกอบการดาเนินการจนบรรลผุ ลสาเร็จเกิดความภาคภมู ใิ จ โครงการหรือ กจิ กรรมดีเดน่ นนั้ ตอ้ งโดดเดน่ มวี ิธีการรเิ ริ่มสรา้ งสรรคข์ นึ้ มาใหม่ หรือประยกุ ตข์ น้ึ มาใหม่ สง่ ผลต่อ คณุ ภาพผู้เรยี น ใช้หลักการบริหารการจัดการแบบมสี ว่ นร่วม เนน้ การทางานเปน็ ระบบ ไดร้ ับการยกยอ่ งจาก ผูเ้ กย่ี วขอ้ งมกี าร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผลงานอย่างแพรห่ ลายเกิดประโยชนใ์ นวงกว้าง ๔) เนน้ การจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคีให้เปน็ รูปธรรมมากย่ิงข้นึ ๕) การจัดการศกึ ษาระบบทวิท้งั วทิ ยาลยั และสถานประกอบการตอ้ ง “ WIN WIN ” ทัง้ คู่ ๓. ความรว่ มมือกบั ประชาคมการศกึ ษา ๑) รว่ มมือกบั สภาอตุ สาหกรรม ๒) ร่วมมือกับหอการค้าจังหวดั ตรัง ๓) รว่ มมอื กับอุตสาหกรรมท่องเทยี่ วจงั หวดั ตรัง ๔) คดั เลอื กสถานประกอบการทม่ี ีชือ่ เสียง และได้มาตรฐานในเขตพ้นื ท่ีจังหวัดตรัง ๕) มกี ารลงนามความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการท่ีต้ังอยใู่ นพื้นท่ีเขตอุตสาหกรรม ๖) มโี ครงการยกระดับคุณภาพการจัดอาชวี ศึกษาทวิภาคี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook