Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 6 การควบคุมภายใน

หน่วยที่ 6 การควบคุมภายใน

Published by กรรณิการ์ ผิวสะอาด, 2019-11-25 04:08:37

Description: หน่วยที่ 6 การควบคุมภายใน

Search

Read the Text Version

วชิ า การควบคุมและตรวจสอบภายใน 3201 - 2103 หน่วยที่ 6 การควบคุมภายใน โดย ครูกรรณิการ์ ผวิ สะอาด

หน่วยที่ 6 การควบคุมภายใน สาระการเรียนรู้ (Chapter Objective) 6.1 ความหมายของการควบคุมภายใน 6.2 ประเภทของการควบคุมภายใน 6.3 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ตามหลกั COSO มี 8 องค์ประกอบ 6.4 ข้อจากดั ของการควบคุมภายใน 6.5 ความรับผดิ ชอบเกยี่ วกบั การควบคุมภายใน

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั (Learning Objective) 1. สามารถอธิบายความหมายของการควบคุมภายในได้ 2. สามารถอธิบายองค์ประกอบของการควบคุมในภายในตามหลกั ของ COSO ท้งั 8 องค์ประกอบได้ 3. สามารถนาการควบคุมภายในที่ได้เรียนรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการทางาน และในชีวติ ประจาวนั ได้ 4. ทาให้เกดิ การพฒั นากระบวนการทางความคิดท่ีเป็ นเหตุเป็ นผล

6.1 ความหมายของการควบคุมภายใน การควบคุมภายในตามคาจากัดความของ“COSO” หมายถึง กระบวนการหรือ ข้ันตอนการทางานที่เป็ นผลมาจากการออกแบบโดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคล อื่น ๆ ขององค์กร เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า องค์กรจะสามารถ บรรลุวตั ถุประสงค์ได้ดงั ต่อไปนี้ 1) ความมปี ระสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน 2) ความเช่ือถือได้ของรายงานทางการเงิน 3) การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบายท่ีใช้บังคบั องค์กรน้ัน ๆ

Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission หรือ “COSO” เป็ นแนวคดิ ท่ีทุกสถาบันยอมรับที่จะใช้เป็ นแนวปฏิบัติร่วมกัน โดย COSO ประกอบด้วยสถาบันวชิ าชีพ 5 แห่ง มาทาการศึกษารูปแบบการควบคุมภายในท่ี เหมาะสมกับสถานการณ์สมยั ใหม่ ซ่ึงประกอบด้วย 1. American Institute of Certified Public Accounting (AICPA) 2. American Accounting Association (AAA) 3. Financial Executives Institute (FEI) 4. Institute of Internal Auditors (IIA) 5. Institute of Management Accountants (IMA)

6.2 ประเภทของการควบคุมภายใน การควบคุมภายในแบ่งออกตามลักษณะของวธิ ีการควบคุมได้ 5 ประเภทดงั นี้ 1. การควบคุมเชิงป้องกนั 2. การควบคุมแบบค้นหา 3. การควบคุมแบบแก้ไข 4. การควบคุมแบบส่ังการ 5. การควบคุมแบบทดแทน

6.3 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ตามหลกั COSO มี 8 องค์ประกอบ 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment) 2. การกาหนดวตั ถุประสงค์ (Objective Setting) 3. การระบุเหตุการณ์เส่ียง (Event Identification) 4. การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment) 5. การจัดการกบั ความเสี่ยง (Risk Response) 6. กจิ กรรมการควบคุม (Control Activities) 7. สารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication) 8. การติดตามและการประเมนิ ผล (Monitoring

1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Event Identification) สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง ปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อการควบคุม ภายในขององค์กร หรืออาจส่งผลต่อบุคลากรภายในองค์กรน้ัน ๆ สภาพแวดล้อมของ การควบคุมเป็ นรากฐานที่มีผลกระทบต่อองค์ประกอบอื่น ๆ ของการควบคุมภายใน ตัวอย่างสภาพแวดล้อมของการควบคุม 1) ความซ่ือสัตย์และจริยธรรมขององค์กร 2) ความรู้ ทักษะและความสามารถของผู้บริหาร 3) การเข้าร่วมของคณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการตรวจสอบ 4) ปรัชญาและรูปแบบการทางานของผู้บริหาร 5) โครงสร้างขององค์กร 6) การมอบอานาจหน้าท่ีและความรับผดิ ชอบ 7) นโยบายและวธิ ีบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคล

2. การกาหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) องค์กรต้องกาหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายของการดาเนินธุรกจิ ก่อนที่ จะทาการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยงทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อความสาเร็จของ วตั ถุประสงค์/เป้าหมายน้ัน ๆ

3. การระบุเหตุการณ์เสี่ยง (Event Identification) เป็ นการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง หรือความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึน้ โดยพจิ ารณา จากปัจจัยท้ังภายในและภายนอกองค์กร ปัจจัยภายนอก ได้แก่ 1) สภาวะทางด้านเศรษฐกิจ 2) การเมือง การปกครอง 3) การเปล่ยี นแปลงทางด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ 4) สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

ปัจจัยภายใน ได้แก่ 1) บุคลากรภายในองค์กร 2) กระบวนการในการทางาน 3) เทคโนโลยภี ายในองค์กร

4. การประเมนิ ความเส่ียง (Risk Assessment) ทุกองค์กรย่อมต้องเผชิญกบั ความเสี่ยงในหลากหลายรูปแบบ ความเสี่ยงเหล่านีม้ ี ปัจจยั มาจากภายในและภายนอก จงึ มีความจาเป็ นท่ีทุกองค์กรจะต้องมกี ระบวนการ ประเมินความเส่ียงเพ่ือท่ีจะทราบได้ว่าในองค์กรมีความเสี่ยงอยู่หรือไม่ และอยู่ในระดับ ใด ท้ังนี้ เพ่ือกาหนดมาตรการ หรือวธิ ีการควบคุมที่เหมาะสมและมปี ระสิทธิผล เพื่อ จัดการความเส่ียงเหล่าน้ัน การกาจัดความเส่ียงให้หมดไปจากองค์กรเป็ นส่ิงที่ทาได้ยาก ดงั น้ันส่ิงที่ผู้บริหารจะสามารถทาได้คือพยายามลดความเสี่ยงให้น้อยลงจนอยู่ในระดบั ที่ ยอมรับได้

5. การจดั การกับความเสี่ยง (Risk Response) เป็ นการระบุว่ามีทางเลือกใดบ้างท่ีสามารถใช้ในการจัดการกบั ความเส่ียง การ คัดเลือกทางเลือกที่เหมาะสม และนาไปปฏิบัติโดยถือเป็ นส่วนหน่ึงของการบริหาร จัดการความเส่ียงแนวทางจดั การความเส่ียงแบ่งได้เป็ น 4 แนวทางหลกั ๆ ได้แก่ 1) การหลีกเลยี่ งความเสี่ยง โดยการหยุดธุรกรรม/กจิ กรรมที่มคี วามเสี่ยง 2) การลด/ควบคุมความเส่ียง โดยอาจเป็ นการลดโอกาสท่ีจะเกดิ เหตุการณ์ ลด ผลกระทบ หรือลดท้ังสองอย่างพร้อมกนั 3) การหาผู้ร่วมรับผิดชอบความเส่ียง เป็ นการลดโอกาส หรือผลกระทบ โดยการ ถ่ายโอนความเสี่ยง หรือหาผู้ร่วมรับผิดชอบความเสี่ยง 4) การยอมรับความเส่ียง โดยไม่ต้องดาเนินการใด ๆ เพื่อลดโอกาส หรือ ผลกระทบ

6. กจิ กรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบาย มาตรการ และวธิ ีการต่าง ๆ ท่ีฝ่ ายบริหาร นามาใช้ เพื่อก่อให้เกดิ ความเชื่อมนั่ ได้ว่า วธิ ีการปฏิบัติต่าง ๆ ทฝี่ ่ ายบริหารกาหนดขนึ้ ได้ มีการปฏิบัติตาม และมีการดาเนินมาตรการต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการที่จะจดั การกับความ เสี่ยงได้อย่างเหมาะสม เพ่ือให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กรได้ กจิ กรรม ควบคุมที่เกีย่ วข้องกับนโยบายและวธิ ีการดาเนินงาน สามารถแบ่งออกเป็ น 1) การแบ่งแยกหน้าท่ีอย่างเพยี งพอ 2) การให้อานาจเก่ียวกับการปฏิบัติงานและรายการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 3) ความเพยี งพอของเอกสารและการบันทึก 4) การควบคุมทางกายภาพของสินทรัพย์และการบันทึก 5) การตรวจสอบการปฏิบัติงานอย่างอสิ ระ

7. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) 1. ข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศที่เกย่ี วกบั การเงินและการบัญชีได้แก่ 1) รายงานยอดซื้อ ยอดขาย 2) รายงานฐานะเงนิ สด เงินฝากธนาคาร 3) รายงานความเคลื่อนไหวของบัญชีลูกหนี้ 4) รายงานกระแสเงนิ สด 5) งบกาไรขาดทุน และงบดุล

ข้อมูลสารสนเทศที่ไม่เกย่ี วกับการเงนิ การบัญชีได้แก่ 1) นโยบายขององค์กร 2) แผนการขยายกจิ การ 3) ข้อมูลประวตั ิพนักงาน 4) สารสนเทศเกี่ยวกบั คู่แข่งขนั ทางธุรกิจ 5) ข้อมูลเก่ยี วกับส่วนแบ่งตลาด

ลกั ษณะของข้อมูลสารสนเทศท่ีดีมดี งั ต่อไปนี้ 1) ความเหมาะสมกบั การใช้ หมายถึง ข้อมูลสารสนเทศมเี นื้อหาสาระท่ีจาเป็ น สาหรับการตัดสินใจ 2) ความถูกต้องสมบูรณ์ หมายถึง ข้อมูลสารสนเทศท่ีสะท้อนผลตามความเป็ น จริง และมรี ายละเอียดท่ีจาเป็ นครบถ้วน 3) ความเป็ นปัจจุบัน หมายถงึ ข้อมูลสารสนเทศท่ีให้ข้อเท็จจริงที่ล่าสุดใกล้เคยี ง กบั วนั ท่ีใช้ในการตัดสินใจ 4) ความทันเวลา หมายถึง ข้อมูลสารสนเทศท่ีจดั ทาขึน้ อย่างรวดเร็วเพ่ือให้ ผู้ตัดสินใจทันวนั เวลาที่ต้องการใช้ข้อมูลข่าวสารน้ัน ๆ 5) ความเหมาะสมในการเข้าถงึ หมายถงึ ความยากง่ายในการเข้าถึง ซึ่งจะต้องง่าย สาหรับผู้มีอานาจที่จะเข้าถงึ ได้ และยากในการเข้าถงึ สาหรับผู้ท่ีไม่เก่ยี วข้อง

การติดต่อสื่อสาร ข้อมูลสารสนเทศจะมีประโยชน์มากถ้าในองค์กรมรี ะบบการติดต่อส่ือสารท้ัง ภายในและภายนอกองค์กรที่มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล คือมีการจดั ระบบการ สื่อสารให้ข้อมูลที่จดั ทาไว้แล้วส่งไปถงึ ผู้ท่ีควรได้รับ และสามารถนาข้อมูลท่ีได้รับไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ในการตัดสินใจต่าง ๆ ระบบการติดต่อส่ือสารที่ดจี ะต้องประกอบด้วย ระบบการสื่อสารภายในและภายนอกองค์กร

8. การติดตามและการประเมินผล (Monitoring) การติดตามผล จะใช้สาหรับมาตรการหรือระบบการควบคุมภายในที่อยู่ระหว่าง การออกแบบหรือการนาออกสู่การปฏิบัติ การติดตามผลเป็ นการตดิ ตามความคืบหน้า ของงานรวมท้ังการสอบทานหรือการยืนยันยอดระหว่างการปฏิบัติงาน การประเมินผล จะใช้สาหรับมาตรการหรือระบบการควบคุมภายในที่ได้ใช้ไปแล้ว เป็ นระยะเวลานานพอสมควรที่จะได้ทาการประเมนิ ว่ายังมคี วามเหมาะสมกับ ส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ที่เปล่ียนแปลงไปหรือไม่ การประเมนิ ผลจะประเมนิ โดยผู้ท่ีไม่มสี ่วน ที่เกีย่ วข้องกบั การกาหนดระบบการควบคุมภายในน้ัน เพื่อให้สามารถแสดงความ คดิ เห็นได้อย่างเป็ นอสิ ระ

6.4 ข้อจากดั ของการควบคุมภายใน ระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายในไม่สามารถให้หลกั ฐานทเ่ี ป็ นข้อสรุปว่าผ้บู ริหารได้บรรลุ วตั ถุประสงค์แล้ว เน่ืองจากมขี ้อจากดั ตามลกั ษณะขององค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน ข้อจากดั ดงั กล่าวรวมถึง 1) ความต้องการโดยทวั่ ไปของผู้บริหารที่ว่าต้นทุนของการควบคุมภายในต้องไม่เกนิ กว่า ผลประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 2) การควบคุมภายใน ส่วนใหญ่มกั จะกาหนดสาหรับรายการปกตมิ ากกว่ารายการท่ีไม่ปกติ 3) โอกาสท่จี ะเกดิ ข้อผดิ พลาดจากบุคลากร เช่น ความไม่ระมดั ระวงั ความพล้งั เผลอ การใช้ดลุ ยพนิ จิ ผดิ พลาด และการไม่เข้าใจคาส่ัง 4) โอกาสท่ีจะเกดิ การหลกี เลย่ี งข้ันตอนของการควบคุมภายในโดยผู้บริหารหรือโดยพนกั งานร่วมกบั บุคคลภายในหรือภายนอกองค์กร 5) โอกาสทผี่ ู้ท่ีรับผดิ ชอบในการควบคมุ ภายในจะใช้อานาจในทางท่ีผดิ เช่น ผู้บริหารข้ามข้ันตอนของ การควบคุมภายใน 6) โอกาสท่ีวธิ ีการปฏิบัตทิ ี่กาหนดไว้อาจไม่เพยี งพอ เน่ืองจากสถานการณ์เปลย่ี นไป และไม่มกี าร ปฏิบตั ติ ามวธิ ีการทก่ี าหนดอย่างเคร่งครัด

6.5 ความรับผดิ ชอบเกยี่ วกบั การควบคุมภายใน 1) ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดบั สูงเป็ นผู้ท่ีมหี น้าที่และความรับผิดชอบในการจัดให้มกี ารควบคุม ภายในขึน้ ในองค์กร และจะต้องเป็ นผู้ท่ีปฏิบัติตนให้เป็ นตัวอย่างท่ีดี เพื่อสะท้อนให้เห็น ถงึ ความซื่อสัตย์และจริยธรรมของผู้บริหารมากว่าใคร ๆ ในองค์กร เพ่ือให้เกิด สภาพแวดล้อมการควบคุมท่ีดี 2) ผู้บริหารระดบั กลาง ผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง ผู้บริหารฝ่ ายต่าง ๆ ที่รับผิดชอบการควบคุมภายใน ในงานที่ตนรับผดิ ชอบ โดยผู้บริหารระดับกลางมหี น้าท่ีในการจัดให้มกี ารควบคุมภายใน ประเมินประสิทธิผล ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงให้มีความรัดกุมอยู่เสมอ สอบทานให้มี การปฏิบัติตามระบบ

กจิ กรรมเสนอแนะ ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อดี และข้อเสียของการจัดให้มรี ะบบการควบคุม ภายใน พร้อมยกตวั อย่างระบบการควบคุมภายในของสถาบันการศึกษาท่ีควร จะมี

ใบงาน 6 การควบคุมภายใน กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-7 คน 2. ให้นักศึกษานาบริษทั จาลองจากหน่วยที่ 4 มาจัดระบบการควบคุม ภายในตามหลกั ของ COSO 3. นาเสนอผลงาน 4. ให้นักศึกษากลุ่มอ่ืน ๆ ประเมนิ ผลตามแบบประเมนิ

คาถามท้ายหน่วยที่ 6 ตอนที่ 1 จงเตมิ คาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ความเหมาะสมกบั การใช้ หมายถงึ อะไร ตอบ ข้อมูลสารสนเทศมีเนื้อหาสาระท่ีจาเป็ นสาหรับการตัดสินใจ 2. ความถูกต้องสมบูรณ์ หมายถงึ อะไร ตอบ ข้อมูลสารสนเทศที่สะท้อนผลตามความเป็ นจริง และมีรายละเอยี ดที่จาเป็ น ครบถ้วน 3. ความเป็ นปัจจุบัน หมายถงึ อะไร ตอบ ข้อมูลสารสนเทศที่ให้ข้อเท็จจริงที่ล่าสุดใกล้เคียงกับวนั ท่ีใช้ในการตัดสินใจ 4. ความทันเวลา หมายถงึ อะไร ตอบ ข้อมูลสารสนเทศท่ีจดั ทาขนึ้ อย่างรวดเร็วเพื่อให้ผู้ตัดสินใจทันวนั เวลาที่ ต้องการใช้ข้อมูลข่าวสารน้ัน ๆ

5. ความเหมาะสมในการเข้าถงึ หมายถงึ อะไร ตอบ ความยากง่ายในการเข้าถึง ซ่ึงจะต้องง่ายสาหรับผู้มีอานาจที่จะเข้าถงึ ได้ และยาก ในการเข้าถึงสาหรับผู้ที่ไม่เกีย่ วข้อง 6. การมอบอานาจหน้าที่และความรับผดิ ชอบ เป็ นองค์ประกอบเร่ืองใดของการควบคุม ภายในตามหลัก COSO ตอบ สภาพแวดล้อมของการควบคุม 7. COSO ประกอบด้วยสถาบันวชิ าชีพกี่สถาบัน ตอบ 5 สถาบัน

8. องค์ประกอบของการควบคุมภายในตามหลกั ของ COSO มีก่ีองค์ประกอบ ตอบ 8 องค์ประกอบ 9. บุคคลใดมีหน้าท่ีในการจดั ทางบการเงินตามกฎหมาย ตอบ ผู้บริหาร 10. ใช้สาหรับมาตรการหรือระบบการควบคุมภายในท่ีอยู่ระหว่างการออกแบบหรือการ นาออกสู่การปฏิบัติ หมายถึงอะไร ตอบ การติดตามผล

ตอนท่ี 2 จงทาเคร่ืองหมาย (√) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง 1. ข้อใด ไม่ใช่ วตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน ก. ความมปี ระสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนนิ งาน ข. ความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงนิ √ค. การปฏบิ ัตติ ามการควบคมุ ภายใน ง. การปฏิบัตติ ามกฎ ระเบยี บ และนโยบายท่ีใช้บังคบั องค์กรน้นั ๆ 2. ข้อใดกล่าวผดิ ก. ผู้ลงทุนนางบการเงนิ ไปใช้ในการตดั สินใจลงทุน √ข. ผู้บริหารนางบการเงนิ ไปใช้ในการตกแต่งตวั เลขให้ดดู ี ค. เจ้าหนนี้ างบการเงนิ ไปใช้เพ่ือวเิ คราะห์การให้เครดติ ง. กรมสรรพากรนางบการเงนิ ไปใช้ในการจดั เกบ็ ภาษี

3. ความมปี ระสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนนิ งาน ข้อใดถูกต้องทส่ี ุด ก. ม่งุ เน้นการใช้งบประมาณอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล √ข. มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ค. ม่งุ เน้นการใช้ระบบการควบคมุ ภายในอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ง. มุ่งเน้นการใช้บุคลากรอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. ข้อใด ไม่ใช่ สภาพแวดล้อมของการควบคมุ ก. ความรู้ ทกั ษะและความสามารถของผู้บริหาร ข. โครงสร้างขององค์กร √ค. การเมืองการปกครอง ง. ปรัชญาและรูปแบบการทางานของผู้บริหาร

5. ข้อใดเป็ นปัจจัยภายใน ก. การเปลย่ี นแปลงทางด้านเทคโนโลยี √ข. กระบวนการทางาน ค. สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ง. ถูกทุกข้อ 6. ข้อใดคือวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ ความเส่ียง ก. เพ่ือให้ทราบว่าองค์กรมคี วามเส่ียงอยู่หรือไม่ ข. เพ่ือกาหนดวธิ ีการควบคมุ ความเสี่ยง ค. เพื่อบริหารความเส่ียง √ง. ถูกทุกข้อ

7. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลสารสนเทศทางการเงนิ และการบญั ชี ก. รายงานการเคลื่อนไหวของบัญชีลกู หนี้ √ข. รายงานแผนการขยายกจิ การ ค. รายงานยอดซื้อและยอดขาย ง. รายงานฐานะเงนิ สด และเงนิ ฝากธนาคาร 8. ข้อใดกล่าวผดิ เกยี่ วกบั ลกั ษณะของข้อมลู สารสนเทศทีด่ ี √ก. ความเป็ นปัจจุบัน หมายถงึ การจัดทาขนึ้ อย่างรวดเร็วเพ่ือให้ผ้ตู ดั สินใจ ทันเวลาทต่ี ้องใช้งาน ข. ความเหมาะสมกบั การใช้ หมายถึง มเี นื้อหาท่ีจาเป็ นสาหรับการตดั สินใจ ค. ความถูกต้องสมบูรณ์ หมายถึง การสะท้อนผลตามความเป็ นจริง ง. ความเหมาะสมในการเข้าถงึ หมายถึง ความง่ายสาหรับผ้มู อี านาจในการเข้าถึง ข้อมูล

9. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการควบคุมภายในตามหลกั ของ COSO ก. การระบุเหตกุ ารณ์เสี่ยง ข. การประเมนิ ความเส่ียง ค. การจัดการกบั ความเส่ียง √ง. การค้นพบความเสี่ยง 10. บทบาทของผ้บู ริหารระดบั สูงในการควบคุมภายใน ข้อใดถูกต้องทีส่ ุด ก. สอบทานให้มกี ารปฏิบัตติ ามระบบ √ข. เป็ นผ้ปู ฏิบตั ติ นให้เป็ นแบบอย่างท่ดี ี ค. ปรับปรุงและเปลย่ี นแปลงระบบให้มคี วามรัดกมุ อย่เู สมอ ง. ถูกทุกข้อ

ตอนที่ 3 จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ได้ใจความท่ีสมบูรณ์ 1. การควบคุมภายในตามคาจากัดของ COSO หมายถึงอะไร ตอบ กระบวนการหรือข้ันตอนการทางานที่เป็ นผลมาจากการออกแบบโดย คณะกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลอื่น ๆ ขององค์กร เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้อย่าง สมเหตุสมผลว่า องค์กรจะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้ดังต่อไปนี้ 1.1 ความมปี ระสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน 1.2 ความเช่ือถือได้ของรายงานทางการเงิน 1.3 การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบายท่ีใช้บังคบั องค์กรน้ัน ๆ

2. COSO ประกอบด้วยสถาบันวชิ าชีพใดบ้าง ตอบ 1. American Institute of Certified Public Accounting (AICPA) 2. American Accounting Association (AAA) 3. Financial Executives Institute (FEI) 4. Institute of Internal Auditors (IIA) 5. Institute of Management Accountants (IMA)

3. องค์ประกอบของการควบคุมภายในประกอบด้วย ตอบ 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment) 2. การกาหนดวตั ถุประสงค์ (Objective Setting) 3. การระบุเหตุการณ์เสี่ยง (Event Identification) 4. การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment) 5. การจัดการกบั ความเสี่ยง (Risk Response) 6. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 7. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) 8. การติดตามและการประเมินผล (Monitoring)

4. ความน่าเชื่อถือได้ของงบการเงนิ หมายถึงอะไร ตอบ งบการเงนิ เป็ นงบท่ีนาไปใช้เป็ นข้อมูลประกอบการพจิ ารณาและตัดสินใจของ บุคคลภายในและภายนอกองค์กร เช่น ผู้บริหาร ผู้ลงทุน เจ้าหนี้ ลูกค้า ผู้ถือหุ้น และ หน่วยงานราชการ เป็ นต้น โดยผู้บริหารมหี น้าท่ีรับผิดชอบในการจัดทางบการเงนิ ท้ังใน ด้านของกฎหมายและวชิ าชีพ เพ่ือให้เกิดความมนั่ ใจว่างบการเงนิ น้ันมคี ุณภาพและมกี าร ปฏิบัติตามหลกั การบัญชีที่รับรองทั่วไป

5. กิจกรรมการควบคุม หมายถงึ หมายถึงอะไร ตอบ นโยบาย มาตรการ และวธิ ีการต่างๆ ที่ฝ่ ายบริหารนามาใช้ เพ่ือก่อให้เกิดความ เชื่อม่ันได้ว่า วธิ ีการปฏิบัติต่าง ๆ ที่ฝ่ ายบริหารกาหนดขนึ้ ได้มีการปฏิบัติตาม และมกี าร ดาเนินมาตรการต่าง ๆ ท่ีจาเป็ นในการท่ีจะจัดการกับความเส่ียงได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กรได้ กิจกรรมควบคุมท่ีเกี่ยวข้องกบั นโยบาย และวธิ ีการดาเนินงาน THE END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook