Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 10 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบภายใน

หน่วยที่ 10 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบภายใน

Published by กรรณิการ์ ผิวสะอาด, 2019-11-26 03:45:16

Description: หน่วยที่ 10 การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบภายใน

Search

Read the Text Version

วิชา การควบคุมและตรวจสอบภายใน 3201 - 2103 หน่วยท่ี 10 การใช้คอมพวิ เตอร์เป็ น เคร่ืองมือในการตรวจสอบภายใน โดย ครูกรรณิการ์ ผวิ สะอาด

หน่วยที่ 10 การใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นเคร่ืองมือในการตรวจสอบภายใน สาระการเรียนรู้ (Chapter Objective) 10.1 ความหมายของการใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นเคร่ืองมือในการตรวจสอบภายใน 10.2 การแบ่งประเภทของการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการตรวจสอบภายใน 10.3 การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการตรวจสอบท่ัวไป (Generalized Audit Software หรือ GAS) 10.4 ประโยชน์ของ GAS 10.5 ความสามารถในการทางานของ GAS 10.6 หน้าทงี่ านตรวจสอบภายในที่ GAS สามารถทาได้ 10.7 ข้อจากดั ของ GAS 10.8 การปฏิบตั งิ านกบั GAS 10.9 การใช้ข้อมลู ทดสอบ 10.10 เทคนิคอ่ืน ๆ

ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง (Learning Objective) 1. สามารถอธิบายความหมายของการใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นเครื่องมือใน การตรวจสอบได้ 2. สามารถอธิบายถงึ ประโยชน์ ความสามารถ หน้าที่ ข้อจากดั และการ ปฏิบัตงิ านของ GAS ได้ 3. สามารถอธิบายลกั ษณะการทางานของการใช้ข้อมูลทดสอบได้ 4. สามารถยกตวั อย่างเทคนิคการตรวจสอบวิธีอ่ืน ๆ ได้

10.1 ความหมายของการใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นเครื่องมือในการตรวจสอบ ภายใน การใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นเคร่ืองมือในการตรวจสอบภายใน หมายถึง การนา เทคโนโลยที างคอมพวิ เตอร์ เช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบการจดั การฐานข้อมูล มาช่วยในการตรวจสอบภายใน โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการตรวจสอบภายใน เช่น โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการตรวจสอบทั่วไป และการใช้ข้อมูลทดสอบ

10.2 การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการตรวจสอบภายในแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท คือ 1) การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการตรวจสอบทัว่ ไป (Generalized Audit Software หรือ GAS) 2) การใช้ข้อมูลทดสอบ 3) ซอฟต์แวร์อื่น ๆ

10.3 การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการตรวจสอบทว่ั ไป (Generalized Audit Software หรือ GAS) โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการตรวจสอบทั่วไป (Generalized Audit Software หรือ GAS) เป็ นโปรแกรมสาเร็จรูปที่พฒั นาขนึ้ เพื่อใช้ในการตรวจสอบทั่วไป เช่น การ ทดสอบการคานวณ การสุ่มตัวอย่าง และการจดั พมิ พ์คายืนยันยอดคงเหลือ ช่วยให้ ผู้ตรวจสอบภายในสามารถเข้าถงึ และจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ได้ แม้ข้อมูลจะเกบ็ อยู่ใน แฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มท่ีมโี ครงสร้างต่าง ๆ กัน โดยผู้ใช้ไม่ต้องเขยี นโปรแกรมส่ังงาน เอง อย่างไรกต็ ามข้อมูลท่ีจะสามารถนามาใช้ได้น้ันจะต้องเป็ นข้อมูลที่จัดเกบ็ อยู่ในส่ือ สาหรับเกบ็ ข้อมูลทางคอมพวิ เตอร์ เท่าน้ัน

10.4 ประโยชน์ของ GAS 1) ช่วยประหยดั เวลาที่ใช้ในการเขยี นโปรแกรมเพ่ือการตรวจสอบระบบ 2) ในกรณที ่ีมกี ารเปล่ียนแปลงวตั ถุประสงค์ในการตรวจสอบภายใน กส็ ามารถ ทาได้อย่างรวดเร็ว 3) ผู้ตรวจสอบภายในบางคนไม่ค่อยมคี วามชานาญในเร่ืองการเขียนโปรแกรม กส็ ามารถใช้ GAS ได้

10.5 ความสามารถในการทางานของ GAS 1) การเข้าถึงแฟ้มข้อมูล 2) การจดั เรียงข้อมูลใหม่ 3) การเลือกรายการ 4) การคานวณทางสถิติ 5) การคานวณทางคณิตศาสตร์ 6) การแบ่งข้อมูลเป็ นลาดับข้นั และการวเิ คราะห์ความถี่ 7) การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ และปรับให้เป็ นปัจจุบัน 8) การจัดทารายงาน

10.6 หน้าที่งานตรวจสอบภายในท่ี GAS สามารถทาได้ 1) การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล 2) การตรวจสอบคุณภาพของระบบประมวลผล 3) การตรวจสอบความมีอยู่จริงของสินทรัพย์ 4) การวเิ คราะห์เปรียบเทียบ

10.7 ข้อจากดั ของ GAS 1) ใช้ GAS ตรวจสอบได้เฉพาะหลงั จากที่เกิดรายการแล้วเท่าน้ัน 2) ใช้ GAS ตรวจสอบเฉพาะ ตรรกศาสตร์ (Logic) ท่ีไม่สลับซับซ้อนมากนัก 3) GAS ไม่สามารถบอกแนวโน้มท่ีระบบอาจมีข้อผดิ พลาดได้ 4) GAS จาเป็ นต้องใช้ข้อมูลจากระบบภายใต้ข้อสมมติฐานว่าข้อมูลที่ได้มา มคี วามครบถ้วนและสมบูรณ์

10.8 การปฏบิ ัติงานกบั GAS 1) การกาหนดวตั ถุประสงค์ในการตรวจสอบภายใน 2) พจิ ารณาว่าต้องการข้อมูลอะไรบ้างในการตรวจสอบภายใน 3) ประสานงานข้อมูล 4) นาข้อมูลเข้าสู่คอมพวิ เตอร์ของผู้ตรวจสอบภายใน 5) ตรวจสอบความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูล 6) เริ่มทาการทดสอบ 7) จดั ทารายงานและสรุปผล

10.9 การใช้ข้อมูลทดสอบ การใช้ข้อมูลทดสอบ คือ การที่ผู้ตรวจสอบภายในใช้ข้อมูลรายการท่ีเป็ นตัวอย่าง ชุดหน่ึงท่ีผู้ตรวจสอบภายในจัดทาขนึ้ มาเพื่อทดสอบโปรแกรมท่ใี ช้งานอยู่ว่ามีการ ประมวลผลถูกต้องและมจี ุดควบคุมต่าง ๆ ตามท่ีได้ระบุไว้หรือไม่ ข้อมูลทดสอบอาจมี การนาเข้าสู่ระบบโดยมีการจัดให้อยู่ในรูปแบบแฟ้มข้อมูลทค่ี อมพวิ เตอร์สามารถอ่านได้ หรือจัดทาเป็ นเอกสารข้อมูลนาเข้าซ่ึงต้องมกี ารบันทึกข้อมูลตามเอกสารน้ันเข้าสู่ระบบ อีกคร้ังหนึ่ง เทคนิคการใช้ข้อมูลทดสอบนีช้ ่วยให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถประเมนิ จุด ควบคุมของระบบและกระบวนการทางานของระบบได้ การใช้ข้อมูลทดสอบมี 2 ประเภทที่สาคญั คือ การใช้ข้อมูลทดสอบแบบเทสท์ดาต้า (Test Data) และการใช้ข้อมูลทดสอบแบบอนิ ทีเกรเต็ดเทสท์ฟาซิลิตี้ (Integrated Test Facility หรือ ITF)

การใช้ข้อมูลทดสอบแบบเทสท์ดาต้า (Test Data) การใช้ข้อมูลทดสอบแบบเทสท์ดาต้า (Test Data) เป็ นวธิ ีที่ออกแบบขนึ้ มาเพื่อใช้ กบั การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing) ข้นั ตอนในการทางานมีดงั ต่อไปนี้ 1) สอบทานเอกสารประกอบระบบ เพ่ือดูว่ามีจุดควบคุมอะไรบ้าง 2) สร้างข้อมูลทดสอบท้ังถูกและผิดหรือรายการจาลองขนึ้ มา เพื่อใช้ในการ ทดสอบ 3) บันทึกรายการเหล่าน้ันลงในกระดาษทาการ พร้อมท้ังคานวณผลการ ประมวลผลท่ีคาดว่าจะได้รับด้วยมือลงในกระดาษทาการ 4) ทาการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของผู้ตรวจสอบภายใน คานวณ 5) นาผลท่ีได้จากข้อ 3) และข้อ 4) มาเปรียบเทียบเพ่ือหาข้อสรุปท่ีได้จากการ ทดสอบ

การใช้ข้อมูลทดสอบแบบอินทีเกรเต็ดเทสท์ฟาซิลิตี้ (Integrated Test Facility หรือ ITF) อนิ ทีเกรเต็ดเทสท์ฟาซิลติ ี้ (Integrated Test Facility หรือ ITF) เป็ นเทคนิคที่ผู้ ตรวจสอบภายในจะต้องสร้างแบบจาลองขึน้ มาแล้วนาไปประมวลผลร่วมกับข้อมูลจริง ของระบบงานท่ีใช้อยู่ หลังจากการประมวลผลแล้วจะนาผลลพั ธ์ท่ีได้มาวเิ คราะห์ วตั ถุประสงค์ของการใช้ ITF คือการตรวจสอบการควบคุมภายในท้ังด้านการนาเข้า ข้อมูล การประมวลผล และการรายงานผลลพั ธ์ ข้อมูลจาลองท่ีใช้นีค้ วรมีการใช้รหัส พเิ ศษ เพื่อเป็ นการง่ายต่อการลบข้อมูลจาลองออกหลงั จากเสร็จสิ้นการทดสอบ

10.10 เทคนิคอ่ืน ๆ เทคนิคอ่ืน ๆ มหี ลายอย่าง ในที่นีจ้ ะแบ่งออกเป็ น 6 ประเภทด้วยกันคือ 1) การใช้โปรแกรมอรรถประโยชน์ เป็ นซอฟแวร์ที่ทางานได้หลายอย่าง มีจานวนผู้ใช้งานมาก เช่น โปรแกรมสาหรับก๊อปปี้ โปรแกรมใช้สาหรับเรียงข้อมูล การดงึ ข้อมูล เป็ นต้น 2) การใช้โปรแกรมที่เขียนขนึ้ มาโดยเฉพาะกบั งานตรวจสอบภายใน เป็ นโปรแกรมที่จดั ทาขนึ้ มาโดยเฉพาะสาหรับแต่ละธุรกิจ เช่น เขียนขึน้ มาเพื่อ ตรวจสอบภายในของบริษทั ท่ีทาธุรกจิ เกยี่ วกับการประกนั ภัย หรือประกอบธุรกจิ ธนาคาร เป็ นต้น

3) การใช้ภาษาระดับสูง ใช้ในการโอนย้ายข้อมูล การรวบรวมข้อมูล เป็ นต้น 4) การตรวจสอบโปรแกรม เป็ นโปรแกรมท่ีผู้ตรวจสอบภายในนามาใช้เพื่อ ตรวจสอบความสมบูรณ์และประสิทธิภาพของโปรแกรมที่องค์กรใช้งานอยู่ในปัจจุบัน 5) การใช้โปรแกรมท่ีพฒั นาขนึ้ เพ่ือช่วยในการทางาน เช่น เวริ ์ดโปรเซสซิ่ง (Word processing ) การสุ่มตัวอย่าง การวเิ คราะห์กราฟิ ก เป็ นต้น 6) ระบบผู้เชี่ยวชาญ เป็ นโปรแกรมท่ีบรรจุความรู้ของผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านที่มี การเก็บรวบรวมไว้ เพ่ือให้สามารถนาความรู้เหล่านีอ้ อกมาใช้ได้เมื่อเกิดปัญหาหรือ คาถามในด้านน้ัน ๆ

กจิ กรรมเสนอแนะ ให้นักศึกษาช่วยกนั ยกตวั อย่างของข้อดี และข้อเสียของการใช้โปรแกรม สาเร็จรูปในการตรวจสอบภายใน กรณที ยี่ กตัวอย่างเกยี่ วกบั ข้อเสียให้บอก ข้อเสนอแนะด้วย

ใบงาน 10 การใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นเครื่องมือในการตรวจสอบภายใน กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-7 คน 2. ค้นคว้าเก่ียวกบั โปรแกรมสาเร็จรูปที่ใช้ในการตรวจสอบภายใน 3. นาเสนอผลงานที่ได้จากการค้นคว้า 4. ให้นักศึกษากลุ่มอื่น ๆ ประเมินผลตามแบบประเมิน

คาถามท้ายหน่วยที่ 10 ตอนที่ 1 จงเติมคาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ข้นั ตอนแรกของการนา GAS มาใช้ในการตรวจสอบคืออะไร ตอบ การกาหนดวตั ถุประสงค์ในการตรวจสอบภายใน 2. การตรวจสอบความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูลทาเพื่อวตั ถุประสงค์ใด ตอบ เพื่อให้มคี วามม่นั ใจว่าข้อมูลที่ได้สามารถนามาทดสอบได้ 3. การใช้คาส่ังต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ใน GAS เช่น ให้เรียงลาดับเจ้าหนีท้ ่ีมียอดสูงสุด 100 ราย เป็ นต้น เป็ นข้นั ตอนการตรวจสอบข้นั ตอนใด ตอบ การเร่ิมทาการทดสอบ

4. การเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของ GAS หมายถงึ อะไร ตอบ การเข้าถึงข้อมูลที่ถูกเกบ็ อยู่ในรูปของรหัสชนิดต่าง ๆ ได้ เช่นข้อมูลท่ีเกบ็ ในรูป ของรหัสฐานสอง เป็ นต้น 5. การดงึ แฟ้มลูกหนีก้ ารค้าจากแฟ้มข้อมูลเดิม แล้วดึงแฟ้มรายการปรับปรุงเข้ามา จัดสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่เป็ นข้นั ตอนใดของ GAS ตอบ การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ และปรับให้เป็ นปัจจุบัน 6. การจัดเรียงข้อมูลใหม่ GAS หมายถึงอะไร ตอบ การจัดเรียงข้อมูลใหม่จากมากไปหาน้อย หรือจากน้อยไปหามากได้ หรือจัดเรียง เป็ นช่วง ๆ ก็ได้ 7. หลงั จากประสานงานข้อมูลเสร็จแล้วข้ันตอนต่อไปของ GAS คืออะไร ตอบ นาข้อมูลเข้าสู่คอมพวิ เตอร์ของผู้ตรวจสอบภายใน

8. การวเิ คราะห์ลูกหนีเ้ ป็ นความสามารถของ GAS ด้านใด ตอบ การแบ่งข้อมูลเป็ นลาดบั ข้นั และการวเิ คราะห์ความถ่ี 9. โปรแกรมใดท่ีสามารถใช้ในการโอนย้ายข้อมูล การรวบรวมข้อมูล ตอบ การใช้ภาษาระดับสูง 10. โปรแกรมตรวจสอบชนิดใดใช้กับการประมวลผลแบบกลุ่ม ตอบ Test Data

ตอนท่ี 2 จงทาเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อท่ีถูกต้อง 1. ความสามารถของ GAS ข้อใด ไม่ ถูกต้อง √ก. ไม่สามารถสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ได้ ข. ประมวลผลข้อมูลแบบไม่ซ้าซ้อน ค. หาเอกสารสาคญั ทีข่ าดหายไปได้ ง. สุ่มหารายการทม่ี มี ลู ค่าตามท่ีกาหนดได้ 2. ข้อใด ไม่ ถูกต้อง ก. GAS มขี ้อจากดั คือสามารถตรวจสอบได้เฉพาะทเี่ กดิ รายการแล้วเท่าน้ัน √ข. GAS ตรวจสอบตรรกศาสตร์ (Logic) ท่สี ลบั ซับซ้อนได้ ค. GAS มขี ้อจากดั คือ ไม่สามารถบอกแนวโน้มท่รี ะบบอาจมขี ้อผดิ พลาดได้ ง. GAS มขี ้อจากดั คือ ข้อมูลทไี่ ด้มาจะต้องมคี วามครบถ้วนและสมบูรณ์

3. ข้อใด ไม่ใช่ Test Data ก. ทดสอบโปรแกรมระบบงานของลกู ค้าบนเครื่องคอมพวิ เตอร์ของผ้ตู รวจสอบ ภายใน ข. สร้างข้อมูลทดสอบลงบนกระดาษทาการของผ้ตู รวจสอบภายใน √ค. สร้างข้อมลู ทดสอบในระบบงานของลกู ค้า ง. สร้างข้อมลู ทดสอบท้ังถูกและผดิ 4. GAS ไม่สามารถทาอะไรได้ ก. การตรวจสอบการบนั ทึกข้อมูลซ้า ข. การรวมยอดรายการ ค. การเลือกสุ่มรายการท่ีผดิ ปกติ √ง. การตรวจสอบแนวโน้มของความผดิ พลาด

5. เกยี่ วกบั โปรแกรม ITF ข้อใด ไม่ ถูกต้อง √ก. ไม่ทาให้มน่ั ใจว่าโปรแกรมทีท่ ดสอบเป็ นโปรแกรมที่ลูกค้าใช้จริง ข. ทาให้มนั่ ใจว่าโปรแกรมท่ีทดสอบเป็ นโปรแกรมท่ลี ูกค้าใช้จริง ค. ข้อมลู จาลองควรใช้รหัสพเิ ศษ เพ่ือเป็ นการง่ายต่อการลบ ง. ข้อมูลจาลองสามารถประมวลผลร่วมกบั ข้อมลู จริงได้ 6. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์จากการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการตรวจสอบ ก. การทดสอบความถูกต้อง สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว √ข. สามารถวเิ คราะห์ความผดิ พลาดที่อาจเกดิ ขนึ้ ในอนาคตได้ ค. การค้นหาข้อมูลทาได้อย่างรวดเร็ว ง. สามารถคานวณทางสถิตไิ ด้

7. ระบบ ITF ทถ่ี ูกต้องคือ √ก. มกี ารทดสอบข้อมูลทดสอบในเคร่ืองของลูกค้า ข. มกี ารทดสอบข้อมูลทดสอบในเครื่องของผ้ตู รวจสอบภายใน ค. มกี ารทดสอบข้อมลู ทดสอบในเครื่องของโปรแกรมเมอร์ ง. มกี ารทดสอบข้อมูลทดสอบในเครื่องของผ้พู ฒั นาระบบงาน 8. โปรแกรมที่นามาเพื่อใช้ในการตรวจสอบ เช่น การดงึ ข้อมูล การเรียงรหัสข้อมลู การเขา้ ถงึ ข้อมลู ได้แก่ ก. โปรแกรมประยกุ ต์ √ข. โปรแกรมอรรถประโยชน์ ค. ระบบผ้เู ชี่ยวชาญ ง. ข้อมลู ทดสอบ

9. โปรแกรมการตรวจสอบทใ่ี ช้ในการตรวจสอบความถูกต้องในการปฏบิ ตั งิ าน คือข้อใด ก. Test Data ข. GAS √ค. ITF ง. ถูกทุกข้อ 10. GAS ไม่สามารถทางานได้ในเรื่องใด ก. ยืนยนั ลกู หนี้ √ข. ตดิ ตามการประมวลผล ค. จัดเรียงข้อมูลใหม่ ง. การเลือกรายการ

ตอนที่ 3 จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ได้ใจความที่สมบูรณ์ 1. ข้อจากัดของ GAS ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ 1) ใช้ GAS ตรวจสอบได้เฉพาะหลังจากท่ีเกดิ รายการแล้วเท่าน้ัน 2) ใช้ GAS ตรวจสอบเฉพาะตรรกศาสตร์ (Logic) ท่ีไม่สลับซับซ้อน มากนัก 3) GAS ไม่สามารถบอกแนวโน้มท่ีระบบอาจมขี ้อผิดพลาดได้ 4) GAS จาเป็ นต้องใช้ข้อมูลจากระบบภายใต้ข้อสมมติฐานว่าข้อมูลท่ี ได้มามคี วามครบถ้วนและสมบูรณ์

2. จงอธิบายการทางานของ ITF ตอบ เป็ นเทคนิคที่ผู้ตรวจสอบภายในจะต้องสร้างแบบจาลองขึน้ มาแล้วนาไป ประมวลผลร่วมกับข้อมูลจริงของระบบงานที่ใช้อยู่ หลังจากการประมวลผลแล้วจะนา ผลลัพธ์ท่ีได้มาวเิ คราะห์วตั ถุประสงค์ของการใช้ ITF คือการตรวจสอบการควบคุม ภายในท้ังด้านการนาเข้าข้อมูล การประมวลผล และการรายงานผลลัพธ์ ข้อมูลจาลองที่ ใช้นีค้ วรมกี ารใช้รหัสพเิ ศษ เพื่อเป็ นการง่ายต่อการลบข้อมูลจาลองออกหลังจากเสร็จสิ้น การทดสอบ

3. ประโยชน์ของ GAS มอี ะไรบ้าง ตอบ 1) ช่วยประหยัดเวลาท่ีใช้ในการเขยี นโปรแกรมเพ่ือการตรวจสอบระบบ 2) ในกรณีที่มกี ารเปลยี่ นแปลงวตั ถุประสงค์ในการตรวจสอบภายใน กส็ ามารถทาได้อย่างรวดเร็ว 3) ผู้ตรวจสอบภายในบางคนไม่ค่อยมคี วามชานาญในเรื่องการเขยี น โปรแกรมกส็ ามารถใช้ GAS ได้

4. ข้นั ตอนในการทางานของ Test Data มอี ะไรบ้าง ตอบ 1. สอบทานเอกสารประกอบระบบ เพ่ือดูว่ามีจุดควบคุมอะไรบ้าง 2. สร้างข้อมูลทดสอบท้ังถูกและผิดหรือรายการจาลองขึน้ มา เพื่อใช้ใน การทดสอบ 3. บันทึกรายการเหล่าน้ันลงในกระดาษทาการ พร้อมท้ังคานวณผลการ ประมวลผลท่ีคาดว่าจะได้รับด้วยมือลงในกระดาษทาการ 4. ทาการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของผู้ตรวจสอบ ภายในคานวณ 5. นาผลที่ได้จากข้อ 3) และข้อ 4) มาเปรียบเทียบเพื่อหาข้อสรุปท่ีได้ จากการทดสอบ

5. หน้าที่งานตรวจสอบที่ GAS ทาได้มอี ะไรบ้าง ตอบ 1) การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล 2) การตรวจสอบคุณภาพของระบบประมวลผล 3) การตรวจสอบความมีอยู่จริงของสินทรัพย์ 4) การวเิ คราะห์ THE END