หน่วยที่ 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนินธุรกิจ เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึงการดารงและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับ บุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและการบริหารประเทศให้ดาเนินไปบน ทางสายกลาง คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและนามาปฏิบัติ มดี ังนี้ 1. การรักษาความซื่อสัตย์ 2. การรู้จกั ข่มใจตนเอง 3. ความอดทนอดกล้นั 4. รู้จักละวางความช่ัว
หน่วยที่ 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ หลกั เกณฑ์ในการประกอบธุรกจิ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง มดี งั นี้ 1. การบริหารความเสี่ยงทางการตลาดที่ชัดเจน 2. ไม่ให้ความสาคญั กับการสร้างกาไรสูงสุด 3. การดาเนินธุรกจิ ท่ีตนเองมีความรู้จริง 4. มีเหตุผลในการขยายตลาด 5. มคี วามซ่ือสัตย์สุจริตในการประกอบการ 6. การให้บริการลูกค้าอย่างจริงใจและโปร่งใส 7. ไม่มีความโลภมากเกินไป ธุรกิจพอเพียง หมายถึง การดาเนินธุรกิจที่คานึงถึงความมั่นคงและย่ังยืนมากกว่าการแสวงหา ผลประโยชน์ในระยะส้ัน
หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคธุรกิจ การบริหารจดั การด้วยความพอเพยี งน้ัน จะต้องเร่ิมท่ีเป้าหมาย ได้แก่ 1. ความสามารถในการบริหารงาน 2. ต้องแสวงหาความรู้กบั สร้างความเข้มแขง็ หรือเพมิ่ ความขยนั ขันแข็งในการทางาน 3. การมีเป้าหมายด้านคุณภาพชีวติ แนวทางการนาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการดาเนินชีวติ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวทางในการดาเนินชีวิตของคนต้ังแต่ระดับบุคคลจนถึงระดับสังคมและ ประเทศชาติ เพื่อให้สามารถบริหารจัดการกับการดาเนินชีวิตได้อย่างสมดุล โดยสามารถนาแนวทางการ เศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการจัดการกบั ชีวติ ได้ดงั นี้
หน่วยท่ี 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ 1. รู้จกั ใช้เงนิ ให้เหมาะสม 2. รู้จักเลือกให้เหมาะสม 3. รู้จกั การบริโภคท่ีเหมาะสม 4. หลกี เลี่ยงอบายมุข การทาบัญชีครัวเรือน การทาบัญชีครัวเรือน คือ การจดบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับเง่ือนไขปัจจัยในการดารงชีวติ ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ ข้อมูลท่ีได้จากการบันทึกจะเป็ นตัวบ่งชี้อดตี ปัจจุบัน ในอนาคตของชีวติ รูปแบบการบันทึกการปฏิบัติงานและการทาบัญชีรายรับรายจ่าย 1. การบันทึกเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและวสั ดุอุปกรณ์ 2. การบันทึกการปฏิบัติงาน 3. การบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย
หน่วยท่ี 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ การนาหลักการบัญชีมาประยุกต์ใช้กบั เศรษฐกิจพอเพยี ง การจดั ทาบัญชีครัวเรือน มขี ้นั ตอนดังนี้ 1. แยกรายได้และค่าใช้จ่ายแต่ละประเภท โดยใช้สมุดบัญชีบันทึกหรือจดั รายการท่ีเกิดขนึ้ 2. กาหนดรหัสประเภทของรายได้และค่าใช้จ่าย 3. นาเงินสด/เงินลงทุน เป็ นตัวต้ังแล้วบวมด้วยรายได้และหักค่าใช้จ่ายและแสดงยอดคงหรือเปล่า 4.นารายการที่เป็ นบัญชีประเภทเดียวกัน รวมยอดเข้าด้วยกัน แล้วแยกสรุปไว้ต่างหาก ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ไทย ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ไทย คือ ความรู้ความชานาญ วิธีการหรือเทคโนโลยีท่ีมีการสืบทอดกันมาต้ังแต่อดีตสู่ ปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผ้ปู ระกอบการ 1. ภูมปิ ัญญาประเภทองค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น 2. ภูมปิ ัญญาประเภทงานศิลปวฒั นธรรมพืน้ บ้าน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาเป็ นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและความดีงามท่ีจรรโลงชีวติ และวถิ ีชุมชนให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติ และสภาวะแวดล้อมได้อย่างกลมกลืนและสมดุล ภูมปิ ัญญาเป็ นพืน้ ฐานการประกอบอาชีพและเป็ นรากฐานการพฒั นาที่เริ่มจากการพัฒนาเพื่อการพ่งึ พา ตนเอง
หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผ้ปู ระกอบการ การอนุรักษ์ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ 1. การค้นคว้าวจิ ัย 2. การอนุรักษ์ 3. การฟื้ นฟู 4.การพฒั นา 5. การถ่ายทอด 6. การส่งเสริมกจิ กรรม 7. การเผยแพร่แลกเปล่ียน 8. การเสริมสร้างปราชญ์ท้องถน่ิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: