โครงร่างงานวิจยั เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 โดยใช้ รูปแบบการสอน เทคนคิ คู่คดิ (Think Pair Share) นางสาวกานดา วฒุ ิเศลา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
งานวิจยั ในช้ันเรยี น เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 โดยใช้รูปแบบการสอน เทคนคิ คู่คิด (Think Pair Share) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พุทธศักราช 2545 หมวด 4 มาตรา 22 ระบุว่าการจดั การศกึ ษาต้องยึดหลกั ว่าผู้เรยี นทุกคนมคี วามสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้และถือ ว่าผู้เรียนมีความสำคญั ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ ในมาตรา 23 ระบวุ า่ การจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ต้อง เน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ การศึกษาดังนี้ ข้อ 2 ความร้แู ละทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมท้ังความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ เรื่อง การจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน และมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ ข้อ 2 ฝึก ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหา ข้อ 5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความ สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียน การสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ (สำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา, 2547 : 12-14) การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสบื เสาะหาความรู้ และการแกป้ ัญหาท่หี ลากหลาย ให้ผูเ้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กำหนดสาระสำคัญ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) นีไ้ ดก้ ำหนดสาระการเรยี นรูอ้ อกเป็น 8 สาระ ไดแ้ ก่ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ สาระที่ 4 ชีววิทยา สาระที่ 5 เคมี สาระที่ 6 ฟิสิกส์ สาระที่ 7 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ และสาระที่ 8 เทคโนโลยี เนื้อหาวิชาเคมีอยู่ในสาระที่ 5 มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของ ธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิ เมอร์ รวมท้งั การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 5.2 เข้าใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ ในปฏกิ ริ ิยาเคมี อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมสี มดลุ ในปฏิกิริยาเคมสี มบตั ิและปฏิกิริยาของกรด–เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์ และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมท้งั การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 5.3 เขา้ ใจหลกั การทำปฏิบัติการเคมี การวัด ปรมิ าณสารหน่วยวดั และการเปลี่ยนหน่วยการคำนวณปรมิ าณของสาร ความเขม้ ข้นของสารละลาย รวมท้ังการบูร ณาการความรู้และทักษะ ในการอธิบาย ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหาทางเคมี และได้กำหนด คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แล้ว ในเนื้อหาเคมีนักเรียนจะต้องมีคุณภาพดังน้ี เข้าใจชนิดของ อนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าคและสมบัติต่าง ๆ ของสารที่มคี วามสมั พันธ์กับแรงยึดเหน่ยี ว พันธะเคมี
โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และการเขียน สมการเคมี (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551 ปรับปรุง 2560 :10) วทิ ยาศาสตรม์ ีบทบาทสำคัญยิ่งในสงั คมโลกปจั จบุ นั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกยี่ วข้องกับทุกคนท้ัง ในชีวิตประจำวันและการงานอาชพี ต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้และผลผลติ ต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้ เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงานเหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิด สร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญ ในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสนิ ใจโดยใชข้ ้อมลู ทีห่ ลากหลายและมปี ระจักษ์พยานท่ตี รวจสอบได้ วทิ ยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลก สมยั ใหม่ซง่ึ เป็นสังคมแห่งการเรยี นรู้ ดังนนั้ ทกุ คนจงึ จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาใหร้ วู้ ิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ปรบั ปรงุ 2560 ) วิชาเคมีเปน็ วิชาวทิ ยาศาสตร์สาขาหน่ึงที่ได้เนน้ ให้นักเรียนได้ทำการทดลองเป็นสำคัญเพื่อใหผ้ ู้เรียนได้สืบ เสาะหาความรู้ด้วยตนเองเกิดความเข้าใจหลักการทางเคมี รวมทั้งมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี ผสมผสานการทดลองและการอภิปรายเพื่อนำไปสู่การสรุปแนวคิดที่สำคัญ พร้อมทั้งจัดกิจกรรมให้เนื้อหาที่มี ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของความรู้ได้ แก๊สและสมบัติของแก๊ส เป็น เนื้อหาส่วนหนึ่งของวิชาเคมี ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และ จำนวนโมลของแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ และความดันย่อย ทฤษฎีจลน์และการแพร่สของแก๊ส การประยุกต์ใช้ความรู้ เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ต้องอาศัยความเข้าใจและจินตนาการของผู้เรียนในเรื่องที่ไม่ สามารถมองเหน็ จริงได้ ครูผสู้ อนยังไม่สามารถจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีทำใหน้ ักเรียนเชอ่ื มโยงความรู้ท่ีได้รับ กบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ดังจะเห็นได้จากผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของวิชา วิทยาศาสตร์ พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยภาพรวมยังต่ำ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนการ สอนวิทยาศาสตร์ของครูที่ผ่านมายงั ไมบ่ รรลจุ ดุ ประสงค์ที่ต้ังไว้ จึงจำเป็นต้องมกี ารพฒั นาวธิ กี ารสอนให้หลากหลาย เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการสอน ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นควา้ หาวิธีการแก้ปัญหาดงั กลา่ วพบว่า การใช้รูปแบบการสอน เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) น่าจะเป็นกระบวนการเรยี นรู้ที่จะแก้ปญั หาดังกลา่ วได้ จนทำให้ผูเ้ รียนเกดิ ความเข้าใจ ในการจัดการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์นั้น ผู้สอนควรจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ให้ผู้เรียนสามารถค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง ผูเ้ รียนต้องใช้กระบวนการทางปัญญาสร้างความรโู้ ดยทำความเข้าใจความหมายของวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ท่ใี ช้เป็นกระบวนการสรา้ งความร้คู น้ หาความรู้ นอกจากนี้จากการศึกษาโดยใช้รูปแบบการสอน เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ช่วยให้นักเรียนได้รับ ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจพร้อมที่จะสอน และช่วยให้นักเรียนกับผู้สอนมีโอกาส ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งเปิดโอกาสให้ นักเรยี นมอี สิ ระในการเรียนตามความสามารถและความสนใจ โดยมีครูคอยแนะนำช่วยเหลือ ทำให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ และทำให้เกดิ การเรียนรู้ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอน เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) จะเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด ได้ลงมือทำด้วยตนเอง มีการสร้างสรรค์ในการวาง รูปแบบสรปุ เน้อื หาสาระการเรยี นรู้ด้วยการทำงานเปน็ คู่ ทั้งน้ผี วู้ จิ ัยจงึ เชอื่ ว่า รปู แบบการสอน เทคนิคคคู่ ิด (Think Pair Share) จะสามารถสรา้ งความสนใจและชว่ ยพัฒนา การจัดการเรยี นการสอนให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้ได้ด้วย ตนเองโดยนำมาใช้ในการแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาเคมี เพื่อให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรยี นให้สูงข้ึน วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส ระหว่างก่อนกับหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการสอน เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 2. เพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนท่มี ตี ่อการใช้รปู แบบการสอน เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) เรอ่ื ง แก๊สและสมบตั ขิ องแก๊ส ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ขอบเขตของการวิจยั การวิจยั ครง้ั น้ี ผวู้ จิ ัยกำหนดขอบเขตวิจัยไว้ ดังน้ี 1. เน้ือหาทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เนื้อหาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาเคมี 3 รหัส ว32202 เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจ โครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของ แก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยนำมาจาก หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมวิชาเคมี 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เน้ือหาที่นำมาจดั ทำแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน โดยนำเน้ือหาจากเรื่องท่ีเรียน คือ แก๊สและสมบัติของแก๊ส มาสร้างเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จำนวน 20 ข้อ เป็นคำถามแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยวัด พฤติกรรมตามหลักของคลอฟเฟอร์ ซึ่ง มุ่งเน้นการวัดพฤติกรรม 3 ด้าน คือ ความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำความรู้และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ โดยเนือ้ หาแบง่ เป็นหวั ข้อดังน้ี 1.1 ความสมั พันธร์ ะหว่างปริมาตร ความดัน อณุ หภูมิ และจำนวนโมลของแกส๊ 1.2 กฎแกส๊ อดุ มคติ และความดันยอ่ ย 1.3 ทฤษฎจี ลนแ์ ละการแพร่สของแกส๊ 1.4 การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ กี่ยวกับแก๊สและสมบตั ิของแกส๊
2. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 2.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอ แมแ่ จ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ จำนวน 5 ห้องเรียน รวมจำนวนนักเรียน 146 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวนจำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 28 ซึง่ ไดม้ าจากการเลอื กแบบเจาะจง 3. ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย 3.1 ตวั แปรตน้ คอื รปู แบบการสอน เทคนคิ คู่คดิ (Think Pair Share) 3.2 ตัวแปรตาม 1. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าเคมี เรอ่ื ง แกส๊ ละสมบตั ขิ องแกส๊ 2. ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มีตอ่ วธิ ีการสอนโดยใช้รปู แบบการสอน เทคนคิ คู่คดิ (Think Pair Share) สมมตฐิ านการวิจยั 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง แก๊สและสมบตั ิของแก๊ส หลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี น โดยใช้รูปแบบการ สอน เทคนคิ คู่คิด (Think Pair Share) ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 2. ความพงึ พอใจของนักเรียนที่มตี ่อวธิ กี ารสอนโดยใช้รปู แบบการสอน เทคนคิ คคู่ ดิ (Think Pair Share) ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อยู่ในระดบั มากขึน้ ไป นยิ ามศพั ท์เฉพาะ รปู แบบการสอน เทคนิคคคู่ ดิ (Think Pair Share) ความหมาย เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดเป็นเทคนิคที่ผู้สอน ใช้คู่กับวิธีการสอนแบบอื่นเรียนว่าเทคนิคคู่คิด เป็นเทคนิคที่ผู้สอนตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาใหแ้ ก่ผูเ้ รียน ซึ่งอาจเป็นใบงาน กิจกรรม หรือแบบฝึกหัด และให้ ผู้เรียนแต่ละคนคิดหาคำตอบของตนเองก่อน แล้วจับคู่กับเพื่อนอภิปรายคำตอบร่วมกัน เมื่อมั่นใจว่าคำตอบของ คนถกู ตอ้ งแล้วจึงนำคำตอบไปอธบิ ายให้เพื่อนทั้งช้นั ฟงั องคป์ ระกอบ รปู แบบการสอน เทคนคิ ค่คู ิด (Think Pair Share) มีดงั น้ี 1. ขั้นคิด (Think) คือ การที่ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดโดยการ ตั้งคำถาม กำหนดหัวข้อให้คิด หรือ ให้ สงั เกต ผ้เู รยี นใชเ้ วลาในการคิดเกยี่ วกับคำถามหรอื หัวขอ้ นน้ั ๆ ประมาณไมเ่ กนิ 2-3 นาที 2. ขัน้ จบั คู่ ( Pair ) คอื ให้ผู้เรียนจับค่กู ัน (ใช้ Clock Buddies หรอื วิธีอื่นกไ็ ด้) เมื่อผเู้ รยี นจับคู่กันแล้วให้ คุยกันเกี่ยวกับคำตอบที่แต่ละคนคิดได้ และให้เปรียบเทียบคำตอบของแต่ละคนที่ได้คิดหรือเขียนมาแล้ว ให้ วเิ คราะห์คำตอบเหล่านัน้ ว่าคำตอบใดเปน็ คำตอบท่ีผู้เรยี นคิดวา่ ดที ่สี ดุ เขา้ ใจได้ง่ายทสี่ ดุ หรอื โดดเด่นทีส่ ดุ
3. ขั้นแบ่งปัน (Share ) คือ ขั้นตอนหลังจากให้ผู้เรียนจับคู่คุยกันแล้ว (ไม่ควรให้เวลานาน) ผู้สอนเรียกผู้เรียนแต่ ละคู่ให้แบ่งปันความคิดของผู้เรียนกับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน โดยการให้ผู้เรียนหมุนเวียนแต่ละคู่ไปรอบๆ หรือเรียก ผู้เรียนแต่ละคู่ออกมา หรืออาจจะถามผู้เรียนแต่ละคู่โดยตรง แล้วผู้สอนหรือผู้ช่วยเขียนคำตอบของคู่ที่ถูกถามลง กระดาน เหตผุ ลทใ่ี ช้วิธแี บ่งปนั ความคดิ ผูส้ อนตอ้ งการให้ผู้เรียนสามารถพูดถึงเรื่องทีก่ ำลังเรียนอยู่ได้อย่างเข้าใจ แตผ่ ู้สอนไม่ต้องการให้ผู้เรียนคิด อย่างอิสรเสรีโดยไม่มีข้อจำกัด วิธีแบ่งปันความคิดจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้วัตถุประสงค์นี้บรรลุได้ เพราะ วิธี แบง่ ปนั ความคิดจะปดิ ข้อจำกัดน้ัน ผู้เรียนจะต้องทำตามขบวนการทีจ่ ะจำกัดการคดิ และพฤตกิ รรมทีน่ อกเหนือจาก สงิ่ ทส่ี ่งั โดยผ้เู รยี นตอ้ งแบ่งปันความคิดกับคู่หูกอ่ น แล้วยงั ตอ้ งแบ่งปนั กบั เพื่อนร่วมห้องอีกรอบและดว้ ยเหตุผลของ กระบวนการแรก (คิด) เมื่อผู้เรียนได้คำถาม ผู้เรียนแต่ละคนจะต้องคิดอย่างเงียบๆ ซึ่งข้อนี้จะทำให้ ผู้เรียนแต่ละ คนได้คิดจริงๆ เป็นช่วงเวลาที่ผู้เรียนจะเงียบและคิด ผู้สอนสามารถตัดปัญหาผู้เรียนที่ชอบตะโกนตอบเมื่อผู้สอน ถามเสร็จ และจะทำให้ผู้เรียนคนอ่ืนไม่ได้คิดก็จะไม่สามารถทำได้ เนื่องจากผู้สอนได้ตัง้ คำถามขึ้นมาและให้ผู้เรยี น ทกุ คนคดิ คำตอบ ซงึ่ จะแตกต่างจากทผ่ี ้สู อนได้ต้ังคำถามขึ้นมาแลว้ เรียกให้ผู้เรยี นแตล่ ะคนตอบ โอกาสท่ีผู้เรียนทุก คนจะได้ตอบมีน้อยกว่า และเป็นไปได้วา่ อาจมีบางคนไม่ได้ตอบเลย ผลก็คือผู้เรยี นผู้นี้อาจไม่ไดค้ ิดเลย ผู้เรียนที่ไม่ ค่อยจะตอบคำถามก็จะไม่คิดตาม แต่ในวิธีนี้ ผู้เรียนจะต้องคดิ เพราะจะตอ้ งไปแบ่งปันคำตอบหรือความคิดกับคู่หู ในขณะทผ่ี ูเ้ รียนคิดกันเปน็ คู่ ๆ ผเู้ รียนแต่ละคูจ่ ะตอ้ งบอกความคิดของผเู้ รียนออกไปให้คู่หูทราบ ผ้เู รยี นที่ไม่เคยพูด เลยในหอ้ งเรียนก็จะมโี อกาสได้พูด เหตุผลทผ่ี ้เู รียนไม่พูดอาจเปน็ เพราะเขาคดิ วา่ คำตอบของเขาผดิ หรือไมด่ ี ซึ่งเม่ือ ผเู้ รียนได้พดู ออกไปแล้วก็จะทราบว่าผูเ้ รียนคดิ ไปเองทั้งตอนที่พดู หน้าชัน้ และตอนที่พูดกับคู่หู และเมื่อผู้เรียนต้อง บอกคำตอบหน้าห้อง ผเู้ รยี นก็ ต้องอธิบายอยา่ งประณีตอยา่ งเปน็ ระเบียบ ส่ิงนี้ก็จะชว่ ยในการฝึกฝนการพดู ให้ผู้อื่น ฟังดว้ ย ประโยชนข์ องรูปแบบการสอน เทคนิคค่คู ิด (Think Pair Share) 1. ช่วยใหน้ กั เรยี นคดิ เปน็ รายบุคคลเกย่ี วกบั ประเดน็ ท่ถี ามหรอื คำตอบ 2. ช่วยใหน้ ักเรยี นแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นกับเพ่ือนรว่ มหอ้ งและฝึกทักษะส่ือสารการพดู 3. ชว่ ยเนน้ ความสนใจและการมสี ว่ นรว่ มให้เขา้ ใจในเรอื่ งท่ีเรยี น 4. สามารถนำไปใช้เพ่ือเปน็ การตรวจสอบความรู้เดมิ หรือความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองทเ่ี รียน 5. สามารถนำไปใช้กับนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล ใชก้ ับนกั เรียนกลุม่ ย่อยหรอื ใชก้ บั นกั เรียนท้งั ห้องเรียนกไ็ ด้ 6. สามารถนำไปใช้สอนกับทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ประโยชนข์ องการวิจัย 1. เป็นแนวทางสำหรับการจัดการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบการสอน เทคนคิ คู่คิด (Think Pair Share) วชิ าเคมีในระดบั ชั้นอืน่ ๆ และเร่อื งอนื่ ๆ ต่อไป 2. นักเรียนไดม้ ีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนการสอนมากยง่ิ ขึน้ ทำให้มคี วามสนใจและกระตือรอื รน้ 3. สามารถปรับการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของนกั เรยี นแตล่ ะคนได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: