Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษา Python (2)

ภาษา Python (2)

Published by seechaiwat.456, 2020-01-10 02:42:10

Description: ภาษา Python (2)

Search

Read the Text Version

ภาษา Python

คาํ นํา รายงานเล่มน้ีจดั ทาํ ข้ึนเพือ่ เป็นส่วนหน่ึงของวชิ า หลกั การเขียนโปรแกรม ช้นั ปวช1/2 เพ่อื ใหไ้ ดศ้ ึกษา หาความรู้ในเรืิ่อง การเขียนโปรแกรมไพธอนเบ้ืองตน้ และไดศ้ ึกษาเขา้ ใจเพ่ือประโยชนก์ บั การเรียน ผจู้ ดั ทาํ หวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ ่าน หรือนกั เรียนนกั ศึกษา ที่กาํ ลงั หาขอ้ มลู เร่ืองน้ี อยู่ หากมีขอ้ แนะนาํ หรือขอ้ ผดิ พลาดประการใต ผจู้ ดั ทาํ ขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย

สารบัญ 1 2 ภาษา Python คืออะไร 3 ไวยากรณข องภาษา Python 4 ประวตั ขิ องภาษา Python 5 คําสงวน Python การใชง านตัวแปรในไพธอน 11 12 เขยี นโปรแกรมครงั้ แรกกบั ไพธอน 13 ชนิดขอมูลพ้นื ฐาน ตัวแปรภาษา Python 15 การตง้ั ชื่อตวั แปร Python 16 14 17 การแสดงผลลัพธท างจอภาพ การรบั อนิ พตุ ทางคยี บอรด สรปุ

ภาษา Python คอื อะไร ภาษาโปรแกรม Python คอื ภาษาโปรแกรมคอมพวิ เตอรระดับสูง โดยถกู ออกแบบมาใหเปน ภาษา สครปิ ตที่อานงาย โดยตดั ความซับซอ นของโครงสรา งและไวยกรณของภาษาออกไป ในสว นของ การแปลงชุดคําส่งั ทเี่ ราเขยี นใหเ ปน ภาษาเคร่อื ง Python มีการทํางานแบบ Interpreter คือ เปนการแปลชุดคาํ สงั่ ทีละบรรทัด เพื่อปอ นเขาสหู นว ยประมวลผลใหค อมพิวเตอรทาํ งานตามทเี่ รา ตองการ นอกจากนน้ั ภาษาโปรแกรม Python ยงั สามารถนําไปใชใ นการเขียนโปรแกรมได หลากหลายประเภท 1

ไวยากรณของภาษา Python ภาษา Python นั้นถกู พฒั นาขึน้ มาโดยมคี วามตง้ั ใจวาจะใหเปน ภาษาทอ่ี านงาย มนั ถูกออก แบบมาใหม โี ครงสรางท่มี องเห็นไดโดยไมซ บั ซอน โดยมักจะใชคําในภาษาอังกฤษในขณะท่ี ภาษาอนื่ ใชเ ครอ่ื งหมายวรรคตอน นอกจากน้ี Python มขี อ ยกเวน ของโครงสรางทางภาษา นอยกวาภาษา C และ Pascal 2

ประวัตขิ องภาษา Python ภาษา Python น้ันกําเนิดข้นึ ในปลายป 1980 และการพัฒนาของมนั น้นั เรม่ิ ตนใน December 1989 โดย Guido van Rossum ท่ี Centrum Wiskunde & Informatica (CWI) ในประเทศเนเธอรแลนด เนอ่ื งในผปู ระสลความสาํ เร็จในการสรางภาษา ABC ทม่ี ีความ สามารถสาํ หรับการ exception handling และการตดิ ตอ ผสานกบั ระบบปฏิบัติการ Amoeba ซง่ึ Van Rossum นั้นเปนผูเขยี นหลกั การ ของภาษา Python และเขาทาํ หนา เปน กลางในการตัดสนิ ใจสาํ หรบั ทิศทางการพัฒนาของภาษา Python 3

คําสงวน Python คาํ สงวน คือคาํ ท่ีถกู ภาษาไพธอนใชเพ่ือสรา งไวยากรณ ดงั นน้ั ผูเขยี นโปรแกรมหามนาํ ไปใช ในการสรา ง หรือประกาศเปน ตัวแปรโดยเดด็ ขาด เพราะจะทาํ ใหเกิดขอ ผดิ พลาด คือ SyntaxError: invalidsyntax) เชน ประกาศตัวแปร if = 5 เปน ตน สําหรับ คําสงวนใน ภาษาไพธอน ดังตอ ไปนี้คือ and, assert, break, class, continue, def, del, elif, else, except, exec, finally, for, from, global, if, import, in, is, lambda, not, or, pass, print, raise, return, try, while, yield 4

ตวั แปร ตวั แปร (variable) คือช่ือหรือเคร่ืองหมายท่ีกาํ หนดข้ึนสาํ หรับใชเ้ กบ็ ค่าในหน่วยความจาํ ตวั แปรจะมีช่ือ (identifier) สาํ หรับใช้ ในการอา้ งถึงขอ้ มูลของมนั ในการเขียนโปรแกรม ค่าของตวั แปรสามารถท่ีจะกาํ หนดไดใ้ น run-time หรือเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลาในขณะท่ีโปรแกรมทาํ งาน (executing)ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์น้นั ตวั แปรจะแตกต่างจากตวั แปรในทาง คณิตศาสตร์ ค่าของตวั แปรน้นั ไม่จาํ เป็นตอ้ งประกอบไปดว้ ยสูตรหรือสมการท่ีสมบูรณ์เหมือนกบั ในคณิตศาสตร์ ใน คอมพิวเตอร์ ตวั แปรน้นั อาจจะมีการทาํ งานซ้าํ ๆ เช่น การกาํ หนดค่าในท่ีหน่ึง และนาํ ไปใชอ้ ีกที่หน่ึงในโปรแกรม และนอกจาก น้ียงั สามารถกาํ หนดค่าใหม่ใหก้ บั ตวั แปรไดต้ ลอดเวลา ต่อไปเป็นตวั อยา่ งของการประกาศตวั แปรในภาษา Python 5

a=3 b = 4.92 c = \"marcuscode.com\" c = 10.5 ในตวั อยา่ ง เราไดท้ าํ การประกาศ 3 ตวั แปร ในการประกาศตวั แปรในภาษา Python คุณไม่จาํ เป็นตอ้ งระบุ ประเภทของตวั แปรในตอนท่ีประกาศเหมือนในภาษา C ในตวั แปร a มีค่าเป็น 3 และเป็นประเภทเป็น Integer ตวั แปร b มีค่าเป็น 4.92 และเป็นประเภทเป็น Float และตวั แปร c มีค่าเป็น \"marcuscode.com\" และเป็นประเภท String ภายหลงั เราไดเ้ ปล่ียนค่าของตวั แปร c เป็น 10.5 ตวั แปรกลายเป็นประเภท Float 6

a, b = 1, 2 x = y = z = 10 print(\"a = \" , a) print(\"b = \" , b) print(\"x = \" , x) print(\"y = \" , y) print(\"z = \" , z) ในภาษา Python น้นั สนบั สนุนการกาํ หนดค่าใหก้ บั ตวั แปรหลายค่าในคาํ สง่ั เดียว ในตวั อยา่ ง เป็นการ กาํ หนดค่า 1 และ 2 กบั ตวั แปร a และ b ตามลาํ ดบั และในคาํ สงั่ ต่อมาเป็นการกาํ หนดค่า 10 ใหก้ บั ตวั แปร x y และ z ซ่ึงทาํ ใหก้ ารเขียนโปรแกรมสะดวกและรวดเร็วมากข้ึน 7

a= 1 b= 2 x = 10 y = 10 z = 10 น่ีเป็นผลลพั ธ์การทาํ งานของโปรแกรม ต่อไปจะเป็นการพดู ถึงประเภทขอ้ มลู ชนิดต่างๆ ที่ภาษา Python สนบั สนุน ซ่ึงจะมีอยสู่ ามประเภทใหญ่ๆ คือ ขอ้ มูลแบบตวั เลข น้นั จะแบ่งยอ่ ยออกเป็น Integer และ Float ขอ้ มลู ประเภท String และขอ้ มลู แบบ ลาํ ดบั เช่น List และ Tuple ประเภทขอ้ มูลท้งั หมดน้ีเป็น Built-in type ในภาษา Python 8

Numbers ในภาษา Python น้นั สนบั สนุนขอ้ มลู แบบตวั เลข ซ่ึงขอ้ มลู ประเภทน้ีจะแบ่งออกเป็น Integer Float Decimal และ Complex อยา่ งไรกต็ ามเราจะเนน้ ย้าํ ใน Integer ซ่ึงเป็นการเกบ็ ขอ้ มลู แบบจาํ นวนเตม็ และ Float เป็นขอ้ มูลแบบจาํ นวนจริง สาํ หรับประเภทแบบ Decimal น้นั แตกต่างไปจาก Float คือสามารถ เกบ็ ความละเอียดของจุดทศนิยมไดม้ ากกวา่ นอกจากน้ี Python ยงั สนุนตวั เลขในรูปแบบ Complex ที่ แสดงในแบบ a +bj ต่อไปเป็นตวอยา่ งในการประกาศและใชง้ านตวั แปรแบบตวั เลขในภาษา Python 9

ในตวั อยา่ ง เป็นการประกาศและใชง้ านตวั แปรประเภท Integer เราไดท้ าํ การประกาศตวั แปรและ กาํ หนดค่าใหก้ บั a และ b ในการแสดงผลในรูปแบบของ String format กบั ฟังกช์ นั print() น้นั จะใช้ specifier เป็น %d เราสามารถกาํ หนดค่าใหก้ บั ตวั แปรไดโ้ ดย Literal หรือ Expression และการหาร ตวั เลขในภาษา Python น้นั จะไดค้ ่าเป็น Float เสมอ ถึงแมต้ วั เลขท้งั สองจะเป็น Integer กต็ าม เช่นใน ตวั แปร d 10

การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาไพธอนมีวธิ ีการเขียนได้ 2 วธิ ีไดแ้ ก่ การเขียนโปรแกรมผา่ นไพธอนเชลล์ หรือท่ีเรียกวา่ IDLE (Python GUI) เป็นการทาํ งานโตต้ อบกบั ผใู้ ชท้ นั ที กบั วธิ ีท่ีเรียกวา่ ดอสเชลล์ หรือคาํ สงั่ สคริปต์ ตอ้ งเขียนคาํ สง่ั ดว้ ยไพธอน อีดิเตอร์ ไดเ้ ป็น Source Code ของภาษาไพธอน หลงั จากน้นั ตอ้ งสงั่ ใหโ้ ปรแกรมบนั ทึกเป็นนามสกลุ แบบ .py วธิ ีที่ 1 IDLE (Python GUI) ในโหมดน้ีช่วยใหผ้ เู้ ขียนโปรแกรมทาํ งานโตต้ อบกบั ภาษาไพธอน ไดโ้ ดยตรงเมื่อเขียนคาํ สงั่ เสร็จ ในหน่ึงชุดคาํ สง่ั โปรแกรมจะเอก็ ซ์ซีคิวตท์ นั ที มีจุดเด่นท่ีสีของตวั อกั ษร และพร็อมพ์ โดยมีเคร่ืองหมาย >>> แทนการรอรับคาํ สง่ั ดงั ภาพ 11

ชนิดขอ มูลพนื้ ฐาน ● Number ขอ มูลทเ่ี ปนตัวเลขตัวเลข ซ่งึ จะแบงออกเปน Integer Float และ Complex ● Boolean เปนขอ มลู ท่ปี ระกอบไปดวย 2 คา คือ True และ False ● String เปน ขอ มลู ตวั อกั ขระหลายตัวท่ีเรียงตอ กันอยู และจะอยใู นเครอ่ื งหมาย double quote หรือ single quote ● List เปน ขอ มูลที่มีรูปแบบการเก็บขอ มูลเปนชุดท่เี รียงตอ กันขอมลู ทงั้ หมดจะอยูในเครอื่ งหมาย [] สามารถไดห ลายคาในตัวแปรเดียวกนั ไมวา จะเปนขอ มูลชนิดเดยี วกันหรอื ตา งกนั 12

ตวั แปรภาษา Python เปน การกาํ หนดชนิดขอ มูลของตวั แปร เพอ่ื นาํ ไปใชในการเขียนโปรแกรม โดยท่โี ปรแกรม ภาษาไพธอนไปจองพน้ื ท่ใี นหนว ยความจาํ เพอ่ื ใชเ ก็บขอ มลู ชนดิ ตาง ๆ แลวแตช นดิ ของ ตัวแปรทป่ี ระกาศเอาไว อาจเปน ชนดิ ตวั เลข ตวั อักขระ หรือสายอักขระ ขอมลู ประเภทเหลา นี้จะถกู นําไปอา งถึงเมือ่ เขยี นคําสง่ั ไปอางองิ ภาษาไพธอนมีการประกาศตวั แปรไมเ หมือน เหมือนภาษาซี หรือภาษาปาสกาล 13

การตงั้ ชื่อตัวแปร Python 1. ตองข้นึ ตนดว ยตวั อกั ษร หา มใชตวั เลขหรือสญั ลักษณใด ๆ 2. หามมีชองวาง หรอื เวนวรรค 3. หามใชเ คร่อื งหมายตอ ไปนใ้ี นการตงั้ ชื่อตัวแปร !,@, #, $, %, ^, &, *, (, ), -, =, \\, |, +, ~ 4. หา มตง้ั ชอ่ื ตวั แปรซา้ํ กบั คําสงวน 5. ควรตั้งช่ือตวั แปรท่ีสือ่ ความหมายใหชัดเจน เพอ่ื ผอู ืน่ ตีความหมายไดเขาใจ แตถ ามีความยาวมาก ใหยอ เชน student_name ควรใช st_name เปนตน 6. ตวั แปรทมี่ ีตัวพมิ พใ หญและตวั พิมพเ ล็กผสมกันจะมคี วามหมายตา งกับตวั พิมพเ ล็กเพียงอยา งเดียว เชน St_Id แตกตางจากตวั แปร st_id เปนตน 14

การแสดงผลออกทางหนา้ จอ การทาํ งานพ้ืนฐานที่สุดหรือเรียกไดว้ า่ เป็นส่วนหน่ึงในการทาํ งานของทุกโปรแกรมคือ การแสดงผล ขอ้ มูล ออกทางจอภาพ โดยในภาษา C น้นั การแสดงผลขอ้ มูลออกทางจอสามารถทาํ ไดด้ งั น้ี คาํ สงั่ printf คาํ สง่ั printf ถือไดว้ า่ เป็นคาํ สง่ั พ้นื ฐานที่สุดในการแสดงผลขอ้ มูลทุกชนิดออกทางหนา้ จอไม่วา่ จะเป็น จาํ นวนเตม็ int ทศนิยม float ขอ้ ความ string หรืออกั ขระ นอกจากน้ีคาํ สง่ั ยงั มีความยดื หยนุ่ สูง โดยเรา สามารถ กาํ หนดหรือจดั รูปแบบการแสดงผลใหม้ ีระเบียบหรือเหมาะสมตามความตอ้ งการไดอ้ ีกดว้ ย 15

การรับค่าจาก Keyboard ดว้ ยฟังกช์ นั input() นอกจากการแสดงผลแลว้ น้นั การติดต่อกบั ผใู้ ชใ้ นอีกรูปแบบหน่ึงคือการรับค่า โดยทว่ั ไปแลว้ มกั จะ เป็นการรับค่าทางคียบ์ อร์ด ในภาษา Python เราใชฟ้ ังกช์ นั input() สาํ หรับการรับค่า String จากทาง คียบ์ อร์ด มาดูตวั อยา่ งการรับค่าจากผใู้ ชใ้ นภาษา Python name = input(\"Enter your name: \") print(\"Hello \" + name) ในตวั อยา่ ง เป็นสาํ หรับการรับค่าช่ือจากคียบ์ อร์ดและแสดงขอ้ ความทกั ทายชื่อดงั กล่าว ฟังกช์ นั input() เราไดส้ ่งอาร์กิวเมนตเ์ ขา้ ไป ในฟังกช์ นั เพ่ือเป็นขอ้ ความบอกวธิ ีการใส่ค่ากบั ผใู้ ช้ ฟังกช์ นั จะส่งค่ากลบั เป็น String ที่ผใู้ ชก้ รอกเขา้ มาและจบการรับค่าดว้ ยการข้ึน บรรทดั ใหม่ โดยที่ \\n จะถูกตดั ออกไป 16

Python คือช่ือภาษาท่ีใชใ้ นการเขียนโปรแกรมภาษาหน่ึง ซ่ึงถูกพฒั นาข้ึนมาโดยไม่ยดึ ติดกบั แพลตฟอร์ม กล่าวคือสามารถรันภาษา Python ไดท้ ้งั บนระบบ Unix, Linux , Windows NT, Windows 2000, Windows XP หรือแมแ้ ต่ระบบ FreeBSD อีกอยา่ งหน่ึง ภาษาตวั น้ีเป็น OpenSource เหมือนอยา่ ง PHP ทาํ ใหท้ ุกคนสามารถที่จะนาํ Python มาพฒั นาโปรแกรมของเราไดฟ้ รีๆโดยไม่ตอ้ งเสียค่า ใชจ้ ่าย และความเป็น Open Source ทาํ ใหม้ ีคนเขา้ มาช่วยกนั พฒั นาให้ Python มีความสามารถสูงข้ึน และใชง้ านไดค้ รบคุมกบั ทุกลกั ษณะ งานไวยากรณ์ของภาษา Python ภาษา Python น้นั ถูกพฒั นาข้ึนมาโดยมีความต้งั ใจวา่ จะใหเ้ ป็นภาษาท่ีอ่านง่าย มนั ถูกออกแบบมาใหม้ ี โครงสร้างท่ีมองเห็นไดโ้ ดยไม่ซบั ซอ้ น โดยมกั จะใชค้ าํ ในภาษาองั กฤษในขณะท่ีภาษาอื่นใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน นอกจากน้ี Python มี ขอ้ ยกเวน้ ของโครงสร้างทางภาษานอ้ ยกวา่ ภาษา C และ Pascal Python Interpreter Python interpreter น้นั เป็นตวั แปรภาษาของภาษา Python 17

ประวตั สิ ว นตวั นาย ชัยวัฒน สงั ขเ ลก็ ชื่อเลน ซี อายุ 15 ขวบ

ธราธร กาขาว ชื่อเลน ยฟู า อายุ 15 ขวบ

นาย ธนพล เหมอื นสอาด ชื่อเลน กอง อายุ 16 ขวบ

นาย ปรัชญา โพธิ์ที ชื่อเลน บอล อายุ 17 ป

หลกั การเขยี นโปรแกรม(รหัสวิชา20204-2004) ครูวิลาวลั ย วัชโรทัย ตาํ แหนง :ครู วิทยฐานะครูชาํ นาญการ แผนกวิชา:คอมพวิ เตอรธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี E-mail: [email protected]

วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี (Pathumthani Technical College) แผนกคอมพิวเตอรธุรกิจ (Business Computer)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook