รายงาน เรือ่ งความฉลาดทางดจิ ิทัล(DQ: Digital Intelligence) เสนอ อาจารย์สุธิดา ปรชี านนท์ จัดทำโดย นางสาวกานตมิ า ฤทธเ์ิ ดช รหัสนักศึกษา 634143002 รายงานนี้เป็นสว่ นหนึ่งของวชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การสื่อสาร การศกึ ษา(PC62506) สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ปี 2 หมู่ 1 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้าน จอมบึง
ก คำนำ ความฉลาดทางดิจิทลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลุ่มของความสามารถ ทาง สงั คม อารมณ์ และการรับรู้ ที่จะทาใหค้ นคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความทา้ ทายบนเส้นทาง ของชีวิตใน ยุคดิจิทัล และสามารถปรับตัวให้เข้ากับชีวิตดิจิทัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัล ครอบคลุมท้งั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและค่านิยมท่ีจาเป็นต่อการใชช้ ีวิตในฐานะสมาชิกของโลก ออนไลน์ กล่าวอีกนยั หน่ึงคือ ทกั ษะ การใชส้ ื่อและการเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์ ดงั น้นั พลเมืองดิจิทลั จึงหมายถึง สมาชิกบนโลกออนไลน์ ท่ีใชเ้ ครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงมีความหลาก หลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม ดงั น้นั พลเมืองดิจิทลั ทุกคนจึงตอ้ ง มี ‘ความเป็ นพลเมือง ดิจิทลั ’ ท่ีมีความฉลาดทางดิจิทลั บนพ้ืนฐานของความรับผิดชอบ การมี จริยธรรม การมีส่วนร่วม ความเห็น อกเห็นใจและเคารพผูอ้ ่ืน โดยมุ่งเน้นความเป็ นธรรมใน สังคม ปฏิบตั ิและรักษาไวซ้ ่ึงกฎเกณฑ์ เพ่ือสร้าง ความสมดุลของการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข การเป็ นพลเมืองดิจิทลั น้นั มีทกั ษะสาคญั 8 ประการ ที่ควรบ่มเพาะให้เกิดข้ึนกบั พลเมืองดิจิทลั ทุกคนใน ศตวรรษท่ี 21
ข สารบัญ ก หนา้ ข คำนำ ๑ สารบญั ๒ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (DQ: Digital Intelligence) คอื อะไร ๓ ทำไมต้องเพิม่ ทกั ษะความฉลาดทางดจิ ิทลั ๔ ความเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ัล (Digital Citizenship) คืออะไร ๕ - ทักษะในการรกั ษาอัตลักษณท์ ่ดี ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) ๖ - ทักษะการคดิ วิเคราะหม์ ีวิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) - ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ ๗ ๘ (Cybersecurity Management) ๙ - ทักษะในการรักษาข้อมลู สว่ นตัว (Privacy Management) - ทักษะในการจัดสรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) ๑๐-๑๑ - ทกั ษะในการบริหารจัดการขอ้ มูลท่ีผใู้ ชง้ าน มีการทิง้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ๑๒ - ทักษะในการรบั มอื กับการกลั่นแกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) - ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy)
๑ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลุ่มความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรับรู้ ท่ีจะทาใหค้ นคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความทา้ ทายของชีวิตดิจิทลั และ สามารถ ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชีวิตดิจิทลั ได้ ความฉลาดทางดิจิทลั ครอบคลุมท้งั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและคา่ นิยม ท่ีจาเป็นต่อการใชช้ ีวิตในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หน่ึง คือ ทกั ษะการใชส้ ่ือและ การเขา้ สังคมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดิจิทลั เป็นผลจากศึกษา และพฒั นาของ DQ institute หน่วยงานท่ีเกิดจากความ ร่วมมือกนั ของภาครัฐและเอกชนทวั่ โลก ประสานงานร่วมกบั เวลิ ดอ์ ีโคโนมิกฟอรั่ม (World Economic Forum) ที่มุ่งมนั่ ใหเ้ ดก็ ๆ ทุก ประเทศไดร้ ับการศึกษาดา้ นทกั ษะพลเมืองดิจิทลั ที่มีคุณภาพและใชช้ ีวิต บนโลกออนไลน์อยา่ ง ปลอดภยั ดว้ ยความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ อยา่ งไรกต็ าม ระดบั ทกั ษะ ความฉลาดทาง ดิจิทลั ของเด็กไทยตามรายงาน DQ report 2018 ยงั อยใู่ นระดบั ต่าอยู่ ท้งั น้ีเนื่องจาก สานกั งาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (ดีป้า) กระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม, สานกั งานคณะ กรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ และ DQ Institue ร่วมกนั ทา โครงการ #DQEveryChild โดยศึกษาเดก็ ไทยอายุ 8-12 ปี ทว่ั ประเทศ 1,300 คน ผา่ นแบบสารวจ ออนไลน์ DQ Screen Time Test ชุดเดียวกนั กบั เดก็ ประเทศอ่ืนๆ รวมกลุ่มตวั อยา่ งทว่ั โลกท้งั สิ้น 37,967 คน ผลการศึกษาพบวา่ เดก็ ไทยมีความเสี่ยงจากภยั ออนไลน์ถึง 60% ในขณะที่ค่าเฉล่ีย ของการศึกษา คร้ังน้ีอยทู่ ่ี 56% (จาก 29 ประเทศทว่ั โลก) ภยั ออนไลน์ท่ีพบจากการศึกษาชุดน้ี ประกอบไปดว้ ย การกลน่ั แกลง้ บนโลกออนไลน,์ ถูกล่อลวงออกไปพบคนแปลกหนา้ จากสื่อ สงั คมออนไลน์, ปัญหา การเล่นเกม เดก็ ติดเกม, ปัญหาการเขา้ ถึงส่ือลามกอนาจาร, ดาวนโ์ หลด ภาพหรือวดิ ีโอท่ียวั่ ยอุ ารมณ์เพศ และพดู คุยเร่ืองเพศกบั คนแปลกหนา้ ในโลกออนไลน์ ดงั น้นั ทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั จึงควรท่ี จะถูกนามาใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพและความสามารถของ เยาวชนไทย
๒ ทาไมต้องเพมิ่ ทกั ษะความฉลาดทางดิจทิ ัล เดก็ ๆ และเยาวชนในยคุ ไอทีเติบโตมาพร้อมกบั อุปกรณ์ดิจิทลั และอินเทอร์เน็ต ดว้ ยลกั ษณะการ สื่อสาร ท่ีรวดเร็ว อิสระ ไร้พรมแดน และไม่เห็นหนา้ ของอีกฝ่ าย ทาใหก้ ารรับรู้และการใชช้ ีวติ ของเดก็ รุ่นใหม่ มีลกั ษณะที่แตกต่างจากเจนเนอเรชน่ั รุ่นก่อนๆ มาก ทกั ษะชีวิตใหม่ๆ ตอ้ งไดร้ ับ การเรียนรู้และฝึกฝน เพือ่ ท่ีเดก็ ท่ีเติบโตมาในยคุ ที่เตม็ ไปดว้ ยขอ้ มูลขา่ วสารและเทคโนโลยี สามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั การใชช้ ีวิตของคนรุ่นใหม่ยงั ผกู ติดกบั เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต และส่ือออนไลนเ์ กือบตลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็นการรับขา่ วสาร ความบนั เทิง หรือการซ้ือขาย สินคา้ และบริการ และการทาธุรกรรมการเงิน ในอดีต ตวั ช้ีวดั อยา่ ง IQ ไดถ้ กู นามาใชพ้ ฒั นา ระดบั ทกั ษะทางสติปัญญาของมนุษย์ ในขณะที่ EQ ไดน้ ามาศึกษาเพื่อพฒั นาระดบั ทกั ษะความ ฉลาดทางอารมณ์ แต่ดว้ ยบริบททางสงั คมที่เปล่ียนไป ปัจจุบนั ทกั ษะความฉลาดทางปัญญาและ ทางอารมณ์ ไม่เพียงพอต่อสิ่งท่ีเยาวชนตอ้ งเผชิญในโลก ไซเบอร์ ยง่ิ ไปกวา่ น้นั อินเทอร์เน็ตและ อุปกรณ์ดิจิทลั ถึงแมจ้ ะเพิ่มความสะดวกสบาย แต่กแ็ ฝงดว้ ยอนั ตราย เช่นกนั ไม่วา่ จะเป็น อนั ตรายต่อสุขภาพ การเสพติดเทคโนโลยี หากใชง้ านสื่อดิจิทลั มากเกินไป หรือ อนั ตรายจาก มิจฉาชีพออนไลน์ การคุกคามทางไซเบอร์ และการกลน่ั แกลง้ ทางไซเบอร์ พลเมืองยคุ ใหม่ จึง ตอ้ งรู้เท่าทนั สื่อ สารสนเทศ และมีทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั เพ่อื ที่จะใชช้ ีวิตอยใู่ นสงั คม ออนไลน์ และในชีวิตจริงโดยไม่ทาตวั เองและผอู้ ื่นใหเ้ ดือดร้อน ดงั น้นั ครอบครัว โรงเรียน ทาง ภาครัฐ และ องคก์ รท่ีเกี่ยวของ ควรร่วมส่งเสริมใหเ้ ยาวชนเป็น ‘พลเมืองดิจิทลั ’ ที่มีความรู้ความ เขา้ ใจในเร่ือง ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การใชง้ านอินเทอร์เน็ต
๓ ความเป็ นพลเมืองดจิ ทิ ัล (Digital Citizenship) คืออะไร ความเป็นพลเมืองดิจิทลั คือ พลเมืองผใู้ ชง้ านสื่อดิจิทลั และส่ือสังคมออนไลน์ท่ีเขา้ ใจบรรทดั ฐาน ของ การปฏิบตั ิตวั ใหเ้ หมาะสมและมีความรับผิดชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การส่ือสาร ในยคุ ดิจิทลั เป็นการสื่อสารที่ไร้พรมแดน สมาชิกของโลกออนไลนค์ ือ ทุกคนที่ใช้ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต บนโลกใบน้ี ผใู้ ชส้ ื่อสงั คมออนไลนม์ ีความหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมือง ดิจิทลั จึงตอ้ งเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม เห็นอก เห็นใจและเคารพผอู้ ่ืน มีส่วนร่วม และมุ่งเนน้ ความเป็นธรรมในสงั คม การเป็นพลเมืองในยคุ ดิจิทลั น้นั มีทกั ษะที่สาคญั 8 ประการ
๔ ๑. ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทีด่ ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสร้างและบริหารจดั การอตั ลกั ษณ์ท่ีดีของตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดีท้งั ในโลกออนไลนแ์ ละ โลกความจริง อตั ลกั ษณ์ที่ดีคือ การที่ผใู้ ชส้ ่ือดิจิทลั สร้างภาพลกั ษณ์ในโลกออนไลนข์ องตนเอง ในแง่บวก ท้งั ความคิด ความรู้สึก และการกระทา โดยมีวิจารณญาณในการรับส่งข่าวสารและ แสดงความคิดเห็น มีความเห็นอก เห็นใจผรู้ ่วมใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรู้จกั รับผดิ ชอบต่อ การกระทา ไม่กระทาการที่ผดิ กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลิขสิทธ์ิ การกลน่ั แกลง้ หรือการใชว้ าจาที่สร้างความ เกลียดชงั ผอู้ ื่นทางสื่อออนไลน์
๕ ๒. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking) สามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและขอ้ มูลท่ีผดิ ขอ้ มูลท่ีมีเน้ือหาเป็น ประโยชน์ และขอ้ มูลที่เขา้ ข่ายอนั ตราย ขอ้ มูลติดต่อทางออนไลน์ท่ีน่าต้งั ขอ้ สงสยั และน่าเช่ือถือ ได้ เม่ือใชอ้ ินเทอร์เน็ต จะรู้วา่ เน้ือหาอะไร เป็นสาระ มีประโยชน์ รู้เท่าทนั ส่ือและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และประเมิน ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลท่ีหลากหลายได้ เขา้ ใจรูปแบบการ หลอกลวงต่างๆ ในโลกไซเบอร์ เช่น ข่าวปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตดั ต่อ เป็นตน้
๖ ๓. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ที่เขม้ แขง็ และป้องกนั การโจรกรรม ขอ้ มูล หรือการโจมตีออนไลน์ได้ มีทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลก ออนไลน์ การรักษา ความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์คือ การปกป้องอุปกรณ์ดิจิทลั ขอ้ มูลท่ีจดั เก็บและขอ้ มูลส่วนตวั ไม่ใหเ้ สียหาย สูญหาย หรือถกู โจรกรรมจากผไู้ ม่หวงั ดีในโลก ไซเบอร์ การรักษาความปลอดภยั ทาง ดิจิทลั มีความสาคญั ดงั น้ี
๗ ๔. ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) มีดุลพนิ ิจในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั รู้จกั ปกป้องขอ้ มูลความส่วนตวั ในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะ การแชร์ขอ้ มูลออนไลนเ์ พื่อป้องกนั ความเป็นส่วนตวั ท้งั ของตนเองและผอู้ ื่น รู้เท่าทนั ภยั คุกคามทาง อินเทอร์เน็ต เช่น มลั แวร์ ไวรัสคอมพวิ เตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์
๘ ๕. ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) สามารถในการบริหารเวลาท่ีใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพอื่ ใหเ้ กิดสมดุล ระหวา่ ง โลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถึงอนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป การทางาน หลายอยา่ งในเวลาเดียวกนั และผลเสียของการเสพติดส่ือดิจิทลั สานกั วิจยั สยามเทคโนโลยอี ินเทอร์เน็ตโพลลร์ ะบุวา่ วยั รุ่นไทยเกือบ 40 % อยากใชเ้ วลา หนา้ จอ มากกวา่ ออกกาลงั กาย และผลการสารวจจาก We are social พบวา่ ในแต่ละวนั คนไทย ใชเ้ วลา หนา้ จอ ดงั น้ี
๙ ๖. ทกั ษะในการบริหารจดั การข้อมูลทผี่ ู้ใช้งาน มีการทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวิตในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือร่อยรอยขอ้ มูลทิ้งไวเ้ สมอ รวมไปถึง เขา้ ใจผลลพั ธ์ที่อาจเกิดข้ึน เพ่อื การดูแลสิ่งเหล่าน้ีอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ รอยเท้าดิจิทัล (Digital Footprints) คืออะไร รอยเทา้ ดิจิทลั คือ คาท่ีใชเ้ รียกร่องรอยการกระทาต่างๆ ที่ผใู้ ชง้ านทิ้งรอยเอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชียล มีเดีย เวบ็ ไซตห์ รือโปรแกรมสนทนา เช่นเดียวกบั รอยเทา้ ของคนเดินทาง ขอ้ มูลดิจิทลั เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสตข์ อ้ ความหรือรูปภาพ เม่ือถูกส่งเขา้ โลกไซเบอร์แลว้ จะทิ้ง ร่อยรอยขอ้ มูลส่วนตวั ของ ผใู้ ชง้ านไวใ้ หผ้ อู้ ่ืนติดตามไดเ้ สมอ แมผ้ ใู้ ชง้ านจะลบไปแลว้ ดงั น้นั หากเป็นการกระทาท่ีผดิ กฎหมาย หรือศีลธรรมกอ็ าจมีผลกระทบต่อช่ือเสียงและภาพลกั ษณ์ของ ผกู้ ระทา กลา่ วง่ายๆรอยเทา้ ดิจิทลั คือทุกสิ่งทุกอยา่ งในโลกอินเทอร์เน็ตท่ีบอกเร่ืองของเรา เช่น
๑๐ ๗. ทักษะในการรับมือกบั การกลนั่ แกล้งบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์คือ การใชอ้ ินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือหรือช่องทางเพ่อื ก่อใหเ้ กิดการคุกคาม ล่อลวงและการกลนั่ แกลง้ บนโลกอินเทอร์เน็ตและส่ือสังคมออนไลน์ โดย กลุ่มเป้าหมายมกั จะเป็น กลุ่มเดก็ จนถึงเดก็ วยั รุ่น การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คลา้ ยกนั กบั การ กลน่ั แกลง้ ในรูปแบบอื่น หากแต่การกลน่ั แกลง้ ประเภทน้ีจะกระทาผา่ นส่ือออนไลน์หรือส่ือ ดิจิทลั เช่น การส่งขอ้ ความทาง โทรศพั ท์ ผกู้ ลนั่ แกลง้ อาจจะเป็นเพ่อื นร่วมช้นั คนรู้จกั ในสื่อ สงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคน แปลกหนา้ กไ็ ด้ แต่ส่วนใหญ่ผทู้ ี่กระทาจะรู้จกั ผทู้ ่ีถูกกลน่ั แกลง้ รูปแบบของการกลนั่ แกลง้ มกั จะเป็น
๑๑ ดงั เช่น เคยมีกรณี เดก็ ผหู้ ญิง อายุ 11 ปี ไปเล่นอินเทอร์เน็ตที่ร้านแลว้ ลืมออกจากบญั ชีการใชง้ าน เฟสบุ๊ค ทาใหม้ ีคนสวมรอยใชเ้ ฟสบุ๊คของเธอ ไปโพสตข์ อ้ มูลตามกลุ่มสนทนาท่ีขายบริการทาง เพศ มีเน้ือหาเชิงเชิญชวนวา่ ‘สาววยั ใสวยั ประถมยงั ไม่เคยเสียสาว สนใจติดต่อผา่ นอินบอ็ กซ์ เฟสบุ๊คน้ี’ ดว้ ยความที่เธอไม่รู้เร่ือง พอมีคนแอดเฟรนดม์ ากร็ ับเลย เนื่องจากไม่ไดค้ ิดถึงอนั ตราย หรือภยั ต่างๆ คิดแค่อยากมีเพ่ือนเยอะๆ ต่อมาปรากฎวา่ ส่วนใหญ่จะเป็นผชู้ ายส่งขอ้ ความมาหา ซ่ึงตอนแรกกค็ ุยดีๆ ปกติธรรมดา สกั พกั กถ็ ามวา่ อยทู่ ่ีไหน เคยรึยงั ขอเบอร์โทรติดต่อหน่อยจะ นดั ข้ึนหอ้ ง ทาให้ เธอกลวั มาก แต่โชคดีที่เธอมีสัมพนั ธภาพกบั พอ่ แม่ค่อนขา้ งดี จึงเล่าให้ ผปู้ กครองฟังวา่ เกิดอะไรข้ึน แม่กร็ ับฟัง และ ช่วยกนั รับมือกบั การกลน่ั แกลง้ บนโลกออนไลน์น้ี
๑๒ ๘. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) มีความเห็นอกเห็นใจ และสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดีกบั ผอู้ ื่นบนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเป็นการ สื่อสารที่ ไม่ไดเ้ ห็นหนา้ กนั มีปฏิสมั พนั ธ์อนั ดีต่อคนรอบขา้ ง ไม่วา่ พอ่ แม่ ครู เพ่ือนท้งั ในโลก ออนไลนแ์ ละใน ชีวติ จริง ไม่ด่วนตดั สินผอู้ ื่นจากขอ้ มูลออนไลน์แต่เพยี งอยา่ งเดียว และจะเป็น กระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ่ี ตอ้ งการความช่วยเหลือ คดิ ก่อนจะโพสต์ลงสังคมออนไลน์ (Think Before You Post) ใคร่ครวญก่อนที่จะโพสตร์ ูปหรือขอ้ ความลงในส่ือออนไลน์ ไม่โพสตข์ ณะกาลงั อยใู่ น อารมณ์โกรธ ส่ือสารกบั ผอู้ ื่นดว้ ยเจตนาดี ไม่ใชว้ าจาที่สร้างความเกลียดชงั ทางออนไลน์ ไม่นา ลว้ งขอ้ มูลส่วนตวั ของผอู้ ่ืน ไม่กลนั่ แกลง้ ผอู้ ่ืนผา่ นสื่อดิจิทลั โดยอาจต้งั ความถามกบั ตวั เองก่อน โพสตว์ า่
๑๓ บรรณานุกรม ดร.สรานนท์ อินทนนท.์ (2563). ความฉลาดทางดิจิทลั (คร้ังท่ี 3). ปทุมธานี: สืบคน้ จาก http://cclickthailand.com/wp-cont…/uploads/…/04/dq_FINAL.pdf 6 เหตุการณ์ สะเทือนใจ!! จากภยั Cyberbullying - จส. 100 [Online]. แหล่งท่ีมา http://www.js100.com/en/site/post_share/view/25700 [4 มกราคม 2561] 9 ขอ้ ควรปฏิบตั ิของพลเมืองดิจิทลั ยคุ ใหม่ [Online]. แหล่งท่ีมา http://www.okmd.or.th/ okmd- opportunity/digital-age/258/ [2 มกราคม 2561] ดีป้าจบั มือพนั ธมิตรขบั เคลื่อนความฉลาดทางดิจิทลั ใหเ้ ดก็ ไทยเทียบเท่ามาตรฐาน [Online]. แหล่งท่ีมา http://www.ryt9.com/s/prg/2778991 [3 มีนาคม 2561] โจ๋ไทยเมินออกกาลงั กาย 40% อยากเล่นเน็ต-เกมมากกวา่ [Online]. แหล่งที่มา http://www. manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000154824 [2 มกราคม 2561] ผลวจิ ยั ช้ีวยั รุ่นอยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยง่ิ ผกู พนั กบั พอ่ แม่-เพอ่ื นลดลง [Online]. แหล่งท่ีมา http://www. manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9530000030132 [24 มกราคม 2561] วิทยา ดารงเกียรติศกั ด์ิ. พลเมืองดิจิทลั [Online]. แหล่งที่มา http://www.infocommmju.com/ icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/Digital_Citizenship.pdf [1 กมุ ภาพนั ธ์ 2561] ววิ รรณ ธาราหิรัญโชติ. ทกั ษะทางดิจิตอลที่จาเป็นสาหรับเด็กในอนาคต [Online]. แหล่งที่มา http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 [3 มกราคม 2561] สานกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. คู่มือ Cyber Security สาหรับประชาชน [Online]. แหล่งท่ีมา https://www.nbtc.go.th/ getattachment/News/รวมบทความ-(1)/คู่มือ-Cyber-Security-สาหรับประชาชน/คูม่ ือ- CyberSecurity-สาหรับประชาชน.pdf.aspx [12 มกราคม 2561]
๑๔ Digital Southeast Asia / Thailand In 2017 – An Overview [Online]. แหล่งท่ีมา http://my- thai.org/digital-southeast-asia-thailand-2017-overview/ [12 มกราคม 2561] Digital Intelligence (DQ) A Conceptual Framework & Methodology for Teaching and Measuring Digital Citizenship [Online]. แหล่งที่มา https://www.dqinstitute. org/wp- content/uploads/2017/08/DQ-Framework-White-Paper-Ver1-31Aug17.pdf [16 มกราคม 2561]
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: