Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 55555

55555

Published by teerapongpayak, 2018-01-17 11:00:10

Description: 55555

Search

Read the Text Version

Space ประวตั ิเร่ืองราวความเป็นมาของสง่ิ ต่างๆ ของนกั วิทยาศาสตร์ท่ศี กึ อวกาศเทคโนโลยีความทนั สมยั ของอปุ กรณ์เครื่องจกั ร อวกาศบริเวณที่อยนู่ อกโลก เปิดอา่ นเลยงบั

คานา ศกึ ษาเกี่ยวประวตั ขิ องนกั เทคโลยีประวตั ิศาสตร์ผ้ทู ่ีบกุ เบิกอวกาศ และ ศกึ ษาเรียนรู้ และนามาสืบทอดความรู้แกม่ วลมนษุ ย์

สารบญั หน้า เรื่อง 3คอนสแตนติน ไซออฟคอฟสกี 4-5โรเบริ ์ต กอ็ ดดาร์ด 6-7เฮอร์มนั น์ โอเบิร์ช 8เซอร์ไก โคโรเลฟ 9-10เวอร์นเฮอร์ ฟอน เบราน์เทคโนโลยอี วกาศดาวเทียม

1คอนสแตนติน ไซคอฟสกีกนั ยายน กนั ยายนคอนสแตนติน ไซคอฟสกีเป็นผ้บู กุ เบิกด้านการบินอวกาศกอ่ นผ้อู ืน่ เป็นเวลานบั ทศวรรษจนได้รับสมญานามว่าเป็น เจ้าแห่งจรวดของรัสเซียและอดีตสหภาพโซเวียต ทงั้ นีผ้ ลงานของไซคอฟสกีมสี ว่ นสาคญั ในการพฒั นาโครงการอวกาศในยคุ เร่ิมต้นของอดีตสหภาพโซเวียต รวมไปถงึ ได้จดุ ประกายความสนใจให้กบั วศิ วกรรุ่นใหม่ ซงึ่ ภายหลงั ได้กลายเป็นบคุ คลสาคญั ในการพฒั นาโครงการอวกาศของอดีตสหภาพโซเวียต เช่น เซอร์ไก โคโรเลฟ( และ วาเลนติน กลสั ซ์โค (

2 โรเบริ ์ต กอ็ ดดาร์ดตุลาคม สงิ หาคมบิดาแห่งจรวดยคุ ใหม่ โรเบิร์ต กอ็ ดดาร์ด เป็นนกั ฟิ สิกส์ชาวอเมริกนั และเป็นผ้ไู ด้รับการยกย่องวา่ เป็น บิดาแห่งจรวดยคุ ใหม่ ทงั้ นีก้ อ็ ดดาร์ดเป็นผ้รู ิเร่ิมการควบคมุ จรวดโดยใช้เชือ้ เพลิงเหลว โดยก็อดดาร์ดได้ทดสอบยิงจรวดเชือ้ เพลิงเหลวลาแรกของโลกเมื่อวนั ท่ี มนี าคม นอกจากนีใ้ นช่วงระหวา่ งปีถงึ กอ็ ดดาร์ดได้ทดสอบยิงจรวดหลายลาโดยมเี ปา้ หมายเพื่อพฒั นาจรวดให้มีความเร็วสงู ถงึ กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง ถงึ แม้ว่าผลงานการทดสอบในภาคสนามของก็อดดาร์ดจะทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างขนานใหญ่ แตม่ บี างครัง้ ก็อดดาร์ดเองกลบั รู้สกึ ขบขาในทฤษฏีทีเ่ ขาคดิ ค้นขนึ ้ ตลอดชว่ งเวลาที่มชี ีวติ อย่นู นั้ ก็อดดาร์ดได้รับการสนบั สนนุ ไมม่ ากนกั ทงั้ ในด้านการงานและชื่อเสียง แตท่ ้ายท่ีสดุ ก็อดดาร์ดกไ็ ด้รับการจดจาและยกย่องวา่ เป็นบิดาแห่งจรวดยคุ ใหม่

3 เฮอร์มนั น์ โอเบริ ์ช Hermann oberth (ค.ศ. 1894 – 1989)เฮอร์มนั น์ โอเบริ ์ซ เกิดทไี่ ซเบนเบอร์เกน ชายแดนระหว่างออสเตรียและฮงั การีซง่ึ กค็ ือทรานซลิ วา-เนีย แซกซอน หรือโรมาเนียในปัจจบุ นั โอเบิร์ซเป็นนกัฟิ สกิ ส์ชาวเยอรมนั ท่ีได้รับการยกยอ่ งวา่ เป็นหนึ่งในผ้วู าง รากฐานด้านจรวดและการบินอวกาศของโลกในยคุ บกุ เบิก ร่วมกบั คอนสแตนติน ไซคอฟสกี(รัสเซยี ) และโรเบิร์ต ก็อดดาร์ด (อเมริกนั ) ถงึ แม้ทงั้ สามทา่ นนี ้ไมเ่ คยทางานร่วมกนั หรือรับทราบว่าแตล่ ะคนกาลงั ทาเรื่องเดียวกนั อยู่ แตผ่ ลงานของทงั้สามก็ได้ผลลพั ธ์ท่ตี รงกนั ว่ามีความเป็นไปได้ท่ีเราจะใช้จรวด ในการหนีแรงโน้มถ่วงโลกเพ่ือเดนิ ทางไปในอวกาศ

4 เซอร์ไก โคโรเลฟSergei Korolev(ค.ศ. 1906 – 1966)เซอร์ไก โคโรเลฟ ได้รับสมญานามว่าเป็น \"บิดาแหง่ ความสาเร็จด้านอวกาศของอดีตสหภาพโซเวียต\" โดยโคโรเลฟเป็นผ้อู อกแบบจรวดวอสตอค ซงึ่ เป็นจรวดยคุ แรกของโครงการอวกาศของโซเวยี ต และ เป็นผ้รู ับผิดชอบโครงการสปคุ นิค ท่ีมีนกั บินอวกาศเดินทางรอบโลกเป็นครัง้ แรก จนมาถึงเป็นผ้อู อกแบบจรวดโซยซุ ทใี่ ช้งานในปัจจบุ นั รวมไปถงึ การพฒั นาขีปนาวธุ ข้ามทวีปรุ่นแรกๆให้กบั โซเวยี ต โคโรเลฟได้รับการศกึ ษาและฝึกฝนด้านการออกแบบเคร่ืองบินแตด่ ้วยทกั ษะและความสามารถในด้านการจดั การองค์กร และ การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์ ทาให้โคโรเลฟได้รับเลอื กให้เป็นหวั หน้าโครงการอวกาศของโซ

5เวยี ต ทงั้ นีก้ ่อนท่ีจะเสยี ชีวิตลง โคโรเลฟได้รับการยกย่องวา่ เป็น \"หวั หน้าผ้อู อกแบบ\" (Chief Designer) เน่ืองจากภาระหน้าท่ีของโคโรเลฟมีความสาคญั ต่อโครงการอวกาศของโซเวียตเป็น อย่างมาก ทาให้สหภาพโซเวยี ตต้องพยายามปกปิดความสาคญั ของโคโรเลฟไว้ในขณะท่ีเขายงั มี ชีวติอยู่ แต่ตอ่ มาในภายหลงั ช่ือของโคโรเลฟได้ถกู เปิดเผยสสู่ าธารณะในฐานะผ้นู าท่อี ย่เู บือ้ งหลงั ความ สาเร็จด้านอวกาศของโซเวยี ต

6 เวอร์นเฮอร์ ฟอน เบราน์Wernher von Braun (ค.ศ. 1912 – 1977)เวอร์นเฮอร์ ฟอน เบราน์ นกั ฟิ สกิ ส์และวิศกรจรวดชาวเยอรมนั เป็นหนง่ึ ในยอดนกั เทคโนโลยีจรวดชนั้ นาของโลกในยคุ ทศวรรษท่ี 20 ทงั้ นี ้ฟอน เบราน์ในวยั ปลายยี่สิบถึงต้นสามสบิ ปีเป็นบุคคลสาคญั ของเยอรมนั โดยดารงตาแหน่งหวั หน้าทีมวศิ วกรโครงการพฒั นาและสร้างจรวด V-2 อนั เลอ่ื งชื่อในช่วงสงครามโลกท่ีสอง ภายหลงั สงครามสนิ ้ สดุ ลงในปี 1945 ฟอน เบราน์และบางสว่ นของทีมงานเขาได้เข้าร่วมกบั สหรัฐอเมริกาในการพฒั นาจรวดเพ่ือโครงการอวกาศและความมน่ั คง สิบปีตอ่ มา ฟอน เบราน์ได้รับสญั ชาติอเมริกนั จากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ในช่วงเริ่มต้นในสหรัฐอเมริกา ฟอน เบราน์

7ได้ทางานในโปรแกรมพฒั นาขีปนาวธุ ข้ามทวีป ICBM(intercontinental ballistic missile) ตอ่ มาภายหลงั ได้เข้าร่วมทางานกบั นาซา โดยฟอน เบราน์ ดารงตาแหน่งเป็นผ้อู านวยการศนู ย์การบินอวกาศมาร์แชลของนาซา ทีฮ่ นั ท์วลิ ล์ และเป็นหวั หน้าทีมออกแบบจรวดแซทเทิร์น วี (Saturn V) ทน่ี ายานอวกาศอพอลโลพร้อมนกั บินอวกาศเดินทางไปยงั ดวงจนั ทร์ ฟอน เบราน์ได้รับการยกย่องและเคารพวา่ เป็น \"บิดาของโปรแกรมด้านอวกาศของสหรัฐอเมริกา\" (เหมอื นกบั เซอร์ไก โคโรเลฟ ที่ได้รับสมญานามว่าเป็น \"บิดาแห่งความสาเร็จด้านอวกาศของอดีตสหภาพโซเวยี ต\") จากความสามารถและทกั ษะของฟอน เบราน์ทงั้ ในด้านเทคนิคและการจดั การ รวมไปถงึ ความทมุ่ เทในการพฒั นาด้านการบินอวกาศและจรวดทาให้ ฟอน เบราน์ได้รับเหรียญวิทยาศาสตร์แหง่ ชาตใิ นปี 1975

8เทคโนโลยีอวกาศ(องั กฤษ: Space Technology) คือ เทคโนโลยีท่ใี ช้ในการสารวจอวกาศหรือใช้ศกึ ษาโลกของเราจากอวกาศ และการศกึ ษาปรากฏการณ์ตา่ งๆในเอกภพ พฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศเป็นการชีถ้ งึ ความสามารถของมนษุ ย์ในการพยายามทาความเข้าใจธรรมชาติ โดยอาศยั ความรู้ทางฟิ สกิ ส์และเคมเี พื่อออกแบบและสร้างเครื่องมอื หรืออปุ กรณ์ตา่ งๆ เพื่อขยายความรู้ความเข้าใจให้มากขนึ ้ มเี ทคโนโลยีมากมายทจ่ี ดั เป็นเทคโนโลยีอวกาศ เช่นดาวเทียม จรวด ยานอวกาศ ยานสารวจ กล้องโทรทศั น์อวกาศ สถานีอวกาศสถานีควบคมุ ดาวเทียม รวมไปถงึ อปุ กรณ์เพื่อการดารงชีวิตของนกั บินอวกาศ

9ดาวเทียม(Satellites) หมายถงึ วตั ถทุ มี่ นษุ ย์สร้างขนึ ้ เลยี นแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือรอบเทห์ฟากฟ้าอน่ื มอี ปุ กรณ์สาหรับเก็บรวบรวมข้อมลู เกี่ยวกบั อวกาศ และถา่ ยทอดข้อมลู นนั้ มายงั โลก วตั ถลุ กั ษณะดงั กลา่ วท่ีโคจรรอบโลกใช้เป็นอปุ กรณ์โทรคมนาคมด้วย เช่น ถ่ายทอดคลน่ื วิทยุ และโทรทศั น์ข้ามทวีป เป็นต้น ประเภทดาวเทยี ม (Types ofsatellites) แบง่ ประเภทของดาวเทยี มตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ ได้ดงั นี ้ดาวเทียมดาราศาสตร์ (Astronomical satellites) เป็นดาวเทียมสารวจดวงดาวตา่ งๆ ท่อี ยหู่ า่ งไกลโลก สารวจกาแลก็ ซี (Galaxy)รวมทงั้ สารวจวตั ถตุ ่างๆ ที่อย่ใู นอวกาศ เช่น ดาวเทยี ม MAGELLANสารวจดาวศกุ ร์ดาวเทียม GALILEO สารวจดาวพฤหสั เป็นต้น ดาวเทียมสื่อสาร (Communications satellites) เป็นดาวเทียมประจาทใี่ นอวกาศ เพื่อการสอ่ื สารโดยใช้คล่ืนวิทยใุ นความถี่ไมโครเวฟ สว่ นใหญ่เป็นดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า ได้แก่ ดาวเทียม INTELSAT ดาวเทียมIRIDIUM และดาวเทียมไทยคม เป็นต้น ดาวเทยี มสารวจทรัพยากรโลก(Earth observation satellites) เป็นดาวเทียมทถ่ี กู ออกแบบเฉพาะเพื่อการสารวจ ตดิ ตามทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมต่างๆ ของโลกรวมทงั้ การทาแผนท่ีตา่ งๆ ได้แก่ ดาวเทียมLANDSAT RADARSAT

10ALOS และ THEOS เป็นต้น ดาวเทยี มนาร่อง (Navigationsatellites) เป็นดาวเทียมนาร่องทีใ่ ช้คล่นื วิทยแุ ละรหสั จากดาวเทียมไปยงัเครื่องรับสญั ญาณบนพืน้ ผิวโลก สามารถหาตาแหน่งบนพืน้ โลกท่ถี กู ต้องได้ทกุ แห่ง และตลอดเวลา ได้แก่ดาวเทียม NAVSTAR GLONASS และGALILEO เป็นต้น ดาวเทยี มจารกรรม (Reconnaissancesatellites) เป็นดาวเทียมสารวจความละเอยี ดสงู หรือดาวเทียมสื่อสารที่ใช้เพื่อกิจการทางการทหาร การจารกรรม หรือการเตอื นภยั จากการโจมตีทางอากาศ ได้แก่ ดาวเทียม KEYHOLE และ LACROSSE เป็นต้นดาวเทียมอตุ นุ ิยมวิทยา (Meteorological satellites) เป็นดาวเทียมสารวจเพื่อภารกิจการพยากรณ์อากาศของโลก ได้แก่ ดาวเทียมNOAA GMS และ GOES เป็นต้น จรวด.gif [1] จรวด (Rocket)เป็นเครื่องยนต์ท่ีใช้ขบั เคลื่อนพาหนะสาหรับขนสง่ อปุ กรณ์หรือมนษุ ย์ขนึ ้ สู่อวกาศ จรวดสามารถเดินทางไปในอวกาศ เน่ืองจากไมจ่ าเป็นต้องอาศยัออกซเิ จนในบรรยากาศมาใช้ในการสนั ดาปเชือ้ เพลิง ทงั้ นีเ้พราะว่าจรวดมถี งับรรจอุ อกซิเจนอยใู่ นตวั เอง จรวดทใ่ี ช้เดินทางไปสอู่ วกาศจะต้องมแี รงขบั เคล่ือนสงู มากและตอ่ เนื่อง เพื่อเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity)ซงึ่ มีความเร่ง 9.8 เมตร/วินาที2 ในการเดินทางจากพืน้ โลกสวู่ งโคจรรอบโลก จรวดทางานตามกฎของนิวตนั 3 ข้อดงั นี ้กฎข้อท่ี 3 “แรงกริยา = แรงปฏิกิริยา

โรงเรียนสภาราชินี จงั หวดั ตรังสานกั งานเขตพนื ้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook