๒
4 ขา่ วบญุ ตา่ งประเทศ 6 “พธิ ที อดกฐนิ ณ วดั พระธรรมกายแฟรงกเ์ ฟริ ต์ ” ขา่ วบญุ ในประเทศ 9 “กองทนุ ตน้ สมบตั จิ กั รพรรด”ิ เพอื่ งานเผยแผ่ 27 พระพทุ ธศาสนาวชิ ชาธรรมกายไปทว่ั โลก 31 ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช 2559 36 เรอื่ งเดน่ ทนั เหตกุ ารณ์ “ประมวลภาพพธิ ที อดกฐนิ วดั พระธรรมกาย” Review รายการ DMC “อานสิ งสบ์ ชู าสง่ิ แทนพระพทุ ธองค”์ ความรรู้ อบตวั “หลกั ฐานธรรมกายในคมั ภรี พ์ ทุ ธโบราณ (ตอนท่ี ๑๒)” ความรรู้ อบตวั “หลกั ฐานธรรมกายในคมั ภรี พ์ ทุ ธโบราณ (ตอนท่ี ๑๓)” ๓
ขา่ ว DMC NEWS ประจ�ำวนั ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 พธิ ที อดกฐนิ ณ วดั พระธรรมกายแฟรงกเ์ ฟริ ต์ วัดพระธรรมกายแฟรงก์เฟิ ร์ต ประเทศเยอรมนี ได้จดั พิธีทอดกฐิน เพื่อสถาปนาวัดพระธรรมกายไรน์- แลนด์ ภายในงานสาธุชนผู้มีบุญทุก ท่านได้ร่วมกนั สวดมนต์บทธัมมจกั - กปั ปวตั ตนสตู ร และปฏิบตั ธิ รรม เจริญสมาธิภาวนา ก่อนท่ีจะ ประกอบพิธีกล่าวค�ำแสดงตนเป็ น พทุ ธมามกะและถวายกองทนุ ต่างๆ จากนัน้ ได้ร่วมกันตักบาตรแด่คณะ สงฆ์ ส่วนภาคบ่ายขบวนของมหา- เศรษฐีราชนั ย์ปฐพี ราชินีที่ดิน ผ้รู ่วม สถาปนาวดั พระธรรมกายไรน์แลนด์ เคลื่อนเข้าสศู่ นู ย์กลางพิธี ซงึ่ ประธานเอกพิเศษสดุ คือ กลั ยาณมิตรสมจิตร ไอล์แบร์ก และ กลั ยาณมิตรล�ำดวน มีโพนงาม จาก นัน้ พระอาจารย์และสาธุชนผู้มีบุญ ได้ ปฏิบัติธรรมตามเสียงพระเดช- พระคณุ พระเทพญาณมหามนุ ี เพื่อ กลน่ั กายวาจาใจให้ใสสะอาด เมื่อ ถงึ เวลาสวา่ ง ประธานเอกได้น�ำ กลา่ วค�ำถวายผ้ากฐินแดค่ ณะสงฆ์ ส่ ว น กั ล ย า ณ มิ ต ร ล� ำ ด ว น มี โ พ น ง า ม แ ล ะ กั ล ย า ณ มิ ต ร กาญจนา ทองค�ำพาณิชย์ ได้กลา่ ว ค�ำปวารณาเพ่ือเป็ นประธานกฐินใน ๔
ปี ตอ่ ไป และในโอกาสนีพ้ ระอาจารย์ได้กลา่ ว พิธีทอดกฐิน ณ วดั พระธรรมกายแฟรงก์เฟิร์ต สมั โมทนียกถาและให้พรแก่สาธชุ น ก่อนที่จะได้ ร่วมกันถ่ายภาพหมู่ประวัติศาสตร์เพ่ือตรึกระลึก นกึ ถงึ บญุ ที่ได้ท�ำร่วมกนั ในครัง้ นี ้ ๕
ขา่ วประชาสมั พนั ธ์ \" กองทุนตน้ สมบตั จิ ักรพรรดิ \" เพอื่ งานเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาวชิ ชาธรรมกายไปทวั่ โลก ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช 2559 เมื่อครัง้ สมยั พทุ ธกาล สมเดจ็ พระบรมศาสดา “เธอทัง้ หลายจงจาริกไปเพื่อประโยชน์และ สมั มาสมั พทุ ธเจ้าประทานโอวาทแก่พระอรหนั ต์ผู้ ความสขุ แก่คนหมมู่ าก เพื่ออนเุ คราะห์โลก เพ่ือ ท�ำหน้าท่ี ประดจุ พระธรรมทตู รุ่นแรก จ�ำนวน 60 ประโยชน์เกือ้ กูลและความสุขแก่ทวยเทพและ รูป วา่ .... มนษุ ย์ ขอจงอยา่ ได้ไปรวมทางเดียวกนั 2 รูป จง “จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหชุ นหิตาย พหชุ นสขุ าย แสดงธรรมงามในเบือ้ งต้น งามในทา่ มกลาง งาม โลกานกุ มปฺ าย อตฺถาย หิตาย สขุ าย เทวมนสุ ฺสานํ ในที่สดุ จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทงั้ อรรถ ทงั้ มา เอเกน เทฺว อคมิตฺถ เทเสถ ธมมฺ ํ อาทิกลฺยาณํ พยญั ชนะ ครบ บริสทุ ธ์ิ บริบรู ณ์ สตั ว์ทงั้ หลาย มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลยฺ าณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ จ�ำพวกที่มีธลุ ีคือกิเลสในจกั ษุน้อยมีอยู่ เพราะไมไ่ ด้ เกวลปริปณุ ฺณํ ปริสทุ ฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสถ สนฺติ ฟังธรรมยอ่ มเสือ่ ม ผ้รู ู้ทว่ั ถงึ ธรรมจกั มี ดกู ่อนภิกษุ สตฺตา อปปฺ รชกฺขชาตกิ า อสฺสวนตา ธมมฺ สฺส ทงั้ หลาย แม้เราก็จกั ไปยงั ต�ำบลอรุ ุเวลาเสนานิคม ปริหายนฺติ ภวสิ สฺ นฺติ ธมมฺ สฺส อญฺญาตาโร อหมปฺ ิ เพื่อแสดงธรรม.” (ว.ิ มหา. ๔/๓๙/๓๒) ภิกฺขเว เยน อรุ ุเวลา เสนานิคโม เตนปุ สงฺกมิสสฺ ามิ จากพระพทุ ธโอวาทดงั กลา่ ว กลายเป็นอนสุ ติ ธมมฺ เทสนายาต.ิ ” ให้เหลา่ พทุ ธสาวก แม้ในยคุ ปัจจบุ นั ยดึ ถือเป็น ๖
ขวญั ก�ำลงั ใจ และเป็นพลงั ในการออกท�ำหน้าท่ีน�ำ หน้าที่ พระภิกษุผ้มู ีหวั ใจดจุ พระโพธิสตั ว์ทงั้ หลาย แ ส ง ส ว่ า ง แ ห่ ง พ ร ะ อ ริ ย สัจ ธ ร ร ม ไ ป สู่ช า ว โ ล ก ทัง้ ก็ช่วยกนั แผ่ขยายธรรมรังสีออกไปสเู่ มืองแล้วเมือง หลาย ไมว่ า่ ท้องถ่ินแผน่ ดินนนั้ จะหา่ งไกลจากบ้าน เลา่ ประเทศแล้วประเทศเลา่ อยา่ งนา่ อนโุ มทนา เกิดเมืองนอนเพียงใด แตด่ ้วยความมงุ่ มน่ั ที่จะท�ำ สาธกุ าร ๗
ด้วยเหตนุ ี ้ \"กองทนุ ต้นสมบตั จิ กั รพรรดเิ พ่ือ \" ไมว่ า่ จะอยทู่ ี่ไหน ก็สร้างบญุ ใหญ่ได้ทวั่ โลก \" งานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปท่ัว ร่วมเป็ นเจ้ าภาพได้ ท่ี.... โลก\" จงึ เกิดขนึ ้ จงึ ใคร่ขอเรียนเชิญทา่ นผ้มู ีจิต ห้องรับบริจาค สภาธรรมกายสากลและ ศรัทธาร่วมบญุ กองทนุ ต้นสมบตั ิจกั รพรรดิเพื่องาน อาคาร 100 ปี คณุ ยายฯ หรือผ้ปู ระสานงานกองที่ เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทวั่ โลก ทา่ นสงั กดั ๘
เร่ืองเดน่ ทนั เหตกุ ารณ์ ประมวลภาพพธิ ที อดกฐนิ วดั พระธรรมกาย วันอาทติ ยท์ ่ี 6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2559 ๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
Review รายการ DMC อานสิ งสบ์ ชู าสงิ่ แทนพระพทุ ธองค์ “ดกู รอานนท์ สงั เวชนียสถาน ๔ แหง่ พากันน� ำเครื่ องสักการะไปวางไว้ ที่ ประตูพระ- เหลา่ นี ้ เป็นสถานท่ีควรเหน็ ของกลุ บตุ รผ้มู ี คนั ธกฎุ ี ศรัทธา สงั เวชนียสถาน ๔ แหง่ คือ สถานที่ อนาถบิณฑิกเศรษฐีได้น�ำเรื่องนีไ้ ปบอกเล่า ประสตู ิ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และ พระอานนท์ให้ช่วยไปกราบทลู ถามพระสมั มาสมั - ปรินิพพาน ดกู รอานนท์ ชนเหลา่ ใดจาริกไป พทุ ธเจ้าวา่ เม่ือพระผ้มู ีพระภาคไมไ่ ด้ประทบั อยทู่ ่ี ยงั เจดียสถานทงั้ ๔ แหง่ นี ้มีจิตเลื่อมใสแล้ว พระวหิ าร สาธชุ นจะบชู าพระองค์ได้อยา่ งไรบ้าง ครัน้ ท�ำกาละลง ชนเหลา่ นนั้ ทงั้ หมดจกั เข้า พระบรมศาสดาทรงแนะน�ำให้บชู าพระเจดีย์ซง่ึ มี ๓ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์” อยา่ ง คือ พระธาตเุ จดีย์ หมายถงึ เจดีย์ท่ีใช้บรรจุ เราทราบกนั ดีวา่ ไมว่ า่ พระสมั มาสมั - พุทธเจ้ าจะมีพระชนม์ชีพอยู่หรื อเสด็จดับ ๒๗ ขนั ธปรินิพพานแล้วก็ตาม หากบคุ คลมีจิต เ ลื่ อ ม ใ ส เ ส ม อ เ ห มื อ น กั บ พ ร ะ อ ง ค์ ยั ง มี พระชนม์อยู่ ผลนนั้ ไมแ่ ตกตา่ งกนั เพราะ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงมีอานุภาพอัน ไมม่ ีประมาณ ดงั นนั้ ก่อนจะเสดจ็ ดบั ขนั ธ- ปรินิพพาน พระพทุ ธองค์จงึ ตรัสบอกถงึ สถานท่ีที่ควรเคารพบูชาและเป็ นทางมา แหง่ มหากศุ ล ซงึ่ ในปัจจบุ นั นีม้ ีปรากฏอยทู่ ี่ ประเทศอินเดียและเนปาล สาธชุ นจากตา่ ง ประเทศท่ัวโลกผู้เล่ือมใสในพระพุทธองค์ ตา่ งเดนิ ทางไปแสวงบญุ กนั เพื่อสกั การ บชู าสงั เวชนียสถานทงั้ ๔ แหง่ บ้างก็ไป สวดมนต์นง่ั สมาธิ บ้างก็ไปเดนิ เวียนประทกั ษิณ เพ่ือระลกึ นกึ ถงึ พระปัญญาธิคณุ พระบริสทุ ธิคณุ และพระมหากรุณาธิคณุ ของพระบรมศาสดา ในสมยั พทุ ธกาล พระบรมศาสดาได้เสดจ็ ไป ตามสถานท่ีตา่ ง ๆ เพื่อสงเคราะห์เหลา่ เวไนยสตั ว์ ชาวกรุงสาวตั ถีตา่ งก็ถือของหอมระเบียบดอกไม้ไป ท่ีวดั พระเชตวนั เพื่อนอบน้อมพระพทุ ธองค์ แตเ่ ม่ือ ไม่มีโอกาสกราบสกั การะพระสมั มาสมั พุทธเจ้าก็
พระบรมสารีริกธาตบุ ริโภคเจดีย์ หมายถงึ เจดีย์ พระพักตร์ อันผ่องใสหรื อพระสุรเสียงอันไพเราะ ห รื อ ส ถ า น ท่ี ท่ี บ ร ร จุส่ิ ง ท่ี พ ร ะ พุท ธ อ ง ค์ ท ร ง เ ค ย ของพระพทุ ธองค์ในครัง้ ที่ทรงแสดงธรรมได้อยู่ ทงั้ ใช้สอย เชน่ บาตรจีวร เครื่องอฐั บริขาร และ อทุ เท- ถ้อยค�ำและอากัปกิริยาที่ทรงแสดงออกมานัน้ ยัง สกิ เจดีย์หมายถงึ เจดีย์ท่ีสร้างถวายแดพ่ ระพทุ ธ- ตราตรึงอยใู่ นใจของพทุ ธบริษัททงั้ หลาย จงึ ยงั ไม่ องค์ เชน่ พระพทุ ธรูป รวมถงึ ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ คดิ ท่ีจะท�ำรูปเหมือนของพระพทุ ธองค์ขนึ ้ มา ถ้าไม่ ด้วย สามารถกราบพระสมั มาสมั พุทธเจ้าด้วยกายเนือ้ ได้ ก็นิยมบชู าต้นพระศรีมหาโพธิ์อนั เป็นโพธิสถาน พระอานนท์ทลู ถามวา่ เม่ือพระองค์เสดจ็ ไปที่ แหง่ การตรัสรู้ธรรม ซงึ่ ถือวา่ เป็นตวั แทนของ อื่น พทุ ธบริษัททงั้ ๔ จะสร้างเจดีย์ทงั้ ๓ นี ้ เพื่อ พระพทุ ธองค์ เป็ นการเจริญพระพุทธคุณได้ ไหมพระเจ้ าข้ า เพราะฉะนนั้ พระอานนท์จงึ ขออนญุ าตน�ำต้น พระพทุ ธองค์ทรงตอบวา่ สำ� หรับพระธาตเุ จดีย์ยงั โพธิ์มาปลกู ไว้ที่วดั พระเชตวนั เพื่อเป็ นเครื่องร�ำลกึ ไมอ่ าจท�ำได้ในตอนนี ้ เพราะพระธาตเุ จดีย์จะมีได้ ถงึ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ครัน้ ได้รับพทุ ธานญุ าตวา่ ในกาลท่ีพระพทุ ธเจ้าเสด็จดบั ขนั ธปรินิพพานแล้ว ดีแล้ว อานนท์ เธอจงปลกู เถิดเม่ือเป็นเชน่ นนั้ ในวดั ส่วนต้ นพระศรี มหาโพธ์ิท่ีพระพุทธองค์ทรงอาศยั พระเชตวนั ก็จกั เป็ นดงั พระตถาคตประทบั อยู่เป็ น เป็นที่ตรัสรู้ นบั เข้าเป็นอทุ เทสกิ เจดีย์ สาธชุ น นิจ พระอานนท์จงึ ขอร้องให้พระมหาโมคคลั ลานะ สามารถกราบไหว้ ร� ำลึกถึงพระคุณและอานุภาพ ไปน�ำเมล็ดโพธิ์มาจากโพธิสถานเพ่ือปลูกถวาย อนั ไมม่ ีประมาณของพระพทุ ธเจ้าได้ เป็ นพุทธบูชาพระมหาโมคคัลลานะก็เหาะไปยัง โพธิสถานโดยน�ำชายจีวรรองรับผลโพธิ์ที่สกุ ซง่ึ เพราะฉะนนั้ ในครัง้ สมยั พทุ ธกาล หลน่ ลงจากขวั้ แล้วน�ำมามอบให้พระอานนท์ พุทธศาสนิกชนจึงยังไม่ได้ท�ำการปัน้ พระพุทธรูป หรือพทุ ธปฏิมากร เพราะทกุ คนยงั สามารถจดจ�ำ ๒๘
พระอานนท์เถระได้น�ำบุญพิเศษนีไ้ ปบอกให้ เขียวสงู ขนึ ้ มา ๑ ศอก ตงั้ เป็นแถวล้อมรอบต้นมหา- พระเจ้าปเสนทิโกศลและเจ้าภาพผ้อู ปุ ถมั ภ์มาช่วย โพธ์ิ แล้วรับสงั่ ให้ท�ำแทน่ รัตนะ ๗ สร้างก�ำแพงล้อม กนั ประกอบพิธีปลกู ต้นโพธิ์ใกล้ประตวู ดั พระเชตวนั รอบ ท�ำซ้มุ ประตดู ้วยรัตนะ ๗ ชนิด จากนนั้ มหาชน พระเจ้าปเสนทิโกศลเสดจ็ มาเป็นประธาน ฝ่ าย ก็ทยอยกันมาสักการบูชาต้ นพระศรี มหาโพธิ์ กัน อนาถบณิ ฑิกเศรษฐีมหาอบุ าสกิ าวสิ าขา และผ้มู ี มากมาย เมื่อพระบรมศาสดาเสดจ็ ดบั ขนั ธ- ศรัทธาทา่ นอื่น ๆ ตา่ งพากนั เดนิ ทางมาร่วมปลกู ต้น ปรินิพพานแล้วมหาชนก็น�ำต้นโพธิ์ไปเพาะปลกู ที่ โพธิ์กนั อยา่ งคบั คงั่ บ้านเกิดของตวั เอง มีการสบื ทอดความเลื่อมใสมา เมื่อถงึ เวลาประกอบพิธี พระราชาทรงมอบ ถึงยคุ ปัจจบุ นั ท่ีมีการสกั การะโพธิ์พฤกษ์กนั ทวั่ โลก หมายให้อนาถบิณฑิกเศรษฐีเป็ นผ้แู ทนพระองค์ใน ด้วยจิตท่ีเล่ือมใสในพระผ้มู ีพระภาคเจ้า เพราะ การปลกู เศรษฐีได้รวบรวมเปื อกตมท่ีมีกลน่ิ หอม ปรารภต้นพระศรีมหาโพธ์ินนั้ ด้วยจิตที่เล่ือมใสเม่ือ แล้วฝังเมลด็ โพธ์ิไว้ในเปื อกตม พอเมลด็ โพธิ์พ้น ละโลกไปแล้วท�ำให้มีสุคติโลกสวรรค์เป็ นท่ีไปกัน จากมือทา่ นเศรษฐี เหตอุ ศั จรรย์ก็บงั เกิดขนึ ้ คือ มากมาย สายตาทุกคู่ของมหาชนเห็นล�ำต้ นโพธิ์ ประมาณ ห ลั ง จ า ก พุ ท ธ ป ริ นิ พ พ า น ไ ด้ ไ ม่ น า น เทา่ งอนไถสงู ห้าสบิ ศอกแตกก่ิงใหญ่ ๕ ก่ิง ย่ืนออก พุทธศาสนิกชนผู้มีจิตเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ไปในทิศทงั้ ส่แี ละทิศเบือ้ งบนก่ิงละ ๕๐ ศอก อีกทงั้ นอกจากมีการบชู าต้นโพธิ์แล้ว ยงั พร้อมใจกนั สร้าง ยังเป็ นต้นไม้ที่ใหญ่กว่าต้นไม้ทุกชนิดท่ีมีในวัด พระธาตเุ จดีย์หรือพระสถปู เจดีย์ขนึ ้ เพ่ือเป็นการ พระเชตวนั สกั การบชู าพระพทุ ธองค์ พระสถปู เจดีย์ที่สร้างใน พระราชารับสง่ั ให้น�ำหม้อทองค�ำและหม้อเงิน แตล่ ะยคุ แตล่ ะสมยั นนั้ ล้วนเป็นไปเพื่อให้บคุ คลผ้มู ี ๘๐๐ หม้อ ใสน่ �ำ้ หอมจนเตม็ ประดบั ด้วยดอกบวั ศรัทธาในพระสมั มาสมั พทุ ธ-เจ้ามาเคารพสกั การะ กราบไหว้บชู า จะได้เป็นทางมาแหง่ มหากศุ ลอนั ยิ่ง ๒๙
ใหญ่ และถือวา่ เป็นศนู ย์รวมใจของพทุ ธศาสนิกชน ครัง้ หน่ึงในชีวิตของความเป็ นชาวพุทธหาก อีกด้วย บ้านเมืองไหนมีพระสถปู เจดีย์ประดษิ ฐาน ทา่ นใดมีเวลา เงินตรา ก็ควรหาโอกาสเดนิ ทางไป อยู่ ความสงบร่มเยน็ ก็จะบงั เกิดขนึ ้ เพราะพระ แสวงบญุ ณ สงั เวชนียสถานทงั้ ๔ แหง่ คือ สถานที่ เจดีย์เป็ นส่ิงท่ีจะคอยยกใจให้สงู ขนึ ้ จากอาสวกิเลส ประสตู ิ ตรัสรู้ แสดงธรรม และปรินิพพาน เพ่ือ เป็นสงิ่ เตือนใจไมใ่ ห้คดิ พดู ท�ำอกศุ ลทงั้ หลาย เป็ นการเจริญศรัทธาในพุทธคุณได้ไปสัมผัสดิน แดนพทุ ธภมู ิ สถานท่ีอบุ ตั ขิ นึ ้ ทงั้ รูปกายและ ความเล่ือมใสในพระสัมมาสัมพุทธเจ้านับ ธรรมกายของพระพทุ ธเจ้า สว่ นทา่ นท่ียงั ไมม่ ี เป็นสดุ ยอดของความเลื่อมใสทงั้ มวล เพราะ โอกาสไป ถ้าหากยามใดอยากกราบไหว้พระบรม พระพุทธองค์ทรงมีอานุภาพไม่มีประมาณเมื่อ ศาสดา ก็ให้หมนั่ ตรึกระลกึ ถงึ พระในตวั หรือไป บคุ คลเลื่อมใสในวตั ถทุ ่ีควรเล่ือมใสซ่ึงเป็ นส่ิงแทน กราบนมสั การพระเจดียสถานตา่ ง ๆ ในเมืองไทย พระพทุ ธองค์ ผลบญุ จงึ สง่ ให้ไปสสู่ คุ ติ ในยคุ หรือไปที่พระมหาธรรมกายเจดีย์ก็ได้ พร้อมกบั สวด ปัจจบุ นั นอกจากต้นพระศรีมหาโพธิ์แล้ว เรายงั มี ส ร ร เ ส ริ ญ พ ร ะ พุท ธ คุณ แ ล ะ เ จ ริ ญ พุท ธ า นุส ติ มี พระธาตเุ จดีย์ซง่ึ ประดิษฐานอยตู่ ามพทุ ธสถานตา่ ง พระพุทธเจ้าเป็ นอารมณ์นีก้ ็เป็ นทางมาแห่งบุญ ๆ หลายแหง่ ทวั่ โลกรวมถงึ เจดีย์ในประเทศไทยของ ใหญ่ของเราเชน่ กนั เราก็มีอยู่ทั่วไปเมื่อสาธุชนไปกราบไหว้ ด้ วยจิตที่ เลือ่ มใส ก็จะได้อานิสงส์เหมือนกนั ดงั พทุ ธพจน์ท่ี อานิสงส์บชู าสง่ิ แทนพระพทุ ธองค์ วา่ ชนเหลา่ ใดเที่ยวจาริกไปยงั เจดีย์ มีจิตเล่อื มใส เร่ือง : พระมหาเสถียร สวุ ณฺณฐิโต ป.ธ.๙ ในพระตถาคต ครัน้ ท�ำกาละแล้ว ชนเหลา่ นนั้ ทงั้ หมดเบือ้ งหน้าแตต่ ายเพราะกายแตก จกั เข้าถงึ ภาพประกอบ : กองพทุ ธศลิ ป์ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ วารสารอยใู่ นบญุ ฉบบั เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓๐
ความรู้รอบตวั หลกั ฐานธรรมกายในคมั ภรี พ์ ทุ ธโบราณ(ตอนท่ี๑๒) ผ้เู ขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุป ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ ๒ ซม. ด้านหน้ายกขอบโดย โดยยอ่ “เส้นทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา” รอบ ภายในขอบเป็นรูปพระพทุ ธเจ้า รอบองค์พระ ตงั้ แตย่ คุ เร่ิมต้นจนถงึ ฉบบั นี ้ยคุ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ปรากฏจารึกอกั ษรปัลลวะเขียนคาถา เย ธมั มา.. นบั เป็นเวลา ๑ ปี พอดีที่ได้น�ำเสนอสสู่ ายตาของ เป็ นสองวงซ้อนบรรทดั กนั ลกั ษณะอกั ษรอยในช่วง เหลา่ สมาชิกผ้ใู จบญุ ทกุ ทา่ น และเช่ือวา่ คงเกิด พทธุ ศตวรรษท่ี ๑๒-๑๓ พบพระพิมพ์ดงั กลา่ วกวา่ ภาพและความเข้าใจมากขนึ ้ ซงึ่ ผ้เู ขียนและคณะ สองพนั องค์ที่ต�ำบลเขาศรีวิชยั อ�ำเภอพนุ พิน ตา่ งปลืม้ ปี ตทิ ี่ได้ประมวลเร่ืองราวดี ๆ นี ้ แล้วน�ำ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี เสนอแดท่ กุ ทา่ นเป็นธรรมทาน ในวาระมหามงคลที่ จะมาถงึ ในวนั เพญ็ ขนึ ้ ๑๕ ค่�ำ เดือน ๖ คือวนั จากการขดุ ค้นเมืองโบราณยะรังในเขตจงั หวดั วิสาขบชู า จงึ ถือเป็นการน้อมร�ำลกึ ถวายเป็นพทุ ธ- ปัตตานี พบพระสถปู จ�ำลองและชิน้ สว่ นแตกหกั บชู าอีกด้วย มากมาย ตวั อยา่ งจารึกสถปู จ�ำลองดนิ เผาที่คอ่ น ต่อจากฉบับที่แล้วท่ีกล่าวว่ามีการพบศิลา ข้างสมบูรณ์มีจารึกอักษรปัลลวะภาษาสนั สกฤต จารึกที่ใช้อกั ษรปัลลวะ ภาษาสนั สกฤต ที่จงั หวดั เป็นคาถา เย ธมั มา.. และได้พบพระพิมพ์ดนิ ดบิ อีก นครศรีธรรมราช ในภาคใต้ของประเทศไทย ซง่ึ มี เป็นจ�ำนวนมาก ด้านหน้าเป็นพระพทุ ธรูปประดบั เนือ้ หา “กลา่ วถงึ การฉลองพระธาตเุ จดีย์ที่สำ� คญั ด้วยเจดีย์ทงั้ ๒ ข้างข้างละองค์ กลมุ่ จารึกและ ที่มีการท�ำบุญบูชาพระเจดีย์ด้ วยดอกไม้ ธูปเทียน โบราณวตั ถุเหล่านีบ้ ่งชีถ้ ึงการรับนับถือพระพุทธ- แล้ว ก็มีการถวายภตั ตาหาร รวมทงั้ การเลีย้ ง ศาสนา นิกายเจตยิ วาทหรือไจตกิ ะ อนั เป็นสาขา อาหารแก่บคุ คลทวั่ ไปและที่สำ� คญั ยงั ระบชุ ดั วา่ มี ของนิกายมหาสางฆิกะ การฟังพระธรรมเทศนาและการปฏิบตั ิธรรม ซง่ึ ทางผ้เู ขียนและคณะลงความเหน็ วา่ หากเนือ้ หา อักษรปัลลวะที่ปรากฏในจารึกโบราณใน จารึกที่กล่าวว่า“การปฏิบตั ิธรรมนัน้ หมายรวมถึง พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๒ นนั้ ตอ่ มาได้ประดิษฐ์เป็น การท�ำสมาธิ(Meditation)ภาวนา” แล้วก็เทา่ กบั วา่ อกั ษรมอญโบราณสายหนง่ึ ซง่ึ พฒั นาตอ่ ไปเป็น ศิลาจารึกหลักดังกล่าวนีเ้ ป็ นหลักฐานท่ีเก่าแก่ อกั ษรพมา่ อกั ษรธรรมของล้านนา อกั ษรธรรมล้าน (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒) ซง่ึ บง่ ชดั ให้เราได้ทราบวา่ มี การท�ำสมาธิภาวนาแบบพระพุทธศาสนาในช่วง ๓๑ เวลานนั้ ท่ีภาคใต้ของประเทศไทย สว่ นคาถา เย ธมั มา.. ท่ีเขียนเป็นภาษา สนั สกฤตด้วยอกั ษรปัลลวะนนั้ หลกั ฐานทาง โบราณคดีที่สำ� คญั คือจารึกบนพระซ้มุ ศรีวชิ ยั ซง่ึ เป็นพระพิมพ์ดนิ เผา มีสณั ฐานทรงกลมคร่ึงซีก เส้น
จารึก เย ธมั มา... บนพระซ้มุ ศรีวิชยั อกั ษรปัลลวะภาษา จารึก เย ธมั มา... บนพระสถปู ดนิ เผาเมืองยะรัง สนั สกฤต พระพิมพ์ดนิ เผา พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ พบที่ อกั ษรปัลลวะ ภาษาสนั สกฤตพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ บริเวณวดั เขาศรีวชิ ยั อ�ำเภอพนุ พิน จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง ฐาน ๗.๕ ซม. ยอด ๒.๔ ซม. ที่มา http://thaibigplaza.com/img/18c/7a4/18c7a439 สงู ๑๑.๗ ซม. c13d9c218bb9c8817c3555a8_0.jpg เมื่อ พระชนมายไุ ด้๓๒ พรรษา เสดจ็ ออกผนวช ช้าง และอกั ษรธรรมอีสาน และอีกสายหนง่ึ พฒั นา พร้อมพระราชโอรส ๒ พระองค์ โดยมีพระมหาเถระ เป็นอกั ษรขอมโบราณ ซงึ่ เป็นต้นแบบของอกั ษร ราชครุ ุเป็นประธานในการผนวช ขอมในกมั พชู า อกั ษรขอมในไทย และอกั ษรไทย จารึกหลกั นีแ้ สดงวา่ อาณาจกั รหริภญุ ชยั นบั ถือปฏิบตั ิตามคติพระพทุ ธศาสนาเถรวาทแบบ หลกั ฐานทางพระพทุ ธศาสนาท่ีใช้อกั ษรมอญ เดียวกับที่นับถือปฏิบัติกันในสังคมชาวมอญใน โบราณ คือ ศลิ าจารึกพระเจ้าสววาธิสทิ ธิ ๑ (วดั พม่าและในพุกามสมัยพระเจ้ าอโนรธาช่วงพุทธ- ดอนแก้ว) จารึกด้วยภาษามอญโบราณและภาษา ศตวรรษที่ ๑๗ ซงึ่ มีคตนิ ิยมท่ีพระมหากษัตริย์จะ บาลี พบที่จงั หวดั ลำ� พนู ซง่ึ เคยเป็นศนู ย์กลาง เสดจ็ ออกผนวชชว่ั คราว อาณาจักรหริภุญชัยมาก่อนเนือ้ หาในจารึกกล่าว ในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ เป็นต้นมาสงั คมทาง ถงึ พระเจ้าสววาธิสทิ ธิกษัตริย์หริภญุ ชยั ทรง ภาคเหนือของไทยได้ รั กษาพระธรรมค�ำสอนใน สถาปนาวดั เชตวนั เมื่อพระชนมายไุ ด้ ๒๖ พรรษา พระพุทธศาสนาไว้ในลกั ษณะคมั ภีร์ใบลานท่ีจาร และเมื่อพระชนมายไุ ด้ ๓๑ พรรษา โปรดเกล้าฯ ให้ ด้วยอกั ษรธรรมล้านนา ซง่ึ เก็บไว้ในอารามตา่ ง ๆ สร้างกฏุ ิและเสนาสนะแดพ่ ระภิกษุสงฆ์ อีกทงั้ ให้ ทวั่ ทกุ จงั หวดั อยา่ งไรก็ตามวิทยาการการพิมพ์ จารพระไตรปิ ฎกไว้ และกลา่ วถงึ การสร้างพระ สมยั ใหม่ได้เข้ามาแทนท่ีท�ำให้คมั ภีร์ใบลานเสื่อม เจดีย์โดยพระเจ้าสววาธิสทิ ธิ พระชายา ๒ พระองค์ ความนิยม สว่ นต้นฉบบั ก็ถกู ลมื เลอื นและเส่ือม พระบรมวงศานวุ งศ์ และพระโอรส ซง่ึ พระเจดีย์ที่ สร้างมีจ�ำนวน ๓ องค์ ตงั้ อยดู่ ้านหน้าวดั เชตวนั เรียงตามแนวจากทิศตะวนั ออกไปทางทิศตะวนั ตก ๓๒
จ�ำลองอกั ษรจารึก รอบขอบฐานด้านนอก ที่มา http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/ inscribe_image_detail.php?id=746 จารึกพระเจ้าสววาธิสทิ ธิ ๑ (วดั ดอนแก้ว) อกั ษร มอญโบราณ ภาษามอญโบราณและบาลี หินทรายรูปใบเสมา ทะเบียนวตั ถุ ลพ.๑ พบท่ีจงั หวดั ลำ� พนู พทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ ท่ีมา http://www.sac.or.th/databases/ inscriptions/uploads/images/277_1.jpg สลายไปตามกาลเวลา จงึ ควรแก่การสงวนไว้ ประค�ำอีกหลายจารึก ในประเทศไทยพบจารึก เพื่อการศึกษาความคิดและรักษาคลงั ปัญญา เมืองพิมาย (นม.๑๗) จารึกปราสาท (สร.๔) จารึก ของบรรพชนอีกทางหนงึ่ ตอ่ ไป ตาเมียนโตจ (สร.๑) จารึกสรุ ินทร์ ๒ (สร.๖) และยงั ส�ำหรับอกั ษรขอมโบราณซง่ึ พฒั นามาจาก พบจารึกของพระเจ้าชยั วรมนั ที่ ๗ เชน่ นีอ้ ีกใน อกั ษรปัลลวะนนั้ หลกั ฐานโบราณคดีทาง กมั พชู าและลาว หลกั ฐานโบราณคดีเหลา่ นีบ้ ง่ ชีถ้ งึ พระพทุ ธศาสนาได้แก่ ศลิ าจารึกสมยั พทุ ธ- พระเดชานุภาพในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ศตวรรษที่ ๑๘ ของพระเจ้าชยั วรมนั ที่ ๗ ทรง มหายานไปทว่ั ดนิ แดนตา่ ง ๆ ในกมั พชู า และภาค เป็ นกษัตริย์พุทธมามกะผู้ทรงเดชานุภาพของ กลาง อีสาน ตะวนั ออก ตะวนั ตกของไทยรวมทงั้ กมั พชู า ศลิ าจารึกดา่ นประค�ำพบที่จงั หวดั ลาวบางสว่ น บรุ ีรัมย์ สร้างโดยพระเจ้าชยั วรมนั ท่ี ๗ เนือ้ ความ เร่ิมต้นด้วยการสรรเสริญพระพทุ ธเจ้าผ้ปู ระกอบ ๓๓ ไปด้วยพระธรรมกาย พระสมั โภคกายและพระ- นิรมานกาย จากนนั้ เป็นการกลา่ วถงึ พระราช ภารกิจของพระองค์ในการสร้างพระพทุ ธรูปไวโรจน ชินเจ้า สร้างโรงพยาบาล (อโรคยศาลา) และจดั เจ้า หน้าที่เพ่ือท�ำหน้าท่ีประจ�ำในโรงพยาบาล และ กลา่ วถงึ รายการสง่ิ ของที่พระเจ้าชยั วรมนั ท่ี ๗ พระราชทานไว้ประจ�ำโรงพยาบาล จบลงด้วยการ ถวายพระพรแดพ่ ระเจ้าชยั วรมนั ที่ ๗ นักโบราณคดีได้ พบศิลาจารึกท่ีมีเนือ้ หา คล้ายคลงึ จนเกือบจะเหมือนกนั เชน่ ศลิ าจารึกดา่ น
คมั ภีร์ใบลาน ธมั มกาย อกั ษรธรรมล้านนา ภาษาไทยและบาลี จารึกดา่ นประค�ำอกั ษรขอมโบราณ ภาษาสนั สกฤต สร้างโดยพระเจ้าชยั วรมนั ที่ ๗ กลา่ วสรรเสริญ พระพทุ ธเจ้าวา่ ทรงประกอบด้วยพระธรรมกาย พระสมั โภคกาย และพระนิรมานกาย พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ พบที่จงั หวดั บรุ ีรัมย์ ภาพโดย ชะเอม แก้วคล้าย ตงั้ แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ เป็นต้นมาดนิ แดนแถบภาคกลางของไทยได้ เก็บรักษาพระ- ธรรมค�ำสอนของพระพทุ ธศาสนาไว้ในรูปคมั ภีร์ อกั ษรขอม-ไทย ที่ปรับปรุงขนึ ้ ให้เหมาะสมกบั การเขียนภาษาไทย สว่ นในกมั พชู าใช้อกั ษร เขมร จนกระทงั่ วิทยาการตะวนั ตกน�ำระบบการ พิมพ์ด้วยเคร่ืองจกั รเข้ามา ความรู้และ ประสบการณ์ในด้ านพระพุทธศาสนาและ วทิ ยาการสาขาตา่ ง ๆ ของบรรพชนท่ีสะสมมา เป็นศตวรรษก็คอ่ ย ๆ เลอื นหายไปจากสงั คมเรา จึงควรอนรุ ักษ์น�ำกลบั มาศกึ ษาให้ได้ประโยชน์ ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะความเข้าใจในค�ำสอนดงั้ เดมิ พระพทุ ธศาสนาให้เดน่ ชดั ขนึ ้ ดังนัน้ ผู้เขียนและคณะนักวิจัยสถาบัน DIRI จงึ ขอปวารณาอทุ ิศตนท�ำหน้าท่ีดงั กลา่ ว ข้างต้นอยา่ งเตม็ ก�ำลงั เพื่อประโยชน์ตนและ ประโยชน์ทา่ นน้อมถวายเป็นพทุ ธบชู าสืบไป ๓๔
คมั ภีร์ใบลานธมั มกายาทิ ฉบบั เทพชมุ นมุ (รัชกาลที่ ๓) อกั ษรขอม - ไทย ภาษาบาลี วศนิ อินทสระ. (๒๕๓๐). อธิบายมิลนิ ทปัญหา, York : Köln:Brill (p.84). Hermann, Kulke; กรุงเทพฯ : สภาการศกึ ษามหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั Rothermund D (2001). A History of India. มหาวิทยาลยั พระพทุ ธศาสนาแหง่ ประเทศไทย. Routledge. ISBN 0-415-32920-5. วฒั นไชย. (๒๕๓๖). มิลนิ ทปัญหา : ธมั มวโิ มกข์ Sen, Sailendra Nath. (1999). Ancient Indian ฉบบั รวมเลม่ , อทุ ยั ธานี : ม.ป.พ. History and Civilization. New Age International, หมอ่ งทิน ออ่ ง. เพช็ รี สมุ ิตร แปล (๒๕๑๙). p.445. ISBN 9788122411980. ประวตั ศิ าสตร์พมา่ . กรุงเทพฯ : โครงการต�ำรา Sri Chamanlal. (1960). Hindu America. สงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ สมาคมสงั คม Bharatiya Vidya Bhava. สงเคราะห์แหง่ ประเทศไทย. เอลซา ไชนดุ นิ . เพช็ รี สมุ ิตร แปล (๒๕๕๒). ประวตั ศิ าสตร์อินโดนีเซีย, เรื่อง : พระสธุ รรมญาณวิเทศ วิ. (สธุ รรม สธุ มโฺ ม) กรุงเทพฯ : มลู นิธิโตโยต้าประเทศไทย. และคณะนกั วิจยั DIRI Chaihara, Daigoro. (1996). Hindu-Buddhist Architecture in Southeast Asia. Leiden, New จากวารสารอยใู่ นบญุ ฉบบั เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ๓๕
ความรู้รอบตวั หลกั ฐานธรรมกายในคมั ภรี พ์ ทุ ธโบราณ(ตอนท่ี๑๓) ผ้เู ขียนและคณะทีมงานของสถาบนั ฯ มีความ และค�ำจารึกตา่ ง ๆนอกจากนีจ้ ะได้น�ำหลกั ฐานผล ปลืม้ ปี ติท่ีได้ แสดงความกตัญญูตอบแทนและ งานวิจยั มาต่อยอดในงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณพระเทพ ได้เป็นอยา่ งดี ท้งั เป็นการสร้างความสมั พนั ธ์กบั ญาณมหามนุ ี วิ. (หลวงพอ่ ธมั มชโย) ท่ีเป็นองค์ นกั วชิ าการทวั่ โลก อนั จะน�ำไปสกู่ ารขยายผลให้ สถาปนาสถาบนั วิจัยนานาชาติธรรมชัยซ่ึงท่านมี ความรู้เรื่องธรรมกายขยายวงกว้าง เพื่อชว่ ยเป็น มโนปณิธานมาเป็นเวลากวา่ ๓๕ ปี วา่ นา่ จะมีใคร ทนายแก้ตา่ งให้พระพทุ ธศาสนาได้ สกั คนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรท�ำการค้นคว้าหา ในวนั งานเสวนาบชู าธรรมนนั้ ผ้เู ขียนและ หลกั ฐานค�ำสอนดงั้ เดิมของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า คณะได้รับการสนบั สนนุ จากกลั ยาณมิตรผ้ใู จบญุ ที่ โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ รื่ อ ง ธ ร ร ม ก า ย เ พื่ อ ท� ำ ค ว า ม จ ริ ง ใ ห้ เป็ นกรรมการที่ปรึกษาและอุปถัมภ์ของสถาบันฯ ปรากฏ ตลอดจนผ้ใู หญ่ใจดี จงึ ท�ำให้การจดั งานครัง้ นี ้ ในวาระอายวุ ฒั นมงคล ๗๒ ปี ของพระเดช ประสบความส�ำเร็จอย่างดียิ่งและที่ส�ำคญั การได้ พระคณุ หลวงพอ่ ผ้เู ขียนในฐานะประธานอ�ำนวย รับอนญุ าตให้ใช้อาคาร ๑๐๐ ปี คณุ ยายอาจารย์ การสถาบนั ฯ จงึ รวบรวมหมคู่ ณะท่ีอยใู่ นภาค มหารัตนอบุ าสกิ าจนั ทร์ขนนกยงู ถือเป็นนิมิต สนามตามแหล่งข้ อมูลท่ีกระจัดกระจายไปตาม หมายท่ีดีที่ได้ใช้อาคารห้องประชุมของผู้ก่อตงั้ วดั ทวีปตา่ ง ๆ ให้มาร่วมใจกนั จดั งานเสวนาบชู าธรรม พระธรรมกายในการจดั งานนี ้ ซง่ึ นบั วา่ เป็นมงคล ในเร่ืองหลกั ฐานธรรมกายในคมั ภีร์พทุ ธโบราณครัง้ อยา่ งยิ่ง แม้วา่ อาคารยงั ก่อสร้างไมส่ มบรู ณ์และยงั ที่ ๓ ณ ห้องประชมุ ชนั้ ๑ อาคาร ๑๐๐ ปี คณุ ยาย ไมไ่ ด้มีการสง่ มอบงาน แตค่ ณะผ้จู ดั งานก็ได้รับ อาจารย์มหารัตนอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู ณ วดั ความเมตตาจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อและ พระธรรมกาย เมื่อวนั ที่ ๓๐ เมษายนท่ีผา่ นมา โด คณะกรรมการบริหารองค์กร และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ยมีผ้สู นใจเข้าร่วมเสวนาและรับฟังทงั้ พระภิกษุ ภายในวดั จงึ ขอโอกาสอนโุ มทนาบญุ ขอบคณุ ทา่ น สามเณรอบุ าสกอบุ าสกิ ารวมทงั้ เหลา่ กลั ยาณมิตร ทงั้ หลายเหลา่ นนั้ และขอบคณุ หนว่ ยงานทกุ ๆ เป็นจ�ำนวนถงึ ๑,๕๐๐ ทา่ นซง่ึ ทกุ ทา่ นตา่ งตงั้ ใจรับ ส�ำนกั ท่ีสง่ อาสาสมคั รรวมทงั้ ให้ยืมอปุ กรณ์จน ฟังโดยไมล่ กุ จากท่ีนงั่ ทงั้ ในภาคเช้าและภาคบา่ ย การจดั งานดงั กล่าวถือว่าบรรลวุ ตั ถุประสงค์ และได้กลมุ่ เป้ าหมายท่ีสนใจเข้าฟังการเสวนาทาง วิชาการตรงตามที่ตงั้ ใจไว้ ท�ำให้ทกุ คนได้ความรู้ และเข้าใจวา่ จากการท�ำ วิจยั ในภาคสนามหลาย แหง่ ได้พบหลกั ฐานที่ปรากฏอยจู่ ริง อ้างอิงได้ ชดั เจน ท�ำให้มีความเข้าใจในเรื่องธรรมกายอยา่ ง ถ่องแท้วา่ มีหลกั ฐานปรากฏในคมั ภีร์พทุ ธโบราณ ๓๖
ท�ำให้งานสำ� เร็จด้วยดี ๓.หลกั ฐานธรรมกายในเอเชียใต้และเอเชีย ฉบบั นี ้ ผ้เู ขียนจงึ ขอสรุปบรรยากาศการ อาคเนย์ เสวนาและย่อเนือ้ หาความรู้ของผู้วิจัยท่ีปฏิบัติ ๔.หลกั ฐานธรรมกายในคมั ภีร์พทุ ธบาลี หน้าที่ในภาคสนามจากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ดงั นี ้ ในสว่ นท่ี ๑ ผ้เู ขียนเป็นผ้นู �ำเสนอ โดยบรรยาย เรื่อง “ภมู ิศาสตร์ของหลกั ฐานธรรมกายในเส้น ในงานนีม้ ีพิธีส�ำคญั ประการหนงึ่ คือ พิธีลง ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา” มีสาระส�ำคญั ที่ได้ นามสัญญาเพ่ื อความร่ วมมื อทางวิชาการด้ าน ปรารภในเบือ้ งต้นวา่ พระเดชพระคณุ พระเทพ- พระพทุ ธศาสนา ระหวา่ งสถาบนั วจิ ยั นานาชาติ ญาณมหามนุ ี วิ. (หลวงพอ่ ธมั มชโย) ทา่ นมีความ ธรรมชยั (Dhammachai International Research ตงั้ ใจสืบค้นค�ำสอนดงั้ เดิมของพระสมั มาสมั พทุ ธ- Institute-DIRI) กบั หนว่ ยงาน International เจ้าโดยให้หาหลกั ฐาน ไมว่ า่ จะจารึกบนั ทกึ อยใู่ น Buddha Education Institute (IBEI) รูปแบบลกั ษณะ หรือวตั ถชุ นิดใด เพื่อท�ำหน้าท่ีเป็น ในวนั งานนกั วิจยั ได้น�ำเสนอผลงาน โดยแบง่ ทนายแก้ ต่างพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะเรื่อง เป็น ๔ สว่ น ดงั นี ้ “ธรรมกาย” ซงึ่ ผ้เู ขียนและคณะได้เริ่มเข้ารับการ ๑.ภูมิศาสตร์ของหลักฐานธรรมกายในเส้น ศกึ ษาพฒั นาตนเองในมหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ เพื่อให้ ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ได้ความรู้เกี่ยวกบั การท�ำวจิ ยั และเริ่มท�ำการ ๒.หลักฐานธรรมกายในเอเชียกลางและ สำ� รวจในภาคสนาม ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๔๒ โดยคณะ เอเชียตะวนั ออก ท�ำงานชดุ แรกมี ๔ ทา่ น ได้รับความเมตตาจากผู้ เช่ียวชาญพระพทุ ธศาสนาเถรวาท คือ Dr. Edward Crangle รับเป็นที่ปรึกษาโครงการ โดยเริ่มท�ำการ ๓๗
๓๘
พัฒนาตนเองและเรียนรู้เกี่ยวกับการท�ำวิจัยตาม ประเภทท่ี ๑ และ ๒ เชน่ กระดาษ กระดาษขอ่ ย ระบบสากลในภาคพืน้ โอเชียเนีย และเข้าร่วม หนงั สอื ไทย พบั สาทองค�ำ เงิน ฯลฯ ประชมุ ด้านวิชาการพระพทุ ธศาสนาท่ีมีการประชมุ ตอ่ มา เม่ือคณะท�ำงานมีการพฒั นาตวั เองใน ในระดบั นานาชาตใิ นทวีปยโุ รป ตามด้วยทวีป ด้านตา่ งๆมากขนึ ้ ในที่สดุ ก็มีการจดั ตงั้ สถาบนั วิจยั อเมริกา จนท�ำให้ทราบวา่ มีแหลง่ ข้อมลู คมั ภีร์พทุ ธ นานาชาติธรรมชยั (DIRI) ขนึ ้ มา โบราณและร่องรอยหลักฐานธรรมกายอยู่หลาย ราวปี พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒ ผ้เู ขียนอาสาตน แหง่ ตอ่ มาทางสถาบนั ฯ มีทีมงานนกั วจิ ยั มาเพ่ิม รับเป็นธรุ ะเพ่ือสานมโนปณิธาน โดยเร่ิมจากการ มากขนึ ้ จงึ ท�ำให้สามารถแบง่ ความรับผิดชอบการ เชิญชวนอาสาสมัครท่ีมีความตัง้ ใจเช่นเดียวกัน ท�ำงานวิจยั ไปตามแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ เชน่ ทวีป มาสร้างทีมงานด�ำเนินการ โดยน�ำคณุ ธรรม อิทธิ เอเชีย อนั ได้แก่เอเชียกลาง เอเชียใต้ เอเชียตะวนั บาท ๔ (ฉนั ทะ วริ ิยะ จิตตะวมิ งั สา) ซง่ึ เป็นวธิ ีการที่ ออก และเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง จะน�ำมาซงึ่ ความสำ� เร็จ ประเทศลาวเวียดนาม กมั พชู า เมียนมาร์ ศรีลงั กา ผลการดำ� เนินงานท่สี ำ� คัญ ๆ ท่สี ามารถสรุปได้ รวมทงั้ ไทยด้วย จากงานเสวนาฯ ครัง้ ท่ี ๓ นี้ ได้แก่ ต้องถือวา่ คณะนกั วิจยั สถาบนั ฯ เริ่มต้น ๑. ได้ท�ำการส�ำรวจและลงภาคสนามเพื่อการ ท�ำงานโดยมีต้นทนุ จากศนู ย์ก็วา่ ได้ แตเ่ ราก็ สบื ค้นวจิ ยั รวมทงั้ สนิ ้ ๒๒ ประเทศ ขวนขวายเข้าพบกบั ผ้รู ู้ นกั ปราชญ์ ทงั้ ชาวไทยและ ๒. ได้สร้างความสมั พนั ธ์กบั นกั วชิ าการ ต่างประเทศท่ีมีความสามารถในการอ่านอักษร พระพุทธศาสนาและลงนามสัญญาร่วมมือทาง โบราณและท�ำงานในด้ านการอนุรั กษ์ ปริ วรรต วชิ าการ รวม ๑๒ องค์กร/ประเทศ คมั ภีร์พทุ ธโบราณ และตอ่ มาได้ลงไปท�ำงานภาค สนามกับผู้เช่ียวชาญอีกหลายท่านผลการศึกษา ๓๙ พบวา่ เอกสารโบราณนนั้ มีอยู่ ๓ ประเภท คือ ๑. ศลิ าจารึก ๒. การบนั ทกึ ในคมั ภีร์ใบลานหรือ เปลือกไม้ ๓. วสั ดทุ ่ีมีการจารึก ซงึ่ ไมใ่ ชแ่ บบ
พระชยานนั ทมนุ ี, ดร. ในนามศนู ย์วจิ ยั พทุ ธศาสตร์นครนา่ น มจร. เเละวดั พระธาตแชแ่ ห้งน้อมถวาย ใบประกาศเกียรตคิ ณุ เเดพ่ ระเดชพระคณุ พระเทพญาณมหามนุ ี ว.ิ ท่ีได้สนบั สนนุ โครงการ อนรุ ักษ์มรดกภมู ิปัญญาไทย ด้วยการจดั ท�ำดจิ ิไทเซชนั คมั ภีร์ใบลานล้านนา ฉบบั นครนา่ น รวมทงั้ สนบั สนนุ การศกึ ษานกั ธรรม–บาลีทงั้ ภายในเเละตา่ งประเทศ โดยมีพระสธุ รรมญาณวิเทศ วิ. เป็นผ้เู เทนรับมอบ พิธีลงนามสญั ญาเพื่อร่วมมือทางวชิ าการ (MOU) ระหวา่ ง Chairman ของสถาบนั IBEI (Most Ven. Loknayak Ashva Ghosh Mahanayak Mahathera) กบั พระสธุ รรมญาณวิเทศ วิ. (สธุ รรม สธุ มโฺ ม) Chairman ของสถาบนั DIRI โดยมี Dr. Heero Hito และ Dr. Jeffrey Wilson ร่วมเป็นสกั ขีพยาน ๔๐
หนงั สอื พิมพ์แหง่ ชาติอินเดีย Hindustan (มียอดจ�ำหนา่ ยตอ่ วนั ๑,๐๐๐,๐๐๐ ฉบบั ) ตีพิมพ์พิธีลงนามสญั ญา (MOU) ในวนั งานเสวนาบชู าธรรมครัง้ นีด้ ้วย แผนที่โลกท่ีแสดงถงึ จดุ ภมู ิศาสตร์แหลง่ ข้อมลู และหลกั ฐานธรรมกาย ท่ีคณะนกั วิจยั สถาบนั DIRI ปฏิบตั งิ านสำ� รวจภาคสนาม ๔๑
๓. ได้ความรู้และหลกั ฐาน เร่ือง : พระสธุ รรมญาณวเิ ทศ ว.ิ (สธุ รรม สธุ มโฺ ม) โดยเฉพาะร่ องรอยเกี่ยวกับ และคณะนกั วจิ ยั DIRI ธรรมกายจากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ รวมถงึ ๑๑ ประเทศ (แตก่ ็ทราบ จากวารสารอยใู่ นบญุ ฉบบั เดือนมิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๕๙ วา่ ยงั มีแหลง่ ข้อมลู ชนั้ ปฐมภมู ิอยู่ อีกหลายประเทศท่ีคณะของเรา ยงั ศกึ ษาไมล่ ะเอียด) ส�ำหรับปี นีท้ างสถาบนั ฯ ได้ รวบรวมผลงานวิจัยที่ได้ ข้ อมูล หลกั ฐานเพิ่มขนึ ้ และน�ำมาจดั พิ ม พ์ เ ผ ย แ ผ่ เ ป็ น ธ ร ร ม ท า น ประกอบกบั สจู ิบตั รปี นีม้ ีข้อความ เนือ้ หา สรุปถาม-ตอบเรื่อง ธรรมกาย ท่ีล้วนเป็นสาระส�ำคญั เป็นอรรถเป็นธรรม มีหลกั ฐานบง่ ชดั เจน เมื่ออา่ นศกึ ษาอยา่ ง ละเอียดแล้วสามารถน�ำไปขยาย ผลให้ สาธารณชนในวงกว้ างได้ รับทราบความรู้แท้จริงนีส้ บื ไป คณะนกั วิจยั สถาบนั DIRI พ ร้ อ ม ด้ ว ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ท่ี ปรึกษาและอปุ ถมั ภ์ รวมทงั้ ผ้สู นบั สนนุ โครงการมา ด้วยดี ขอพร้อมใจกนั น�ำความส�ำเร็จในการจดั งาน ครัง้ นี ้ น้อมถวายบชู าธรรมให้เป็นพลวปัจจยั สง่ ผล ให้พระเดช-พระคณุ พระเทพญาณมหามนุ ี วิ. (หลวงพอ่ ธมั มชโย) มีสขุ ภาพแขง็ แรง อายขุ ยั ยืนยาวปราศจากหมภู่ ยั พาลทงั้ สนิ ้ เป็นท่ีพงึ่ และ น�ำพาหมคู่ ณะ เหลา่ กลั ยาณมิตร และสรรพสตั ว์ทงั้ หลายสร้างบารมีม่งุ ตรงต่อพระนิพพานจนถึงที่สดุ แหง่ ธรรมเทอญ โปรดตดิ ตามเรื่องท่ีนา่ สนใจของการจดั เสวนา บชู าธรรมในฉบบั ตอ่ ไป ๔๒
๔๓
ติดต่อสอบถามโทร.02-831-1774 www.dmc.tv ให้คณุ อย่ใู นบญุ ตลอดเวลา
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: