๔ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี
ผแู้ ต่ง นายนรนิ ทรธิเบศร์ เดมิ ชื่อ อนิ ไดร้ บั ราชการ เปน็ มหาดเล็ก ฝา่ ยพระราชวังบวร (วังหนา้ ) ในสมยั รัชกาลที่ ๒ ไดร้ บั พระราชทานยศเป็นหุ้มแพร มบี รรดาศกั ดิ์ นายนรนิ ทรธิเบศร์ จงึ มักเรียกกนั ว่า นายนรนิ ทรธิเบศร์ (อนิ ) คือใสช่ ือ่ เดมิ เขา้ ไปด้วย
ความหมายของนริ าศ นริ าศ คือบทประพันธ์ที่แตง่ ข้ึนเพอื่ บรรยายถงึ สภาพการเดนิ ทาง สมัยกอ่ นการเดินทางคอ่ นข้าง ลำบากและใช้เวลานาน นกั เดนิ ทางจึงแกเ้ หงาด้วย การประพนั ธบ์ ทกวี พรรณนาถึงการเดินทาง และ สภาพภูมิประเทศ โดยมากมกั โยงเข้ากับความรกั ท่ีมาของนริ าศ นายนรนิ ทรธิเบศร์ (อนิ ) ไดแ้ ตง่ นิราศเรื่องนี้ เมอ่ื คราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาเสนา นุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า ซึ่งยกลงมาตีเมอื ง ถลางและชมุ พร ในชว่ งต้นรชั กาลท่ี ๒ เมื่อปมี ะเส็ง (พ.ศ. ๒๓๕๒)
ลักษณะคำประพนั ธ์ นิราศนรนิ ทร์แต่งดว้ ยโคลงส่ีสภุ าพ ๑๔๓ บท โดยมรี ่ายสุภาพขน้ึ ตน้ ๑ บท ผแู้ ตง่ ประณตี ในการคดั สรรคำและความหมาย ดว้ ยสำนวนภาษาที่เกา่ ถึงยุค รัตนโกสินทรต์ อนต้น จึงมคี ำศัพทจ์ ำนวนไมน่ อ้ ยท่เี ขา้ ใจยาก แผนผงั รา่ ยสุภาพ
ลักษณะคำประพนั ธ์ ) นริ าศนรนิ ทร์แตง่ ดว้ ยโคลงส่ีสุภาพ ๑๔๓ บท แผนผงั โคลงสส่ี ุภาพ ( ()
เน้ือหาของนิราศ • เรมิ่ เรอื่ งด้วยร่ายสุภาพ ยอพระเกยี รตพิ ระมหากษัตริย์ แล้วกลา่ วถงึ ความ เจรญิ ของบ้านเมือง • จากน้นั จึงรำพนั ถึงการจากนางอันเปน็ ทรี่ กั และพรรณนาสถานที่ทีผ่ า่ นไป • ออกเดินทางเร่มิ ต้นจากคลองขุดผา่ นวัดแจ้ง คลองบางกอก(ใหญ่) วัด หงส์ วัดสงั ข์กระจาย บางยีเ่ รือ(คลอง) ดา่ นนางนอง บางขนุ เทยี น บางบอน บางหวั กระบือ โคกขาม คลองโคกเต่า มหาชยั ท่าจีน บ้านบ่อ นาขวาง คลองสามสบิ สองคด คลองย่านซื่อ แมก่ ลองปากน้า(ออกทะเล) บ้านแหลม ค้งุ คดอ้อย เพชรบุรี ชะอำ หว้ ยขม้ิน ท่าข้าม เมืองปราณบุรี สามรอ้ ยยอด ทุง่ โคแดง (ทุ่งวัดแดง) อา่ วนางรม (อา่ วประจวบ) บางสะพาน ขามสาวบา่ ว อู่แห้ง เขาหมอนเจา้ โพสลบั ลบั ยกั ษ์ เมืองแม่น้า อสู่ ะเภา หนองบวั แก่ง ตุม่ แก่งคุลาตอี ก แก่งแกว้ (แกง่ แกว้ สงสาร) แกง่ นางครวญ ปากนา้ (รว่ ม) เขาเพชร จนถงึ ตระนาว (ตะนาวศร)ี เป็นทหี่ มายปลายทาง
เสน้ ทางการเดนิ ทาง บางขุน คลองขุด (คลองผดงุ กรุง เทยี น เกษม) แม่น้าแม่กลอง คลองบางกอก ใหญ่ ตะนาวศรี แมน่ ้าท่าจีน แหลม เพชรบุรี
รา่ ยสภุ าพ ศรีสิทธพ์ิ ศิ าลภพ เลอหลา้ ลบลม่ สวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากวา้ ง แผนแผน่ ผ้างเมอื งเมรุ ศรีอยุธเยนทร์แยม้ ฟ้า แจกแสงจา้ เจดิ จันทร์ เพียงรพิพรรณผอ่ งดา้ ว ขนุ หาญห้าวแหนบาท สระทกุ ขร์ าษฎร์รอนเสีย้ น สา่ ยเศกิ เหลยี้ นลง่ หล้า ราญราบหนา้ เภรนิ เขญ็ ขา่ วยินยอบตวั ควบคอ้ มหัวไหว้ละลา้ ว ทุกไทนา้ วมาลย์นอ้ ม ขอออกอ้อมมาอ่อน ผอ่ นแผน่ ดนิ ใหผ้ าย ขยายแผน่ ฟ้าใหแ้ ผ้ว เลี้ยงทแกลว้ ให้กลา้
แปลความรา่ ยสภุ าพ ขอความดงี ามจงบังเกดิ แกแ่ ผ่นดนิ อันกวา้ งใหญ่ อนั ประเสริฐย่ิงจนอาจขม่ สวรรค์ เปรียบดงั เมืองสวรรค์ ณ เขาพระสุเมรุ และเป็นที่คา้ จนุ โลกอัน กว้างใหญ่ แผ่นดนิ ท่ี กล่าวถงึ นี้ คือ กรุงรัตนโกสนิ ทรอ์ นั เรอื งรุ่ง ความสวา่ งรงุ่ เรืองนัน้ แจม่ แจ้งยิ่งกวา่ แสงเดือน จะเปรียบไดก้ ก็ บั แสงตะวนั มีเสนาอำมาตยค์ อยพิทกั ษร์ กั ษาพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงขจัดความทุกข์ของประชาราษฎร และทำลายขา้ ศึกใหส้ ้ินไปราบเปน็ หน้ากลอง บรรดาศัตรูเพียงไดย้ ินชอื่ กรงุ กต็ อ้ งพากันน้อมตวั กราบไหว้เพราะความยำเกรง บรรดาเจา้ เมอื งต่างๆ กส็ ่งเคร่อื งราชบรรณาการมาถวายแดพ่ ระมหากษัตรยิ ์แหง่ กรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ไดท้ รงขยายพระราชอาณาเขตให้กวา้ งขวางออกไป ใหบ้ า้ นเมอื งมีความสขุ สงบ พระองคก์ ็ทรงทำนบุ ำรงุ บรรดาทวยหาญให้มนี ้าใจแกลว้ กลา้
โคลงสส่ี ภุ าพ ลอยสวรรค์ ลงฤา เจดิ หล้าสวรรค์ ๑. อยธุ ยายศลม่ แล้ว ศาสนร์ ุ่ง เรอื งแฮ สงิ หาสนป์ รางคร์ ัตนบ์ รร- ฝึกฟนื้ ใจเมือง บุญเพรงพระหากสรรค์ บงั อบายเบิกฟา้ กรุงศรอี ยธุ ยาลม่ สลายไปแล้ว กลับลอยลงมาจากสวรรค์อกี ครง้ั หน่งึ นนั่ คือกรุงเทพมหานคร พระราชอาสน์ พระปรางค์ ประดับประดาดว้ ยแก้ว มณีงามเด่นในโลก เปน็ เพราะผลบุญพระมหากษัตริยไ์ ดท้ รงกระทำไว้แต่ เก่าก่อน พระพทุ ธศาสนาจงึ ได้เจรญิ รงุ่ เรอื ง ชว่ ยปิดทางแห่งความช่วั เปดิ ทางสู่ความดีงาม ฟืน้ ฟจู ิตใจราษฎรใหพ้ น้ จากความงมงายในบาปตา่ งๆ
๒. เรอื งเรืองไตรรตั น์พ้น พันแสง รินรสพระธรรมแสดง คา่ เชา้ เจดยี ์ระดะแซง เสียดยอด ยลยิ่งแสงแกว้ เกา้ แก่นหลา้ หลากสวรรค์ พระพุทธศาสนาเจริญรงุ่ เรืองยง่ิ กว่าแสงอาทิตย์ ประชาชนฟังธรรมะ ดว้ ยความซาบซึ้งใจทกุ เชา้ ค่า เจดยี ์มากมายสูงเสยี ดฟา้ แลดเู หน็ แสง แวววาวย่งิ กวา่ แสงจากแก้ว ๙ ประการ เป็นความงามท่โี ดดเด่นในโลก พระพุทธศาสนาเปน็ หลกั ของโลก จนทำใหเ้ ปน็ ทม่ี หัศจรรยแ์ ก่สวรรค์
๔. โบสถร์ ะเบียงมณฑปฟื้น ไพหาร ธรรมาสน์ศาลาลาน พระแผ้ว หอไตรระฆงั ขาน ภายค่า ไขประทีปโคมแก้ว ก่าฟ้าเฟอื นจันทร์ พระอโุ บสถ พระระเบียง พระมณฑป พระวิหาร รวมท้งั ธรรมาสน์ ศาลา หอไตร ลานวดั แลดสู ะอาดหมดจด เสยี งระฆงั ตีบอกเวลายามคา่ แสงสว่างจากโคมไฟดงู ดงามแขง่ แสงจนั ทร์
๘. จำใจจากแมเ่ ปลอื้ ง ปลิดอก อรเอย เยยี วว่าแดเดียวยก แยกได้ สองซกี แล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่ ภาคพไี่ ปหนึ่งไว้ แนบเนอื้ นวลถนอม จำใจตอ้ งจากนอ้ งนางอันเป็นท่รี กั ไปเหมอื นหัวใจ ของพ่ถี ูกพรากไปจากอกนอ้ งหากแมว้ า่ ดวงใจของพี่ แบง่ แยกได้ หากผ่าหัวใจของพีอ่ อกเปน็ สองดวงได้ ดวง หนงึ่ เอาไวก้ ับตวั พ่ีขณะเดนิ ทาง อีกดวงหนงึ่ ฝากไว้ใหน้ ้อง เก็บแนบใจไว้
๑๐. โฉมควรจักฝากฟ้า ฤาดนิ ดฤี า เกรงเทพไทธ้ รณินทร์ ลอบกลา้ ฝากลมเลอ่ื นโฉมบิน บนเล่า นะแม่ ลมจะชายชกั ช้า ชอกเนื้อเรียมสงวน จะฝากนางไวก้ บั ฟากฟา้ หรอื ผนื ดินดีเพราะกลวั วา่ ถ้าไวก้ บั ผืนดนิ พระเจ้าแผ่นดินจะมาลอบเชยชมนางแตถ่ า้ ฝากไว้บนฟ้าก็กลัวเทวดาจะมาลอบเชยชมนางจะฝากนาง ไวก้ บั สายลมก็กลัวลมพัดทำให้ผิวนางมีรอยชา้
๑๑. ฝากอมุ าสมรแม่แล้ ลักษมี เล่านา ทราบสวยภวู จักรี เกลอื กใกล้ เรยี มคิดจนจบตรี โลกล่วง แลว้ แม่ โฉมฝากใจแม่ได้ ยง่ิ ดว้ ยใครครอง จะฝากนางไวก้ ับใครดีจะฝากนางไว้กับพระแมอ่ ุมาก็ กลัวพระอศิ วร จะมาเชยชมนางหรือจะฝากไว้กับพระ ลักษมีก็เกรงวา่ พระนารายณ์จะเขา้ ใกล้ชดิ นางพ่ีคดิ จนสามโลกแล้วกค็ ิดไดว้ า่ จะฝากนางไวใ้ นใจ ตนเอง ดีกวา่ ฝากไว้กบั คนอนื่
๒๒. จากมามาล่ิวล้า ลำบาง บางย่เี รอื ราพลาง พีพ่ รอ้ ง เรือแผงชว่ ยพานาง เมียงมา่ น มานา บางบร่ บั คำคล้อง คลา่ วนา้ ตาคลอ เมอ่ื เดนิ ทางมาถึงตำบลบางย่เี รือ เรอื กไ็ ดล้ ดความเรว็ ลง และได้กลา่ วกับบางยี่เรอื ใหส้ ง่ เรอื แผงไปรบั น้องนางมาหา ขา้ ที แต่บางย่เี รอื ไมต่ อบจงึ ทำให้ขา้ น่ังนา้ ตาไหล
๓๗. บ้านบอ่ น้าบกแห้ง ไปเ่ ห็น บ่อเนตรคงขังเป็น เลอื ดไล้ อ้าโฉมแม่แบบเบญ- จลักษณ์ เรียมเอย มาซบั อสั สุชลให้ พี่แล้วจักลา เดินทางมาถงึ บา้ นบ่อซึง่ เปน็ ตำบลหนึ่งใน สมุทรสาคร กวจี งึ คิดไปวา่ ในเมอ่ื ชื่อบ้านบ่อแต่ทำไม ในบ่อจึงไม่เห็นมนี า้ ให้เห็น มแี ต่บ่อน้าตาของข้าทไ่ี หลเป็น สายเลอื ด ขอให้นอ้ งนางของขา้ มาซบั นา้ ตาใหแ้ ลว้ ค่อยจากลาไป
๔๑. เห็นจากจากแจกกา้ น แกมระกำ ถนัดระกำกรรมจำ จากชา้ บาปใดทีโ่ ททำ แทนเทา่ ราแม่ จากแตค่ าบนหี้ น้า พ่ีนอ้ งคงถนอม เห็นต้นจากและต้นระกำจงึ ทำให้คดิ ไป ว่า เวรกรรมใดทท่ี ำให้เราต้องจากกนั แต่การจาก กันในวนั น้ีจะตอ้ งไดพ้ บกันอีกภายหน้า
๔๕. ชมแขคดิ ใชห่ น้า นวลนาง เดอื นตำหนิวงกลาง ต่ายแต้ม พมิ พพ์ ักตร์แม่เพญ็ ปราง จักเปรยี บ ใดเลย ขำกว่าแขไขแยม้ ย่งิ ย้ิมอปั สร มองพระจนั ทรส์ วยงามเท่าใดก็ยังไม่งามเท่ากับหน้า ของนอ้ งนางเพราะยงั มตี ำหนิเป็นรปู กระตา่ ย ส่วนนอ้ งนางของพี่นั้น งามจนหาสิ่งเปรยี บไมไ่ ดเ้ ลย เพราะเวลายิ้มนั้นนางอปั สรยงั ดอ้ ยกวา่
๑๑๘. ถึงตระนาวตระหนา่ ซา้ สงสาร อรเอย จรศกึ โศกมานาน เน่ินชา้ เดนิ ดงท่งทางละหาน หมิ เวศ สารส่งั ทกุ หย่อมหญ้า ยา่ นนา้ ลาน ถงึ เมอื งตระนาวศรีความเศรา้ ความคิดถงึ ที่ตอ้ งจาก น้องนางก็กระหน่าเขา้ มา แต่พ่ีน้ันไดส้ ่งความร้สกึ ทั้งหมดไปกบั ท่งุ หญา้ ุ สายนา้ ป่าเขาตา่ งๆ ว่าคิดถึงน้องนางเพยี งใด
๑๒๒. พนั เนตรภวู นาถต้ัง ตาระวงั ใดฮา พักตร์สีแ่ ปดโสตฟงั อ่นื อ้อื กฤษณนทิ รเลอหลัง นาคหลบั ฤาพ่อ สองพโิ ยครา่ ร้อื เทพท้าวทำเมนิ พระอินทร์ผ้มีพันตา ตาของท่านมวั ไปมองอะไร อยู่ พระพรหมผมู้ สี หี่ น้าแปดหู ของทา่ นมัวฟังอะไรอยู่ พระนารายณท์ า่ นมัวแต่นอนหลบั บนบลั ลงั ก์ พญานาค หรอื อยา่ งไร เราสองคนโศกเศร้าถงึ เพยี งน้ี แตเ่ ทพ ทั้งหลายกย็ งั ไม่สนใจ
๑๓๔. นทีสีส่ มทุ รมว้ ย หมดสาย ติมิงคล์มงั กรนาคผาย ผาดส้อน หยาดเหมพริ ณุ หาย เหือดโลก แลง้ แม่ แรมราคแสนรอ้ ยรอ้ น ฤเถา้ เรยี มทน ถึงแม้มหาสมุทรท้ัง ๔ ทอ่ี ย่รอบเขาพระสเุ มรุ จะเหือดแห้งหายไป จนปลาติมิงค์ มงั กร พญานาค ต้องหาท่ซี ่อน แม้แตฝ่ นทไ่ี มต่ กลงมาแม้แตเ่ ม็ดเดยี ว จนทำให้รอ้ น เทา่ ใดก็ตามก็ไม่เท่ากบั ความรอ้ นท่พี ่ี ต้องจากนอ้ งมา
๑๓๘. ลมพดั คอื พษิ ต้อง ตากทรวง หนาวอกรุมในดวง จิตชา้ โฉมแม่พิมลพวง มาเลศ กูเอย มอื แม่วเี ดยี วล้า ย่งิ ลา้ ลมพาน ลมทพ่ี ัดมาโดนรา่ งกายเหมือนกบั พษิ ท่ีมาโดน รา่ งกาย ไมเ่ หมอื นกบั น้องนาง ของพี่ท่ีมาพดั เพยี ง เบาๆกเ็ ย็นยิง่ นกั
๑๓๙. เอยี งอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย เมรุชุบสมุทรดนิ ลง เลขแต้ม อากาศจกั จารผจง จารึก พอฤา โฉมแมห่ ยาดฟา้ แยม้ อยู่ร้อนฤาเห็น เทความร้สึกของพท่ี ี่มีต่อน้องท้ังหมดออกมาจากอก แมจ้ ะ ใช้เขาพระสเุ มรุ เป็นปากกาจ่มน้าในมหาสมุทร แล้วละลายดนิ เปน็ หมกึ และใชอ้ ากาศเป็นกระดาษเพ่ือเขียนบรรยายความรกั ทม่ี ีต่อนางก็ไม่อาจพรรณนาความรักได้ครบถ้วน และนางจะทุกข์ โศกเพียงใดกไ็ มร่ ้
๑๔๐. ตราบขนุ คริ ิข้น ขาดสลาย แลแม่ รักบ่หายตราบหาย หกฟา้ สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา ไฟแล่นลา้ งส่หี ลา้ หอ่ นล้างอาลัย ถงึ แมภ้ เู ขาจะโคน่ สลายไป สวรรค์ท้ัง ๖ พระอาทิตย์ พระจันทร์ จะหายไปจากโลก หรอื แมแ้ ตไ่ ฟเผาทวปี ทงั้ ๔ กต็ าม ความรกั ของพี่ทม่ี ี ต่อนอ้ งจะยงั อยู่คงเดมิ
๑๔๑. ร่ารกั รา่ เร่อื งร้าง แรมนวล นาฏฤา เสนาะสนั่นดินครวญ ครุ่นฟ้า สารสั่งพ่ีกำสรวล แสนเสน่ห์ นุชเอย ควรแมไ่ วต้ า่ งหนา้ พพ่ี นู้ ภายหลงั เรอ่ื งความรกั ความอาลยั ทีต่ อ้ งจากนางเป็นขอ้ ความ อัน ไพเราะ กลา่ วถึงความครา่ ครวญอนั ดงั ไปทัว่ ทง้ั ฟา้ และดนิ เร่ืองน้ี เปน็ ข้อความที่พ่พี ูดกับน้อง ด้วยความระทมใจ และดว้ ยความรกั นอ้ งอย่างย่ิงขอให้นอ้ งจงรกั ษาเร่ืองน้ไี ว้ตา่ งหน้าของพี่ในกาล ภายหลังอันนานโน้นเถิด
คำศัพทน์ า่ รู้ ศรสี ิทธ์ิ = ขออำนาจความเปน็ สิริมงคล ลบลม่ สวรรค์ = สวยงามกว่าเมอื งสวรรค์, ชนะเมืองสวรรค์ ผา้ ง = ราวกับ เมืองเมรุ = สวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์อยูบ่ นยอดเขาพระสุเมรุ ศรีอยุธเยนทร์ = ตามรูปศพั ท์ หมายถึง กรงุ ศรอี ยธุ ยา แตใ่ นทนี ้ี หมายถงึ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ เปรียบวา่ งดงาม ราวกบั กรุงศรีอยุธยา ด้าว = โลก เพียรพิพรรณผ่องดา้ ว = ราวกับแสงอาทิตย์สอ่ งโลก ขุนหาญ = แม่ทัพทก่ี ล้าหาญ แหนบาท = เฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน
คำศพั ทน์ า่ รู้ สระทกุ ข์ = ขจัดทุกข์ รอนเส้ียน = ขจัดศัตรู ส่ายเศกิ = กวาดล้างข้าศกึ เหลยี้ นลง่ = เตยี นโลง่ ราบหนา้ เภรนิ = ราบเป็นหน้ากอง เข็ญขา่ วยนิ = ไดฟ้ ังขา่ วท่ีนา่ กลวั ขอออก = ขอเปน็ เมอื งขึน้ อ้อมมาออ่ น = พยายามมาอ่อน น้อม = ทำใหป้ ราศจากศัตรู แผ้ว
คุณค่าของวรรณคดี คำโคลง
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑. การใช้คำ กวีใชค้ ำทีง่ ดงามท้ังรปู ความหมายและเสยี งท่ีไพเราะ โดยเฉพาะรา่ ยสดุดีท่ีมีลกั ษณะเด่นสะดุดความสนใจ ๑.๑ เลือกสรรคำท่เี หมาะกบั เนือ้ เรือ่ ง ๑.๒ การเลือกสรรคำทมี่ ีเสียงเสนาะ ๒. ภาพพจน์ ๒.๑ การเปรียบเทียบเกนิ จริง คอื การกลา่ วเกินจริง เพอื่ ให้ได้คุณคา่ ทางด้านอารมณเ์ ปน็ สำคัญ ๒.๒ การใชบ้ ุคคลวตั กวใี ชค้ ำสมมุติต่างๆ ทไ่ี มใ่ ช่มนษุ ยใ์ หม้ ีกริ ยิ า อาการความรสู้ ึกเหมอื นมนษุ ย์
คุณคา่ ด้านสังคม ๑. นิราศนรินทร์คำโคลงมีเน้อื หาสาระท่ีจรรโลงวัฒนธรรม ๒. นิราศนรนิ ทรค์ ำโคลงมีคณุ ค่าทส่ี ะท้อนใหเ้ หน็ สภาพชวี ิตความ เปน็ อยู่ของผูค้ นในสมัยรัชการท่ี ๒ ๓. นิราศนรินทรค์ ำโคลง เป็นตวั อย่างของโคลงนิราศช้ันเยี่ยมท่ี เปี่ยมดว้ ยความไพเราะและมคี ุณค่าทางวรรณศิลป์ เหมาะสำหรับเยาวชน จะนำไปเปน็ แบบอยา่ งในการประพันธ์โุ คลงทม่ี ีเนื้อหาพรรณอารมณ์ ความรกั และธรรมชาติ รวมท้ังรูปแบบทางฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
จบแล้ว คำโคลง
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: