Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลังงานไฟฟ้าในีวิตประจำวัน

พลังงานไฟฟ้าในีวิตประจำวัน

Published by nfe0813911555, 2020-06-24 18:20:43

Description: พลังงานไฟฟ้าในีวิตประจำวัน

Search

Read the Text Version

144 ลําดับ ภาพ แหลงท่มี าของขอมูล 9%8C_(%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0 %B9%89%E0%B8%B2) 18 ภาพตัวอยา งการตอ ระบบไฟฟาภายในบา น http://www.siambe.com/index.php?lay=show&ac=a rticle&Id=539549118 หนวยการเรยี นรทู ่ี 4 การใชและการประหยดั พลงั งานไฟฟา 1 ภาพกลยุทธการประหยัดพลังงาน 3 อ. เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยัดไฟเบอร 5 การไฟฟาฝายผลติ แหงประเทศไทย 2 ภาพอปุ กรณไฟฟาท่ตี ดิ ฉลากประสทิ ธิภาพสงู เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร 5 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 3 ภาพฉลากเบอร 5 ของแท เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร 5 การไฟฟา ฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย 4 ภาพฉลากเบอร 5 ของปลอม เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร 5 การไฟฟาฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย 5 ภาพสว นประกอบตางๆ ของเครอ่ื งทํานํา้ อุน http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home- ไฟฟา utilities.pdf 6 ภาพสวนประกอบหลกั ของกระติกนํา้ รอ น http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home- ไฟฟา utilities.pdf 7 ภาพสว นประกอบหลกั ของพัดลม http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home- utilities.pdf 8 ภาพการสง สญั ญาณโทรทัศนมายงั เครอ่ื งรับ http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home- โทรทัศน utilities.pdf 9 ภาพการวดั เสน ทแยงมมุ ของโทรทศั น http://suwanneee.blogspot.com/ 10 ภาพเตารีดไฟฟาแตล ะชนิด (ซาย) http://checkprice.net/price_list/DEFHkm6N90w.html 11 ภาพเตารีดไฟฟา แตล ะชนิด (กลาง) http://checkprice.net/price_list/AeEkMNPrsTz.html 12 ภาพเตารีดไฟฟา แตล ะชนิด (ขวา) http://www.plazathai.com/show-700803.html 13 ภาพตูเ ยน็ http://topicstock.pantip.com/home/topicstock/200 9/12/R8643243/R8643243.html 14 ภาพหลอดไส http://futuretechled.blogspot.com/ 15 ภาพหลอดฟลูออเรสเซนต http://yusabuy.com/2015/02/25/%E0%B8%81%E0 %B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E 0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%

ลําดบั ภาพ 145 16 ภาพหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต แหลงทีม่ าของขอมลู 17 ภาพหลอด LED E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB %E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%8 4%E0%B8%9F/ http://futuretechled.blogspot.com/ http://futuretechled.blogspot.com/

146 เฉลยแบบทดสอบกอ นเรียน 1. ค. มอเตอรไ ฟฟา 2. ก. ถา นหนิ 3. ง. กาซธรรมชาติ 4. ง. เมยี นมาร 5. ก. ลาว 6. ง. เลอื กใชเชอ้ื เพลิงเพียงชนดิ เดียวในการผลิตไฟฟา 7. ค. 14.00 – 15.00 น. 8. ก. โรงไฟฟาถา นหนิ 9. ง. คณะกรรมการกาํ กับกิจการพลงั งาน (กกพ.) 10. ข. การไฟฟา สว นภมู ภิ าค (กฟภ.) 11. ข. น้ํามันดีเซล และนาํ้ มนั เตา 12. ง. อนิ โดนีเซีย 13. ข. โรงไฟฟา พลงั งานนวิ เคลยี ร 14. ข. กังหันนา้ํ และเครอ่ื งกาํ เนิดไฟฟา 15. ง. สามารถใชไดใ นพนื้ ทท่ี มี่ กี ระแสลมพดั สม่าํ เสมอ 16. ง. ถกู ทุกขอ 17. ค. โรงไฟฟาพลังงานนวิ เคลียร 18. ข. กาซซัลเฟอรไ ดออกไซด 19. ง. โรงไฟฟา พลงั ความรอนรว ม ชนดิ combined cycle ขนาดกาํ ลงั ผลติ 1,000 เมกะวตั ต 20. ง. รายงานเกย่ี วกบั การศึกษามาตรการปองกนั และแกไ ขผลกระทบตอ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ ม และความปลอดภยั (ESA) 21. ค. สายไฟ สายนวิ ทรลั สายดนิ 22. ค. แบบขนาน 23. ง. การปอ งกันไมใ หไดรบั อันตรายจากกระแสไฟฟา

147 24. ข. 25. ง. 220 โวลต 26. ง. เคร่อื งตดั ไฟรวั่ 27. ก. ฟวส 28. ข. 10 แอมแปร 29. ค. หลักดิน 30. ก. การทําใหวงจรปด มกี ระแสไฟฟาไหล 31. ก. เคร่อื งทาํ น้าํ อุนไฟฟา 32. ค. 74.00 หนวย 33. ง. 280.52 บาท 34. ก. คา ไฟฟาฐาน 35. ค. คา ไฟฟาทีส่ ะทอ นการเปลีย่ นแปลงของคา ใชจายท่อี ยูนอกเหนอื การควบคมุ 36. ค. 3 หนว ย 37. ข. เปดสวิตชไฟและเครอ่ื งใชไ ฟฟา เม่อื เลกิ ใชง าน 38. ง. อุปกรณ อาคาร อุปนิสยั 39. ข. ปด – ปรับ – ปลด – เปลี่ยน 40. ก. ถา ยิ่งใชไฟฟา มากขึน้ คาไฟฟา จะยิง่ สงู ขึน้

148 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ง. กา ซธรรมชาติ 2. ก. ถา นหนิ 3. ข. ปด – ปรับ – ปลด – เปลย่ี น 4. ก. ลาว 5. ง. เมียนมาร 6. ง. อุปกรณ อาคาร และอุปนสิ ยั 7. ค. 12.00 – 15.00 น. 8. ง. เลือกใชเ ชือ้ เพลิงเพยี งชนดิ เดียวในการผลิตไฟฟา 9. ก. ถายิ่งใชไฟฟามากข้ึน คาไฟฟาจะยงิ่ สูงข้นึ 10. ก. โรงไฟฟาถา นหนิ 11. ค. มอเตอรไฟฟา 12. ง. คณะกรรมการกาํ กับกิจการพลังงาน (กกพ.) 13. ค. สายไฟ สายนิวทรัล สายดิน 14. ข. โรงไฟฟาพลงั งานนวิ เคลยี ร 15. ข. กงั หันนํ้าและเครอื่ งกําเนิดไฟฟา 16. ง. สามารถใชไ ดใ นพืน้ ทที่ ่มี ีกระแสลมพัดสมํา่ เสมอ 17. ง. ถกู ทกุ ขอ 18. ข. กา ซซลั เฟอรไ ดออกไซด 19. ค. โรงไฟฟาพลงั งานนิวเคลียร 20. ง. โรงไฟฟา พลังความรอนรว ม ชนดิ combined cycle ขนาดกาํ ลงั ผลิต 1,000 เมกะวตั ต 21. ข. การไฟฟา สว นภูมิภาค (กฟภ.) 22. ค. แบบขนาน 23. ค. 74.00 หนวย 24. ง. 280.52 บาท 25. ง. อินโดนีเซีย

149 26. ง. การปองกนั ไมใหไดรับอันตรายจากกระแสไฟฟา 27. ข. คาไฟฟา ฐาน 28. ง. 220 โวลต 29. ก. ฟวส 30. ข. เครื่องทาํ นํา้ อุนไฟฟา 31. ก. การทําใหวงจรปด มกี ระแสไฟฟาไหล 32. ข. 33. ง. เครอื่ งตัดไฟร่วั 34. ข. 10 แอมแปร 35. ค. หลกั ดนิ 36. ง. รายงานเก่ียวกับการศึกษามาตรการปองกันและแกไขผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม และความปลอดภยั (ESA) 37. ค. คา ไฟฟาทสี่ ะทอนการเปล่ยี นแปลงของคา ใชจายที่อยนู อกเหนือการควบคุม 38. ค. 3 หนวย 39. ข. เปดสวติ ชไ ฟและเคร่อื งใชไฟฟา เม่อื เลกิ ใชงาน 40. ข. นา้ํ มันดเี ซล และน้าํ มนั เตา

150 เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา ยเรื่อง หนว ยการเรยี นรูท ่ี 1 พลังงานไฟฟา กิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 การกาํ เนิดของไฟฟา กิจกรรมท่ี 1.1 จบั คูรปู ภาพและประเภทของแหลงกาํ เนิดไฟฟา 1) จ 2) ค 3) ข 4) ก 5) ง กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 2 สถานการณพ ลังงานไฟฟา ของประเทศไทย ประเทศในกลมุ อาเซยี นและโลก กิจกรรมที่ 2.1 ชมวีดิทัศน เร่ือง “ทําไมคาไฟฟาแพง” และเรื่อง “ไฟฟาซื้อหรือสราง” ประกอบการเรยี น เรื่อง สถานการณพลังงานไฟฟาของประเทศไทย แลว ตอบคําถามตอ ไปนี้ 1) สัดสวนการใชเช้ือเพลิงประเภทตางๆ ในการผลิตพลังงานไฟฟาในประเทศไทยของป พ.ศ. 2558 เปน ดังนี้ กาชธรรมชาติ รอ ยละ 69.19 ถา นหินนําเขาและลกิ ไนต รอ ยละ 18.96 พลังงานหมุนเวียน รอยละ 11.02 ซึ่งแบงเปนพลังงานหมุนเวียนจากพลังน้ํา ภายในประเทศ การรบั ซื้อไฟฟา ท่ผี ลิตมาจากพลงั นาํ้ จากประเทศลาว และพลงั งานหมนุ เวียนอืน่ ๆ นาํ้ มนั เตาและนํ้ามนั ดีเซล รอ ยละ 0.75 2) ปจ จุบันสดั สว นการใชเช้ือเพลิงในการผลิตไฟฟาของประเทศไทยไมเหมาะสม เน่ืองจากมีการ พึ่งพากาซธรรมชาติมากเกนิ ไป ซ่ึงกาซธรรมชาตทิ นี่ ํามาใชม าจาก 2 สว น คอื สว นท่ี 1 อาวไทย ซึง่ คาดวาจะหมดภายใน 5.7 ป สวนที่ 2 จากประเทศพมา ซ่ึงขณะน้ีกําลังมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจคอนขางสูง ทาํ ใหม ีความตอ งการแหลง พลงั งานไปพฒั นาประเทศของตนเองเพม่ิ มากขึน้

151 หากยงั มีการพึ่งพากา ซธรรมชาตใิ นสดั สวนทีส่ ูงตอ ไป อาจไมมกี าซธรรมชาติเพียงพอตอ ความตองการในอนาคต การวางแผนการเลือกใชเช้ือเพลิง เราตองวางแผนการเลือกใชเชื้อเพลิงโดยการ กระจายสัดสวนเช้อื เพลงิ ใหสมดลุ โดยตองพ่ึงพาเชื้อเพลิงจากประเภทศตางๆในสัดสวนที่เทากัน และเหมาะสม เชน เพิ่มสัดสวนการใชถานหิน แสวงหาแหลงพลังงานทดแทนอ่ืนๆ ทั้งพลังงาน หมนุ เวยี นและพลงั งานนิวเคลียร รวมถึงแผนซือ้ ไฟฟา จากประเทศในภูมภิ าคดวย 3) ปจจัยที่ตองคํานึงถึงในการจัดทําแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศไทย จัดทําโดย การหาคาพยากรณความตองการไฟฟาของประเทศ ซ่งึ ไดมาจากการพจิ ารณาแนวโนม การขยายตัว ทางเศรษฐกิจระยะยาว อตั ราการเพม่ิ ของประชากร เพ่ือนํามาจัดทําแผนการกอสรางโรงไฟฟาให เพียงพอในอนาคต โดยพิจารณาจากกรอบ ตอไปน้ี - ความม่ันคงทางพลังงาน (Security) ตองจัดหาไฟฟาใหเพียงพอตอความตองการใช ไฟฟา และใชเช้ือเพลิงหลากหลาย รวมท้ังมีความเหมาะสมเพ่ือลดความเส่ียงจากการพึ่งพา เชอ้ื เพลิงชนิดใดชนิดหนง่ึ มากเกินไป - เศรษฐกิจ (Economy) ตองคํานึงถึงตนทุนการผลิตไฟฟาท่ีเหมาะสม และคํานึงถึงการ ใชไฟฟา อยา งมีประสทิ ธิภาพในภาคเศรษฐกิจตางๆ - ส่ิงแวดลอม (Ecology) ตองลดผลกระทบทเี่ กดิ ขึน้ กับส่งิ แวดลอมและชุมชน โดยเฉพาะ เปาหมายในการปลดปลอยกา ซคารบอนไดออกไซดตอหนวยการผลิตไฟฟา กิจกรรมที่ 2.2 ชมวีดีทัศน เร่ือง “ขุมพลังอาเซียน” ประกอบการเรียนรูเร่ือง สถานการณไฟฟา ของประเทศในกลมุ อาเซยี น พรอมทง้ั ตอบคาํ ถามในประเดน็ ตอไปน้ี 1) สดั สวนเชอื้ เพลงิ ในการผลติ ไฟฟา ของประเทศในอาเซยี น ประเทศ กา ซธรรมชาติ ถา นหิน พลงั น้ํา น้ํามัน ความรอ นใตพ ิภพ อ่นื ๆ อินโดนีเซีย (รอยละ) (รอยละ) (รอ ยละ) (รอ ยละ) (รอยละ) (รอยละ) 19.8 49.2 7.0 22.5 1.4 0.1 มาเลเซยี 43.2 39.2 6.8 9.0 - 1.9 บรูไน 99.1 - - 0.9 - - เวียดนาม 35.0 20.9 38.5 5.1 - 0.1 ไทย 70.4 21.4 3.2 2.3 - 2.7

152 เมียนมาร 22.3 6.3 71.2 - - 0.2 ฟล ปิ ปนส 28.9 48.3 13.8 8.6 - 0.4 ลาว - กัมพูชา - 6.2 90.7 3.1 13.1 1.6 สิงคโปร - 2.5 34.4 48.4 - 2.5 75.4 - - 22.1 2) ปจจัยสาํ คญั ทที่ ําใหประเทศในอาเซยี นมีสัดสว นการใชเชอื้ เพลิงผลิตไฟฟาที่แตกตางกันมาจาก ความหลากหลายของทรพั ยากรแตละประเทศ นโยบายและเปาหมายทางดานพลังงานไฟฟา กิจกรรมที่ 2.3 บอกแนวโนมของการใชเช้ือเพลงิ ในการผลิตพลงั งานไฟฟาของโลก ในหลายประเทศไดมีนโยบายเร่ืองสิ่งแวดลอมและมีการกระตุนใหเปลี่ยนไปใช เชื้อเพลิงสะอาด ซึ่งเปน ปจจัยหนึ่งทที่ ําใหสัดสวนผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วโลกเร่ิมลดลง สงผลใหมีการใชเชื้อเพลิงหมุนเวียนมากข้ึน และไดพิจารณาถึง การนําพลังงานนิวเคลียรมาใช มากขน้ึ กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 หนวยงานที่เกีย่ วขอ งดานพลงั งานไฟฟา ในประเทศไทย กิจกรรมท่ี 3.1 เลอื กตัวอักษรท่ีเปน หนวยงานทเี่ กี่ยวขอ งดานพลังงานไฟฟา ไปเตมิ ลงในชอ งวา ง ท่เี ปนภารกจิ ของหนว ยงานท่เี กี่ยวของดานพลังงานไฟฟาดานลา งใหถูกตอง 1) ง 6) ก และ ง 2) ค 7) ค 3) ข 8) ก 4) ข 9). ข 5) ค 10) ง

153 หนวยการเรียนรูท่ี 2 การผลติ ไฟฟา กจิ กรรมทา ยเรอื่ งท่ี 1 เชื้อเพลิงและพลงั งานท่ีใชใ นการผลิตไฟฟา กิจกรรมท่ี 1.1 อธบิ ายกระบวนการผลติ ไฟฟาจากเช้อื เพลงิ แตล ะประเภทดงั นี้ 1) กระบวนการผลติ ไฟฟาจากถานหนิ การผลิตไฟฟาดวยถานหิน เริ่มจากการขนสงถานหินจาก ลานกองถานหนิ ไปยังยุง ถาน จากนั้นถา นหนิ จะถกู ลาํ เลียงไปยังเครื่องบด เพ่ือบดถานหินใหเปนผง ละเอียดกอนที่จะถูกพนเขาไปเผายังหมอไอน้ํา เม่ือถานหินเกิดการเผาไหมก็จะถายเทความรอน ใหแกน า้ํ ทาํ ใหน ้ํารอ นขนึ้ จนเกิดไอนํา้ จะมีความดันสูงสามารถขับใบพัดกังหันไอน้ําทําใหกังหันไอ นํ้าหมุนโดยแกนของกังหันไอนํ้าเชื่อมตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาจึงทําใหเคร่ืองกําเนิดไฟฟา ทํางาน สามารถผลติ กระแสไฟฟา ออกมาได 2) กระบวนการผลติ ไฟฟา จากน้าํ มนั มี 2 แบบ ดงั น้ี (1) การผลติ ไฟฟาจากนาํ้ มนั เตา ใชน้ํามนั เตาเปนเช้ือเพลงิ ใหความรอนไปตมน้ํา เพ่ือผลิตไอน้ํา ไปหมุนกังหันไอน้ําทีต่ อ อยูกับเคร่ืองกําเนดิ ไฟฟา (2) การผลิตไฟฟาจากนํ้ามันดีเซล มีหลักการทํางานเหมือนกับเคร่ืองยนตในรถยนตทั่วไป ซึ่งจะอาศัยหลักการสันดาปของน้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปในกระบอกสูบของเครื่องยนตท่ีถูกอัด อากาศจนมีอณุ หภูมิสูง และเกิดระเบิดดันใหลูกสูบเคล่อื นทีล่ งไปหมุนเพลาขอ เหว่ยี งซึ่งตอกับเพลา ของเคร่ืองยนต ทําใหเพลาของเครื่องยนตหมุน และทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาซึ่งตอกับเพลาของ เครอื่ งยนตหมนุ ตามไปดว ย จึงเกิดการผลิตไฟฟา ออกมา 3) กระบวนการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ เริ่มตนดวยกระบวนการเผาไหมกาซธรรมชาติ ในหองสันดาปของกังหันกาซที่มีความรอนสูงมาก เพ่ือใหไดกาซรอนมาขับกังหัน ซ่ึงจะไปหมุน เคร่ืองกําเนิดไฟฟา จากนั้นจะนํากาซรอนสวนท่ีเหลือไปผลิตไอนํ้าสําหรับใชขับเคร่ืองกําเนิดไฟฟา แบบกังหันไอนํ้า สําหรับไอน้ําสวนที่เหลือจะมีแรงดันตํ่าก็จะผานเขาสูกระบวนการลดอุณหภูมิ เพือ่ ใหไ อนํา้ ควบแนน เปนนา้ํ และนาํ กลับมาปอ นเขา ระบบผลิตใหมอยา งตอ เนอื่ ง

154 กิจกรรมท่ี 1.2 นําขอ มูลทีก่ ําหนดใหใ นตารางตอบประเดน็ คาถามขอ 1) และ 2) 1) พื้นท่ี 1 เหมาะสมท่ีจะสรางโรงไฟฟากังหันลม เนื่องจาก เปนความเร็วลมในระดับที่สามารถ ผลิตไฟฟาไดกําลังสูงสุด คืออยูในชวง 12-15 เมตรตอวินาที และมีลมพัดอยางสม่ําเสมอ ซึ่งเปน ปจ จัยสาํ คัญในการผลติ ไฟฟา จากกงั หนั ลม 2) พื้นท่ี 4 เหมาะสมท่ีจะสรางโรงไฟฟาชีวมวล เนื่องจากมีศักยภาพของเช้ือเพลิงชีวมวล คือ แกลบ ทีไ่ ดจ ากการทาํ นา กิจกรรมที่ 1.3 วิเคราะหศกั ยภาพพลงั งานทดแทนในชมุ ชนของตนเอง ในประเด็นดงั ตอ ไปนี้ 1) ชนิดและปรมิ าณ 2) ความพรอ มของพ้ืนท่ี 3) การใชหรอื แนวทางการนาํ มาใช 4) ประโยชนที่เกิดหรอื คาดวาจะเกดิ กบั ชมุ ชน หากมกี ารใชพลังงานทดแทนในชุมชน มีพลังงานทดแทนชนิดใด ปริมาณเทาไร นํามาใชประโยชนอยางไร พ้ืนท่ีสามารถพัฒนานําเอาพลังงานทดแทนชนิดน้ันมาใชประโยชนได และหากนาํ มาใชจ ะมีประโยชนต อ ชมุ ชนอยางไร หากไมม กี ารใชพลังงานทดแทนในชมุ ชน ใหบอกเหตผุ ลประกอบ เชน ไมมีเช้ือเพลงิ ชวี มวล ไมว า จะเปน วสั ดุทางการเกษตร วสั ดเุ หลือทิ้งจากการเกษตร ขยะมลู ฝอย นํ้าเสียจากชุมชน วสั ดเุ หลอื ทง้ิ ภายหลังจากกระบวนการเปลี่ยนรูปผลผลิตทางการเกษตร ของเสียจากกระบวนการ ผลติ เปน ตน กิจกรรมท่ี 1.4 ตอบคําถามตอไปน้ี 1) ตนทนุ ในการผลิตไฟฟา ของพลังงานทดแทน เกิดจากปจจยั ดังน้ี 1.1) มูลคาในการวิจัยและพัฒนาระบบของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานทดแทน (Research and Development Cost) เปนคาใชจายจมหรือคาใชจายในอดีต (Suck Cost) มักไมนํามา พจิ ารณาผลประโยชนห รอื ตน ทนุ เพราะไมมีผลตอ การจะลงทนุ หรือไมล งทนุ ในการติดต้งั ระบบ 1.2) มูลคาการลงทุนหรือการจัดหาการติดต้ังระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานทดแทน (Investment Cost) เปน คา ใชจ ายท่ีเกิดขึ้นเพื่อทาํ ใหเ กดิ ความพรอมทจี่ ะดาํ เนนิ การระบบ ไดแก 1.2.1) มูลคาท่ีดิน ขนาดพ้ืนท่ีข้ึนอยูกับสวนประกอบของโรงไฟฟาพลังงานทดแทน แตละประเภท ซงึ่ พ้นื ท่ีแตละแหง จะมีราคาประเมินท่ีแตกตางกัน

155 1.2.2) มูลคาวัสดุอุปกรณท่ีใชในการผลิตไฟฟา เชน มูลคากังหันลมท่ีใชในโรงไฟฟา พลงั งานลม หรือมูลคา แผงเซลลแสงอาทิตยที่ใชใ นโรงไฟฟา พลงั แสงอาทติ ย เปน ตน 1.2.3) มลู คา การตดิ ตง้ั ระบบ คือ คาใชจายในการติดต้ังซึ่งประกอบไปดวย คาปรับพื้นท่ี เชน การทําถนนเพ่ือความสะดวกในการขนสงวัตถุดิบ คาระบบเสริม เชน หมอแปลงไฟฟา คาเช่อื มโยงระบบ 1.3) มลู คาการปฏบิ ตั ิงานและการบํารุงรกั ษา ซ่งึ มรี ายละเอยี ดคาใชจ ายจําแนกไดด ังนี้ 1.3.1) คาการปฏิบัติงาน เปนคาใชจายในการดําเนินการ เชน คาน้ํา - คาไฟ คาแรง คา โทรศพั ท คาขนสง คาโฆษณาประชาสมั พนั ธ คา ประกันตาง ๆ คา ฝกอบรม คาอะไหล คาที่ปรึกษา เปนตน เปนคาใชจายท่ีจํานวนเงินไมเปล่ียนแปลงตามปริมาณการผลิต ไมวาจะทําการผลิตใน ปริมาณมากหรอื นอยกต็ าม 1.3.2) คาบํารุงรักษา เปนคาใชจายในการบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณ เครื่องจักรและ สิ่งกอสรางเพ่อื ใหด าํ เนนิ การตอไปไดตลอดอายุของระบบ 2) สว นเพ่ิมราคารบั ซ้อื ไฟฟา จากพลังงานหมนุ เวยี นแบบ Adder (Adder Cost) คอื เงนิ สนบั สนุน การผลติ ตอหนว ยการผลิต เปนการกําหนดราคารับซอื้ ในอัตราพเิ ศษหรอื เฉพาะสําหรับไฟฟา ทมี่ า จากพลังงานหมุนเวยี นของรัฐบาล โดยผผู ลิตไฟฟา เอกชนท่ีผลติ จากพลงั งานหมนุ เวยี นจะขายไฟได ในราคาเทากบั คา รับซ้อื ไฟฟา ปกติบวกกบั Adder Cost (ราคาท่ผี ขู ายจะไดรบั = คารบั ซื้อไฟฟา ปกติ + Adder) ซ่ึง Adder Cost จะกระทบกับอตั ราคาไฟฟาท่ีผูบรโิ ภคจะตอ งแบกรับในอนาคต 3) ราคาตน ทนุ การผลิตไฟฟาตอ หนว ย เช้อื เพลิง ตน ทนุ การผลิต ลาํ ดับ (บาท/หนวยไฟฟา) ลม 5 พลังนํา้ ขนาดเลก็ 5.00 – 6.00 1 2.50 – 2.70 6 แสงอาทติ ย 8.00 – 9.00 4 ชวี มวล 3.00 - 3.50 2 ถานหนิ 2.50 – 3.00 2 นวิ เคลยี ร 2.50 – 3.00

156 กิจกรรมท่ี 1.5 นําขอ มูลทีเ่ ปน ขอ ดี – ขอ จาํ กัด เขยี นลงในตารางใหตรงกับชนิดของเชื้อเพลิงหรือ แหลง พลังงานแตละประเภท เชื้อเพลงิ / ขอดี-ขอจํากดั ของพลงั งานทดแทนแตละประเภท แหลง พลังงาน ขอดี ถานหนิ 1. มีปรมิ าณเชอ้ื เพลงิ สาํ รองจํานวนมาก 2. สามารถผลติ ไฟฟา ไดต ลอด 24 ช่ัวโมง 3. ตนทุนคา ไฟตอ หนว ยต่าํ ขอ จํากัด 1. มกี ารปลอยกาซเรือนกระจก 2. ใชเชือ้ เพลงิ ในปรมิ าณมาก 3. ประชาชนไมเชื่อมน่ั เร่อื งมลภาวะทางอากาศ เชอื้ เพลิง / ขอ ด-ี ขอจาํ กดั ของพลังงานทดแทนแตล ะประเภท แหลงพลงั งาน กาซธรรมชาติ ขอดี 1. สามารถผลติ ไฟฟาไดตลอด 24 ชว่ั โมง นาํ้ มัน 2. ตนทุนคา ไฟตอหนวยตาํ่ พลงั งานลม ขอจํากดั 1. มีการปลอ ยกาซเรอื นกระจก 2. มปี ริมาณสํารองเหลอื นอ ย ขอ ดี สามารถผลติ ไฟฟา ไดต ลอด 24 ชั่วโมง ขอ จาํ กัด 1. มีการปลอ ยกาซเรอื นกระจก 2. มีปรมิ าณสาํ รองเหลือนอย ขอ ดี 1. เปนแหลง พลงั งานทไี่ ดจ ากธรรมชาตไิ มมีคาเช้อื เพลิง 2. เปน แหลง พลงั งานสะอาดไมก อใหเกดิ กา ซคารบ อนไดออกไซดจากการผลติ ไฟฟา

157 เชื้อเพลงิ / ขอ ด-ี ขอจาํ กัด ของพลังงานทดแทนแตละประเภท แหลงพลังงาน ขอจํากดั พลงั งานนํ้า 1. มคี วามไมแนน อนข้นึ อยูก บั สภาวะอากาศ 2. สามารถทาํ ไดเ ฉพาะพนื้ ทที่ ีม่ ีศักยภาพเพยี งพอเทานัน้ 3. มเี สยี งดงั และมผี ลกระทบตอทศั นยี ภาพ ทําใหเ กดิ การรบกวนในการสง สญั ญาณ โทรทศั นแ ละไมโครเวฟ 4. ตนทุนคาไฟตอ หนวยสูง ขอ ดี 1. เปน แหลงพลงั งานทไ่ี ดจ ากธรรมชาติไมม ีคา เชือ้ เพลิง 2. เปน แหลงพลงั งานสะอาด ไมก อ ใหเ กิดกาซคารบอนไดออกไซดจ ากการผลิตไฟฟา 3. สามารถนาํ ไปใชในแหลง ทย่ี งั ไมมไี ฟฟา ใชและอยหู า งไกลจากระบบสายสง และสาย จําหนายไฟฟา 4. ตน ทุนคา ไฟตอหนว ยตาํ่ ขอ จํากดั การกอสรา งเข่ือนขนาดใหญต องใชพืน้ ทก่ี วา งและอาจทําใหเ กดิ น้าํ ทว มเปนบรเิ วณกวา ง สงผลกระทบตอบา นเรือนประชาชน เช้ือเพลงิ / ขอด-ี ขอจาํ กดั ของพลงั งานทดแทนแตละประเภท แหลงพลงั งาน พลังงานแสงอาทติ ย ขอดี 1. เปนแหลง พลงั งานทไ่ี ดจ ากธรรมชาตไิ มมีคา เชอื้ เพลิง 2. เปน แหลงพลงั งานสะอาดไมกอใหเ กิดกาซคารบ อนไดออกไซดจ ากการผลิตไฟฟา ขอจาํ กดั 1. มคี วามไมแนนอนขน้ึ อยูก บั สภาวะอากาศ 2. สามารถทําไดเ ฉพาะพืน้ ทท่ี ี่มีศักยภาพเพียงพอเทานน้ั 3. ตนทนุ คา ไฟตอหนว ยสูง พลังงานชวี มวล ขอดี ใชประโยชนจ ากเศษวัสดเุ หลอื ใชท างการเกษตร และชว ยแกปญ หาสงิ่ แวดลอ ม เรอ่ื ง ของ

158 เชือ้ เพลงิ / ขอ ด-ี ขอ จาํ กัด ของพลงั งานทดแทนแตละประเภท แหลงพลงั งาน เหลือทง้ิ ทางการเกษตร ขอ จํากัด ปริมาณสาํ รองทีไ่ มแ นนอนทําใหก ารบรหิ ารจัดการเช้ือเพลงิ ทาํ ไดยาก พลงั งานความรอ นใตพ ิภพ ขอดี 1. เปน แหลง พลงั งานที่ไดจ ากธรรมชาติไมม ีคาเชือ้ เพลิง 2. เปนแหลง พลงั งานสะอาดไมกอ ใหเกิดกา ซคารบ อนไดออกไซดจ ากการผลิตไฟฟา พลงั งานนิวเคลยี ร ขอ จาํ กัด สามารถทาํ ไดเ ฉพาะพนื้ ทที่ มี่ ีศักยภาพเพียงพอเทาน้นั ขอดี 1. ชวยเสริมสรางความมนั่ คงใหร ะบบผลิตไฟฟา เนือ่ งจากใชเชอ้ื เพลงิ นอ ยเมื่อเทียบกับ โรงไฟฟา ความรอ นประเภทอน่ื 2. มแี หลง เชอื้ เพลงิ มากมาย เชน แคนาดาและออสเตรเลีย และราคาไมผนั แปรมากเมอื่ เทียบกับเชอ้ื เพลิงฟอสซลิ 3. เปนแหลงพลงั งานสะอาดไมกอใหเกดิ กาซคารบ อนไดออกไซดจ ากการผลิตไฟฟา ขอจํากดั 1. ใชเงินลงทุนในการกอ สรา งสูง 2. ตอ งมมี าตรการควบคมุ ความปลอดภยั อยางเขมงวด เพื่อปอ งกันอุบตั เิ หตุ

159 กจิ กรรมทา ยเรอื่ งที่ 2 โรงไฟฟากบั การจัดการดานสงิ่ แวดลอ ม กิจกรรมท่ี 2.1 เลือกผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากโรงไฟฟา และวิธีการจัดการสิ่งแวดลอม จากนน้ั นําคาํ ตอบใสล งในตารางใหถกู ตอง ผลกระทบดา นสงิ่ แวดลอ ม การจดั การส่ิงแวดลอม ดานนํ้า น้ําหลอเย็น ที่ใชสําหรับระบายความ ปรับสภาพนํ้าใหมีอุณหภูมิใกลเคียง ดานเสยี ง รอ นใหกับระบบตา งๆ ภายในโรงไฟฟา กับธรรมชาติ ดา นอากาศ เสยี งทเ่ี กดิ จากกจิ กรรมของโรงไฟฟา ติดตงั้ อุปกรณด ูดซบั เสียง 1. ไนโตรเจนออกไซด 1. ติดตั้งเครื่อง SCR (Selective 2. ซลั เฟอรออกไซด Catalytic Reduction) 3. ฝนุ ละออง 2. ติดตั้งเครื่อง FGD (Flue Gas Desulfurization) 3. ติดตงั้ เคร่อื งดกั ฝนุ ดว ยไฟฟาสถติ (Electrostatic Precipitator) กจิ กรรมที่ 2.2 เลอื กอักษรท่ีแสดงการจัดทํารายงานท่ีโรงไฟฟาตองทํา โดยนําอักษรมาเติมลงใน ชอ งวางดานซา ยมอื โรงไฟฟาแตละประเภทใหถ กู ตอ ง 1) ก 6) ข 2) ข 7) ก 3) ก 8) ข 4) ก 9) ก 5) ค 10) ข

160 กิจกรรมท่ี 2.3 การจัดทํารายงาน EIA และรายงาน EHIA มีความเหมือนและความแตกตางกัน อยางไร 1) การจดั ทํารายงาน EIA และรายงาน EHIA มกี ารศกึ ษาสง่ิ แวดลอ มเหมือนกัน 4 ดา น คือ 1.1) ทรพั ยากรกายภาพ 1.2) ทรพั ยากรชวี ภาพ 1.3) คุณคา การใชประโยชนข องมนุษย 1.4) คุณคาตอ คณุ ภาพชีวติ 2) การจัดทํารายงาน EHIA แตกตางกบั รายงาน EIA คอื 2.1) มกี ารประเมินผลกระทบสขุ ภาพดว ย ซึ่งไดป ระเมินปจจยั ตาง ๆ ดงั นี้ - ส่ิงคุกคามสขุ ภาพ - ผลกระทบตอระบบสุขภาพ - ปจจยั ตอการรบั สมั ผัส - ลกั ษณะผลกระทบตอ สุขภาพ - ผลกระทบตอ ระบบสุขภาพ - ผลกระทบตอสงั คมและชวี ติ ความเปนอยู 2.2) เนนกระบวนการรับฟงความคิดเหน็ ของประชาชนในทกุ ขัน้ ตอน กจิ กรรมที่ 2.4 แสดงความคิดเห็นโดยทําเครอื่ งหมายถกู () ลงในชอ งเห็นดว ย หรอื ไมเ ห็นดว ย เห็นดว ย ขอ ละ 1 คะแนน ไมเ ห็นดวย ขอ ละ 0 คะแนน รวมคะแนนไดมากกวา รอยละ 80 (16 คะแนน) ถือวา มที ศั นคติทีด่ ี

161 หนวยการเรียนรูท่ี 3 อปุ กรณไฟฟาและวงจรไฟฟา กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 อุปกรณไ ฟฟา กิจกรรมท่ี 1.1 นาํ ตวั อกั ษรทีอ่ ยูหนาคาํ ตอบดา นขวามือมาเตมิ ลงในชองวางดานซายมือใหถกู ตอง 1) ช 2) ค 3) ซ 4) ข 5) จ 6) ง 7) ก 8) ญ 9) ฉ 10) ฌ กิจกรรมท่ี 2.1 วาดภาพการตอ วงจรไฟฟา พรอมอธบิ าย 1) ภาพการตอ วงจรไฟฟาแบบอนกุ รม การตอวงจรไฟฟาแบบอนกุ รม เปนการนําเอาเครอ่ื งใชไฟฟามาตอเรียงลําดับกันไป โดย นําปลายดานหนึ่งตอเขากับปลายอกี ดานหนึ่งของเคร่ืองใชไฟฟาแตละตัวจนถึงตัวสุดทาย แลวจึง ตอเขากับแหลงกําเนิดไฟฟา

162 2) ภาพการตอ วงจรไฟฟา แบบขนาน การตอวงจรไฟฟาแบบขนาน เปนการนําเอาเครื่องใชไฟฟา 2 ชนิดข้ึนไป มาตอเรียง แบบขนานกัน โดยนําปลายดานเดียวกันของเคร่ืองใชไฟฟาแตละตัวมาตอเขาดวยกัน แลวตอ ปลายของเครื่องใชไฟฟาแตล ะตวั ท่ีตอกันแลว ตอเขา กบั แหลง กาํ เนิดไฟฟา 3) ภาพการตอวงจรไฟฟาแบบผสม การตอ วงจรแบบผสม การตอวงจรไฟฟาแบบผสม เปนการตอผสมกันของวงจรไฟฟาแบบอนุกรมและ วงจรไฟฟาแบบขนาน

163 กิจกรรมท่ี 2.2 ศึกษาส่อื การเรียน เร่อื ง วงจรไฟฟา และทาํ กจิ กรรมตามท่กี าํ หนด 1) การตอหลอดไฟฟา แบบอนุกรมใน lab02 หัวขอ ยอย content2_4 ผลการทดลอง อปุ กรณ แรงดัน (V) กระแส (A) หลอดไฟ 1 2 0.15 หลอดไฟ 2 2 0.15 หลอดไฟ 3 2 0.15 ผลการทดลอง เมอื่ ถอดหลอดไฟออก 1 หลอด อปุ กรณ แรงดนั (V) กระแส (A) 0.15 หลอดไฟ 1 3 0.15 หลอดไฟ 2 3 สรปุ ผลการทดลอง เมือ่ ถอดหลอดไฟออก 1 หลอด กระแสไฟทไี่ หลผา นอปุ กรณจ ะเพ่มิ ขึน้ และแรงดันตก ครอมอุปกรณกจ็ ะเพม่ิ ข้นึ แตผ ลรวมของแรงดนั ท่ีตกครอมอปุ กรณจ ะเทากับแหลงจายและกระแส ท่ไี หลผานอปุ กรณจ ะเทา กนั 2) การตอหลอดไฟฟา แบบขนานใน lab02 หวั ขอ ยอ ย content2_5 ผลการทดลอง อปุ กรณ แรงดัน (V) หลอดไฟ 1 6 หลอดไฟ 2 6 หลอดไฟ 3 6 สรปุ ผลการทดลอง เมือ่ ตอ แบบขนาน แรงดันทีต่ กครอ มอปุ กรณแ ตล ะตัวจะเทากบั แหลง จาย

164 กจิ กรรมท่ี 2.3 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรม โดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา ปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนท่กี ําหนดให แลวเขยี นผลการทดลอง พรอมทง้ั สรุปผลการทดลอง ผลการทดลอง เมือ่ ทาํ การถอดหลอด LED ออก 1 หลอด พบวา หลอด LED ทเี่ หลือจะดับ สรุปผลการทดลอง การตอวงจรแบบอนุกรม คือ การตอวงจรดวยอุปกรณไฟฟาตั้งแต 2 ตัวข้ึนไปเรียงตอกัน โดยกระแสไฟฟา จะไหลจากแหลง จายผานไปยงั อปุ กรณไฟฟา ตัวที่ 1 ผา นอุปกรณไ ฟฟา ตวั ที่ 2และ ผา นตวั ตอ ๆ ไป จนกลับมาครบวงจรท่ีแหลงจายไฟ เมื่ออุปกรณตัวใดตัวหนึ่งขาดหรือ หลุดจาก วงจร จงึ เปรยี บเสมอื นวาวงจรขาด กระแสไฟฟาไมสามารถไหลไดครบวงจร ทําใหอุปกรณท่ีเหลือ ในวงจรไมส ามารถทาํ งานไดเชนกัน จากการทดลองเมื่อทําการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด จงึ เปนเหตใุ หหลอด LED ท่เี หลือดบั กิจกรรมที่ 2.4 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบขนานโดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา ปฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอนที่กําหนดให แลวเขียนผลการทดลอง พรอมทั้งสรปุ ผลการทดลอง ผลการทดลอง เม่ือถอดหลอดไฟออกหนง่ึ หลอด หรอื ปดสวิทชบางตัวบนแผงสาธิต หลอดไฟที่เหลือยังคง ติดอยู สรุปผลการทดลอง การตอวงจรแบบขนาน เมอ่ื อปุ กรณไ ฟฟาตัวใดชํารดุ หรือหลดุ ออกจากวงจร อุปกรณไฟฟา ทีเ่ หลือยังสามารถทาํ งานได เนือ่ งจากกระแสในวงจรขนานไหลแยกกนั แตละวงจร กิจกรรมท่ี 2.5 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบผสมโดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา ปฏิบัตติ ามข้นั ตอนทกี่ ําหนดให แลว เขยี นผลการทดลอง พรอ มท้งั สรปุ ผลการทดลอง ผลการทดลอง - เมอ่ื ทําการถอดหลอด LED หลอดท่ี 1 หรอื 2 ออก พบวา หลอด LED ที่เหลอื ยังคงตดิ อยู - เมอ่ื ทําการปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก หลอด LED ทเี่ หลือดับ

165 สรุปผลการทดลอง วงจรไฟฟาแบบผสม คือ การตอวงจรไฟฟารวมกันระหวางวงจรไฟฟาแบบอนุกรมและ วงจรไฟฟา แบบขนาน จากการทดลอง เม่ือปลดหลอด LED หลอดที่ 1 หรือ 2 ออกพบวา หลอด LED ที่เหลือ ยงั คงสวางอยู เน่อื งจากเปน สวนของวงจรขนาน ซ่ึงกระแสไฟฟาสามารถไหลครบวงจรได แต เม่อื ทาํ การปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก พบวาหลอด LED ที่เหลือดับทุกหลอด เนื่องจากเปน สวนของวงจรอนกุ รม ทําใหกระแสไฟไมสามารถไหลไดค รบวงจร กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 สายดนิ และหลกั ดนิ กิจกรรมที่ 3.1 บอกถงึ ความสาํ คัญของสายดินและหลักดนิ สายดนิ และหลักดินที่ตอเขา กบั เครอื่ งใชไฟฟา โดยการตอลงดินนั้น มีไวเพื่อปองกัน อันตรายที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟร่ัว หากเกิดไฟช็อตหรือไฟร่ัวกระแสไฟเหลานั้นก็จะไหล ผา นเขา ไปที่สายดินแทน แตถาไมมีการติดต้ังสายดิน กระแสไฟท้ังหมดก็จะไหลเขาสูตัวเราทําให ไดร ับอนั ตรายและเสยี ชวี ิตได กจิ กรรมที่ 3.2 บอกเครอื่ งใชไฟฟาในครัวเรอื นท่ีตอ งตดิ ตงั้ สายดนิ มาอยางนอ ย 3 ชนิด 1. เครอ่ื งทาํ นา้ํ อุนไฟฟา 2. เครื่องซักผา 3. เครอ่ื งปรบั อากาศ

166 หนว ยการเรียนรูที่ 4 การใชแ ละการประหยดั พลงั งานไฟฟา กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 1 กลยทุ ธก ารประหยดั พลังงานไฟฟา 3 อ. กิจกรรมที่ 1.1 อธบิ ายแนวทางการประหยัดพลงั งานไฟฟา ตามกลยุทธ 3 อ. มาพอสงั เขป แนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟาท่ีเหมาะสมสอดคลองกับชีวิตและอุปนิสัยของ คนไทย คือ การใช “กลยทุ ธก ารประหยดั พลงั งาน 3 อ.” ไดแ ก - อ.1 อุปกรณประหยัดไฟฟา เปนการสงเสริมใหทุกครัวเรือนเปลี่ยนมาใช อปุ กรณไฟฟาท่มี ีประสทิ ธภิ าพสูง ทเี่ รียกวา “ฉลากประหยัดไฟฟา เบอร 5 หรอื ฉลากเบอร 5” - อ.2 อาคารประหยัดไฟฟา เปนการสงเสริมใหผูประกอบการภาคธุรกิจและ ภาคอุตสาหกรรม เห็นความสําคัญและพรอมใจกันใชอุปกรณประหยัดไฟฟาท่ีมีประสิทธิภาพสูง เชนเดยี วกบั กลุม ภาคท่ีอยอู าศยั พรอมไปกับการใชม าตรการตาง ๆ ท่ีเปนการประหยัดไฟฟา ซึ่งจะ สงผลใหเ กิดการประหยดั พลังงานไฟฟา ในอาคาร - อ.3 อุปนิสัยประหยัดไฟฟา เปนการปลูกจิตสํานึกและอุปนิสัยใหคนไทย โดยเฉพาะอยา งยิ่งเยาวชนไทย ใชพลงั งานอยา งมปี ระสิทธิภาพ กจิ กรรมที่ 1.2 อธิบายสาระสาํ คัญท่ปี รากฏอยูบนฉลากประหยดั ไฟเบอร 5

167 กิจกรรมที่ 1.3 จากความรูท่ีไดจากการศึกษาแนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟา ใหจัดทํา แผนพับ/ แผนปลิว เพ่ือเผยแพรและเชิญชวนใหมีการประหยัดพลังงานไฟฟา โดยใหมีประเด็น เนอื้ หาดังน้ี 1) สถานการณพ ลังงานไฟฟา ของประเทศไทย 2) เหตผุ ลและความจําเปน ทตี่ อ งชวยกนั ลดหรือประหยัดพลังงานไฟฟา 3) รวมแรง รวมใจประหยดั พลังงานไฟฟา (กลยทุ ธ 3 อ. /ปฏิบัติการ 4 ป.) แนวทางการประหยัดพลังงานควรจะมีประเดน็ เกยี่ วกับ สถานการณพลังงานไฟฟา ของประเทศไทยในปจ จุบนั ที่มีการพึง่ พากาซธรรมชาติมากเกินไป และกาซธรรมชาติจากอาวไทย ใกลจะหมดลง จึงควรรวมมือกันประหยัดพลังงานไฟฟา โดยใชกลยุทธประหยัดพลังงานไฟฟา 3 อ. ไดแ ก อปุ กรณประหยดั ไฟฟา อาคารประหยัดไฟฟา และอุปนสิ ัยประหยัดไฟฟา รวมทั้งปฏิบัติการ 4 ป. คือ ปด ปรับ ปลด เปลีย่ น กจิ กรรมทา ยเรือ่ งท่ี 2 การเลอื กซ้ือ การใช และการดแู ลรกั ษาเครอ่ื งใชไฟฟาภายในบา น กิจกรรมที่ 2.1 บอกวิธี / แนวทางการเลือกซ้ือ และการใชเคร่ืองใชไฟฟาเพ่ือประหยัดพลังงาน ไฟฟา มา 5 ชนิด 1) กระตกิ นํ้ารอ นไฟฟา มีแนวทางการเลอื กซอื้ และการใชใ หประหยัดพลงั งานไฟฟา ดงั น้ี (1) เลือกซื้อรุน ทีม่ ตี รามาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.) (2) ใสนํ้าใหพอเหมาะกับความตอ งการหรือไมสูงกวา ระดบั ทีก่ าํ หนดไว เพราะจะทํา ใหกระติกนํ้ารอ นไฟฟา เกิดความเสยี หาย (3) ระวังอยาใหนํ้าแหง หรอื ปลอยใหร ะดับนํา้ ตาํ่ กวาขดี ทีก่ าํ หนด เพราะจะทําใหเ กิด ไฟฟาลดั วงจรในกระตกิ นาํ้ รอนไฟฟา เปน อนั ตรายอยางยงิ่ (4) ถอดปลั๊กเม่ือเลิกใชนํ้ารอนแลว เพ่ือลดการสิ้นเปลืองพลังงาน ไมควรเสียบปลั๊ก ตลอดเวลา แตหากมีความตองการใชน้ํารอนเปนระยะๆ ติดตอกัน เชน ในท่ีทํางานบางแหงที่มี นํา้ รอ นไวสําหรับเตรียมเครื่องด่ืมตอนรับแขก ก็ไมควรถอดปลั๊กออกบอย ๆ เพราะทุกคร้ังเมื่อดึง ปลก๊ั ออกอุณหภูมขิ องนํา้ จะคอย ๆ ลดลง กระตกิ นํ้ารอ นไฟฟาไมส ามารถเกบ็ ความรอนไดนาน เม่ือ จะใชงานใหมก ็ตอ งเสียบปลั๊ก และเริ่มตมนํา้ ใหมซ ง่ึ เปนการสนิ้ เปลอื งพลังงาน (5) อยา นําสิ่งใด ๆ มาปด ชองไอนา้ํ ออก

168 (6) ตรวจสอบการทาํ งานของอุปกรณควบคุมอณุ หภูมิใหอ ยใู นสภาพใชง านไดเ สมอ (7) ไมควรตัง้ ไวใ นหอ งที่มีการปรับอากาศ 2) พัดลม มแี นวทางการเลือกซ้ือ และการใชใหป ระหยัดพลังงานไฟฟา ดังน้ี 4. เลอื กซ้อื พัดลมท่ีเปนระบบธรรมดา เพราะจะประหยัดไฟกวาระบบที่มีรีโมทคอนโทรล หรือระบบไอนาํ้ 5. เลอื กซือ้ ยหี่ อ และรนุ ที่ไดรบั รองมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และมฉี ลากเบอร 5 6. เลอื กท่ีมขี นาดใบพัดและกําลังไฟฟาใหเ หมาะสม และตรงกับความตอ งการใชงาน 7. เลอื กใชความแรงของลมใหเหมาะกบั ความตองการ ความแรงของลมย่งิ มากยิง่ เปลอื งไฟ 8. ปดพดั ลมทนั ทีเมอื่ ไมใ ชงาน 9. ในกรณที ี่พัดลมมรี ะบบรีโมทคอนโทรลอยา เสยี บปลก๊ั ท้งิ ไว เพราะจะมไี ฟฟาเลี้ยง อปุ กรณต ลอดเวลา 10. ควรวางพัดลมในที่ที่มีอากาศถายเทสะดวก เพราะพัดลมใชหลักการดูดอากาศจาก บริเวณรอบ ๆ ทางดานหลังของตัวใบพัด แลวปลอยออกสูดานหนา เชน ถาอากาศบริเวณรอบ พดั ลมมีการถายเทดี ไมร อนหรืออบั ชน้ื ก็จะไดร บั ลมเย็น รูสึกสบาย และยังทําใหมอเตอรสามารถ ระบายความรอ นไดดี เปน การยดื อายุการใชงานอีกดวย 3) โทรทัศน มแี นวทางการเลอื กซ้ือ และการใชใ หประหยดั พลงั งานไฟฟา ดังน้ี (1) การเลือกใชโทรทัศนควรคํานงึ ถงึ ความตองการในการใชงาน โดยพิจารณาจากขนาด และการใชกําลงั ไฟฟา สําหรบั เทคโนโลยเี ดียวกัน โทรทัศนที่มขี นาดใหญ ยิง่ กินไฟมากขน้ึ (2) อยาเสียบปลั๊กท้ิงไว เพราะโทรทัศนจะมไี ฟฟาหลอ เลย้ี งระบบภายในอยูตลอดเวลา ทําใหส น้ิ เปลืองไฟ และอาจกอใหเกิดอนั ตรายในขณะเกดิ ฟาแลบได (3) ปดและถอดปลั๊กทันทีเมื่อไมมีคนดู หากชอบหลับหนาโทรทัศนบอย ๆ ควรใช โทรทัศน รนุ ที่ตงั้ เวลาปดโดยอตั โนมัติ เพือ่ ชว ยประหยดั ไฟฟา (4) หากชมโทรทศั นชอ งเดียวกนั ควรดดู วยกนั ประหยัดทั้งคาไฟ และอบอุนใจไดอยูดวยกัน ท้ังครอบครัว (5) เลิกเปดโทรทัศนลวงหนาเพ่ือรอดูรายการที่ชื่นชอบ เปดดูรายการเมื่อถึงเวลา ออกอากาศ

169 (6) ไมควรปรับจอภาพใหสวางมากเกินไป และไมควรเปลี่ยนชองบอย เพราะจะทําให หลอดภาพมอี ายกุ ารใชง านลดลง และสิ้นเปลอื งไฟฟาโดยไมจ าํ เปน 4) เตารีดไฟฟา มแี นวทางการเลือกซอื้ และการใชใ หป ระหยัดพลงั งานไฟฟา ดงั น้ี (1) เลือกซือ้ เฉพาะเตารดี ไฟฟา ท่ไี ดรบั มาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.) และมีฉลาก เบอร 5 (2) เลอื กซอื้ ขนาดและกาํ ลังไฟฟา ใหเ หมาะกับความตอ งการและลักษณะการใชงาน (3) ควรเกบ็ ผา ที่รอรีดใหเ รยี บรอย และใหผา ยบั นอ ยทสี่ ุด (4) ควรแยกประเภทผาหนาและผา บาง เพ่ือความสะดวกในการรดี (5) ควรรวบรวมผาที่จะรีดแตละครง้ั ใหมากพอ การรีดผา ครง้ั ละชดุ ทาํ ใหส ้ินเปลือง ไฟฟามาก (6) ไมควรพรมนา้ํ มากจนเกนิ ไป เพราะจะทําใหสญู เสยี ความรอ นจากการรีดมาก (7) ควรเรม่ิ รีดจากผา บาง ๆ หรอื ตอ งการความรอนนอ ยกอน จากนั้นจึงรีดผาท่ีตองการความ รอ นสูง และควรเหลอื ผาทต่ี องการความรอนนอยสว นหนึง่ ไวร ีดในตอนทาย (8) ควรถอดปลกั๊ กอนเสรจ็ สิ้นการรดี 3 - 4 นาที 5) ตูเย็น มแี นวทางการเลอื กซือ้ และการใชใ หป ระหยดั พลงั งานไฟฟา ดงั นี้ 8) เลือกซือ้ ตเู ยน็ ทไ่ี ดรบั การรับรองฉลากเบอร 5 9) เลือกซอื้ ประเภทและขนาดใหเหมาะกับความตองการและลกั ษณะการใชง าน 10) คา ไฟฟาจะเพิม่ ตามจํานวนคร้ังของการเปด - ปดตเู ยน็ เพราะเม่ือเปดตเู ยน็ ความรอน ภายนอกจะไหลเขาตูเย็น ทําใหคอมเพรสเซอรตองทํางานหนักมากขึ้นเพ่ือรักษาอุณหภูมิภายใน ตเู ย็นใหค งเดมิ ตามทตี่ ง้ั ไว 11) ถาอุณหภูมิโดยรอบสูงข้ึน ปริมาณความรอนจะถูกถายเทเขาไปในตูเย็นมากขึ้น เปน การเพ่ิมภาระใหกับระบบทําความเย็น ดังน้ันจึงไมควรติดต้ังตูเย็นใกลกับแหลงกําเนิด ความรอนใด ๆ หรือรบั แสงอาทิตยโดยตรง 12) ไมเก็บอาหารในตูเย็นมากเกินไป เพราะจะทําใหอุณหภูมิในตูเย็นไมสม่ําเสมอ ควรใหมชี อ งวา ง เพื่อใหอากาศภายในไหลเวยี นไดส มาํ่ เสมอ 13) ถา นําอาหารที่มีอุณหภูมิสงู ไปแชในตเู ยน็ จะสงผลกระทบดังนี้ (6.1) ทาํ ใหอ าหารตาง ๆ ท่อี ยูในบรเิ วณขา งเคยี งเสอื่ มคณุ ภาพหรอื เสยี ได

170 (6.2) หากตเู ย็นกําลงั ทํางานเต็มท่ีจะทาํ ใหไ อสารทาํ ความเย็นกอนเขา เครือ่ งอดั รอ นจน ไมสามารถทาํ หนา ท่หี ลอ เย็นคอมเพรสเซอรไดเ พียงพอ และสงผลใหอายุคอมเพรสเซอรส น้ั ลง (6.3) สญู เสยี พลงั งานไฟฟามากขน้ึ 14) เมื่อดึงปลั๊กออกแลวไมควรเสียบปล๊ักใหมทันที เพราะเมื่อเคร่ืองหยุด สารทํา ความเย็นจากสวนที่มีความดันสูงจะไหลไปทางท่ีมีความดันตํ่าจนความดันภายในวงจรเทากัน ดังนัน้ ถา คอมเพรสเซอรเร่ิมทํางานทันที สารทําความเย็นยังไหลกลับไมทัน เครื่องจึงตองออกแรง ฉุดมากเพื่อเอาชนะแรงเฉื่อยและแรงเสียดทาน ซ่ึงจะสงผลใหมอเตอรของเคร่ืองอัดทํางานหนัก และเกดิ การชํารดุ หรอื อายุการใชงานสั้นลง กจิ กรรมท่ี 2.2 บอกหลกั การหรอื เหตผุ ลท่ใี ชใ นการตัดสินใจเลือกซื้อเคร่ืองใชไฟฟาในครัวเรือนมา 1 ชนิด (ยหี่ อ ขนาด เหตุผลทเ่ี ลือก) ควรเปน การเลือกซอ้ื โดยยดึ หลักการเลือกซอ้ื เคร่ืองใชไฟฟาอยางประหยัดพลังงาน ไฟฟา เชน มฉี ลากเบอร 5 กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 3 การวางแผนและการคาํ นวณคา ไฟฟาในครัวเรือน กิจกรรมท่ี 3.1 อธิบายเก่ยี วกบั คาไฟฟาฐานและคาไฟฟา ผนั แปร (Ft) คา ไฟฟาฐาน ซ่ึงการไฟฟา นครหลวงใชคาํ วา คาพลังงานไฟฟา เปน คา ไฟฟา ที่ สะทอนตน ทุนในการกอสรา งโรงไฟฟา ระบบสายสง ระบบจาํ หนาย และคา การผลิตพลังงานไฟฟา ภายใตส มมตฐิ านความตองการไฟฟา คา เช้อื เพลงิ คา ซือ้ ไฟฟา คาใชจา ยตามนโยบายของรัฐ ณ วนั ทีก่ ําหนดโครงสรางคา ไฟฟา โดยคณะกรรมการกํากับกจิ การพลงั งาน (กกพ.) จะพจิ ารณาปรบั คา ไฟฟาฐานคราวละ 3 - 5 ป ดงั นั้นในระหวา งชว งเวลาดังกลาว คา ใชจายที่อยูเหนอื การควบคุม คอื คา ไฟฟาผนั แปร (Ft) ที่มผี ลตอ ตน ทุนการผลิตไฟฟา ซง่ึ อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงทั้งเพ่มิ ข้นึ หรอื ลดลง คณะกรรมการกํากับกจิ การพลังงาน (กกพ.) จึงใชกลไกตามสตู รอตั โนมตั มิ าปรับคา ไฟฟาผัน แปร (Ft) คา ไฟฟา ผนั แปร หรือทนี่ ยิ มเรียกกนั วา คาเอฟที (Ft) หมายถึง คาไฟฟา ทีส่ ะทอน การเปล่ยี นแปลงของคา ใชจ ายท่อี ยูนอกเหนือการควบคุม ไดแก คาเชอ้ื เพลิง คาซอ้ื ไฟฟา

171 และคาใชจา ยตามนโยบายของรัฐทเ่ี ปลี่ยนไปจากคาไฟฟาฐาน โดยคณะกรรมการกํากับกจิ การ พลงั งาน (กกพ.) จะพจิ ารณาปรบั คาทกุ 4 เดอื น กิจกรรมที่ 3.2 เพราะเหตุใด การคํานวณคาใชไฟฟาในปจจุบัน จึงกําหนดเปน “อัตรากาวหนา” (ยิง่ ใชม ากราคายง่ิ สงู ขน้ึ ) เนื่องจากเชื้อเพลิงที่ใชผลิตไฟฟามีจํากัดและตองนําเขาจากตางประเทศ สงผล กระทบตอประเทศชาติ จึงตองการใหประชาชนใชไฟฟาเทาท่ีจําเปนและใชอยางประหยัด จึงตั้ง ราคาคา ไฟฟา ใหเปนอตั รากา วหนา กิจกรรมท่ี 3.3 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบขนาน โดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนทีก่ ําหนดให แลว เขียนผลการทดลอง พรอ มทงั้ สรุปผลการทดลอง ผลการทดลอง 1. คาแรงดนั ไฟฟา (V) 220 โวลต (ใหใชค าจรงิ ทีอ่ านไดจากมเิ ตอร) 2. สมมุติใหใ ชง านอุปกรณไฟฟาเปนเวลา 240 ชว่ั โมง (คา สมมุติตามความเหมาะสม) 3. สมมุติใหคาไฟฟา 4 บาท ตอ หนวย (คา สมมตุ ติ ามความเหมาะสม) ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ลําดบั อุปกรณ คากระแสไฟฟา คา กําลังไฟฟา คา พลังงานไฟฟา คา ไฟฟา ไฟฟา (แอมป) (วัตต) (หนวย) (บาท) (คา สมมตุ )ิ P=VxI ยนู ิต=(Pxชว่ั โมง)/1,000 คา ไฟฟา =ยนู ติ xราคา 1 หลอดไส 0.283 ตอ หนวย 0.078 0.283x220 (62.26x240)/1000 2 หลอด 0.061 = 62.26 = 14.94 14.94x4 ตะเกยี บ 0.422 0.078x220 = 59.76 = 17.16 (17.16x240)/1000 4.12x4 3 หลอด LED 0.061x220 = 4.12 = 16.48 = 13.42 3.22x4 รวม 92.84 (13.42x240)/1000 = 12.88 = 3.22 89.12 22.28

172 สรปุ ผลการทดลอง หลอดไฟท้ัง 3 ชนดิ ใหความสวางแตกตางกัน และหลอดไฟที่กินไฟมากไปนอย ไดแก หลอดไส » หลอดตะเกียบ » หลอด LED สง ผลใหค า ไฟฟา จากการใชหลอดไส มีคามากที่สุด และ คาไฟฟา จากหลอด LED มีคานอยที่สุด ดังน้ันในการเลือกใชหลอดไฟ เราควรเลือกใชหลอด LED เพราะเปนหลอดท่ีชวยประหยัดไฟฟา นอกจากน้ียังมีอายุการใชงานท่ีนานกวาหลอดทุกชนิดอีก ดว ย กิจกรรมที่ 3.4 ใหปฏบิ ตั กิ ารลดคาไฟฟา โดยดาํ เนินการดงั น้ี 1) สาํ รวจชนิด กาํ ลงั ไฟฟา และจาํ นวนเครื่องใชไฟฟา ที่มีอยใู นครัวเรือน และจํานวนชว่ั โมงการใช โดยประมาณในหน่งึ เดือน ลงในตาราง ชนดิ เครื่องใชไ ฟฟา กาํ ลังไฟฟา จาํ นวน จํานวน คา ไฟฟา (วัตต) เวลาใชงาน หนว ยไฟฟา (บาท) (ช่วั โมง) (หนวย) รวม 2) พจิ ารณาวา เครอ่ื งใชไฟฟาจากตารางชนิดใดบางท่ีสามารถลดจํานวนเวลาในการใชง านลงได 3) ทาํ การลดการใชงานเครอื่ งใชไ ฟฟา ชนดิ ท่ีสามารถทําไดเ ปน เวลา 1 เดอื น 4) แสดงใบแจง คา ไฟฟา กอนและหลงั ดําเนินการลดการใชไ ฟฟา ตามแผน สรปุ ผลปฏิบตั ิการ หากสามารถลดคา ไฟฟา ลงได จากการดําเนนิ การปฏบิ ตั กิ ารลดคา ไฟฟา สามารถลดคา ไฟฟาลงได บาท หรือคิดเปนรอยละ หากไมส ามารถลดคา ไฟฟาลงได จากการดําเนินการปฏิบัติการลดคาไฟฟา ไมส ามารถ ลดคา ไฟฟาลงได เนือ่ งจากใชไ ฟฟาอยา งประหยดั อยแู ลว

173 คณะผจู ัดทํา คณะทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. สํานกั งาน กศน. นายสุรพงษ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. สาํ นักงาน กศน. นายประเสรฐิ หอมดี รองผวู าการพัฒนาโรงไฟฟา นายรตั นชัย นามวงศ ผูชวยผวู าการวิศวกรรมโรงไฟฟา นายทนงรักษ แสงวัฒนะชยั ผูอํานวยการสาํ นักงาน กศน.จงั หวัดพิษณุโลก นายนรา เหลา วชิ ยา ผูอํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา นางตรีนุช สุขสุเดช ตามอธั ยาศยั ผูอ ํานวยการฝายบริหารงานวศิ วกรรมโรงไฟฟา และพลงั งาน นายสรุ พงษ คลอวุฒเิ สถียร นิวเคลียร ผชู ว ยผอู ํานวยการฝา ยบรหิ ารงานวศิ วกรรมโรงไฟฟา นายศภุ ผล รตั นากร และพลังงานนิวเคลยี ร การไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย หวั หนา แผนกปฏกิ รณน ิวเคลียร การไฟฟา ฝา ยผลติ แหง นางสาวนทีกลู เกรียงชยั พร ประเทศไทย คณะทาํ งาน ผอู าํ นวยการ กศน.เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร นางสาวกรรณกิ าร อินทราย ครชู าํ นาญการพิเศษ สถาบันการศกึ ษาทางไกล นายเชาวลติ ธาดาสิทธิเวท ครูชาํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางบุษบา มาลนิ ีกลุ ครูชาํ นาญการพิเศษ กศน.อาํ เภอหางดง จงั หวัดเชยี งใหม นางกมลวรรณ มโนวงศ บรรณารักษชํานาญการพเิ ศษ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ นางปุญญดา ชาวงคศรี ครอู าสาสมัครฯ กศน.อาํ เภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี นางสาวบรรยาย ทิมธรรม วศิ วกร ระดับ 9 การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย นายพิชยั ชูกาญจนพิทักษ นักวิทยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟา ฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย นางสาวนภากาญจน สุวรรณคช นกั วิทยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย นางสาวศริ กุล กาญจนปฐมพร

174 คณะบรรณาธกิ าร นางสาววมิ ลรัตน ภรู คิ ปุ ต ผูอาํ นวยการ กศน. เขตบางเขน สํานักงาน กศน. กรงุ เทพฯ นางสาวอนงค ชูชยั มงคล ครเู ช่ยี วชาญ สํานักงาน กศน. จงั หวัดอุทยั ธานี นายสพุ จน เชย่ี วชลวิทย ครูเช่ยี วชาญ กศน. เขตประเวศ กรงุ เทพฯ นางสาวพจนยี  สวัสด์ริ ัตน ครชู ํานาญการพิเศษ สํานกั งาน กศน.จังหวดั กาํ แพงเพชร นายเชาวลิต ธาดาสทิ ธเิ วท ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบนั การศกึ ษาทางไกล นางกมลวรรณ มโนวงศ ครชู ํานาญการพิเศษ สํานักงาน กศน. จงั หวัดเชียงใหม นางญาณิศา สุขอุดม นักวิชาการศกึ ษาชํานาญการพิเศษ สํานกั งาน กศน. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป นกั วชิ าการศกึ ษาชํานาญการพเิ ศษ สาํ นกั งาน กศน. นางสาวนิธมิ า ศรพี านชิ วิศวกร ระดับ 6 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย นางสาวกาญจนา กิตดิ ี นักวทิ ยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย นางสาวนภากาญจน สวุ รรณคช นักวิทยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย นางสาวจริ ดา วทิ ยพบิ ลู ย วิศวกร ระดบั 6 การไฟฟาฝายผลติ แหงประเทศไทย นางสาวศริ กลุ กาญจนปฐมพร นักวทิ ยาศาสตร ระดบั 5 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย นายบญุ ชนะ ลอ มสริ อิ ุดม ครู คศ. 1 กศน. เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ นายธณลั ฐวิ รรธน ภคพัฑวัฒนฐากรู ครศู ูนยก ารเรยี นชมุ ชน กศน. เขตหนองแขม กรุงเทพฯ

175


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook