Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรรมสัญลักษณ์นิวเคลียร์

ชุดกิจกรรมสัญลักษณ์นิวเคลียร์

Published by supinsumitdee, 2020-06-13 01:24:52

Description: ชุดกิจกรรมสัญลักษณ์นิวเคลียร์

Search

Read the Text Version

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นตอน รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ คมี รหัสวชิ า ว30102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เร่ือง ธาตแุ ละสารประกอบ ชุดที่ 2 อนุภาคมลู ฐาน สญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์ และไอโซโทป 6 proton 6 neutron 6 electron 12 C 14 C 6 proton 6 6 8 neutron 6 electron นางสาวสุพนิ สมุ ิตดี โรงเรยี นพนมดงรกั วทิ ยา จงั หวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 33

ค านา ชดุ กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ 7 ข้ันตอน รายวชิ าวิทยาศาสตร์ เคมี รหัสวชิ า ว30102 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เร่ือง ธาตุและสารประกอบ ผู้สอนไดด้ าเนนิ การ จดั ทาเป็นชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ที่สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบตั ิของสาร จดั ทาขึ้นโดยการรวบรวมความรู้จากการศึกษาค้นคว้าตารา เอกสาร งานวิจัยรวมทั้งข้อมลู จาก อินเทอร์เนต็ ท่เี กยี่ วข้อง เป็นการพัฒนาสือ่ นวัตกรรมเพ่ือให้ครูผูส้ อนใช้ประกอบการจดั กจิ กรรมการ เรียนรขู้ องนกั เรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นชุดกจิ กรรมการเรียนรู้สาหรับพัฒนาการเรียนรู้ทเ่ี น้น ให้นักเรยี นได้เรยี นรดู้ ้วยตนเอง และเรียนรู้เป็นกลมุ่ พัฒนาทักษะสาคญั ในการศกึ ษาหาความรู้ โดย ศึกษาเนือ้ หา และฝึกปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองโดยการเรียนร้ตู ามข้นั ตอนด้วยความต้งั ใจและมคี วาม ซอ่ื สัตยต์ อ่ ตนเอง เพื่อให้เกิดความร้คู วามเข้าใจ และนาความร้ทู ีไ่ ดไ้ ปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั และ เป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวิตในอนาคต ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์เคมี รหัสวิชา ว30102 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เร่ือง ธาตุและสารประกอบ ประกอบด้วยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ทง้ั หมด 8 ชุด ดงั น้ี ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 1 วิวัฒนาการแบบจาลองอะตอมของธาตุ ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 2 อนภุ าคมลู ฐาน สัญลักษณน์ วิ เคลยี ร์และไอโซโทป ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 3 การจดั เรยี งอิเล็กตรอนในอะตอม ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 4 ตารางธาตุ ชุดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ 5 สมบัติของธาตใุ นตารางธาตุ ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 6 พันธะโคเวเลนต์ ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 7 พนั ธะไอออนิก ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 8 พนั ธะโลหะ ในชดุ กิจกรรมนี้ ประกอบด้วย กระบวนการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (7E) เพ่ือให้ นกั เรยี นได้ความรู้ ได้ฝึกปฏิบตั ิ สามารถนาความรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน ผู้จัดทาหวัง เป็นอย่างย่ิงว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนจ้ี ะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผเู้ รยี น ให้ ครูผสู้ อนสามารถใชพ้ ฒั นาการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ สพุ นิ สุมิตดี

สารบญั หนา้ ก เรอ่ื ง ข คานา 1 สารบญั 2 แผนภูมิการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4 กระบวนการเรยี นร้แู บบสืบเสาะหาความรู้ (7E) 5 คู่มอื ครู 6 บทบาทของครผู ้สู อน 7 คมู่ อื นักเรยี น 8 บทบาทของนักเรียน 10 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 12 แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง การจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม 13 ขัน้ ตรวจสอบความร้เู ดิม 14 ขน้ั เรา้ ความสนใจ 21 ข้ันสารวจคน้ หา 22 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป 23 ขัน้ ขยายความรู้ 24 ข้นั ประเมนิ ผล 25 ขน้ั นาความรู้ไปใช้ 27 แบบทดสอบหลงั เรียน 28 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

แผนภมู กิ ารใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ศึกษากระบวนการเรียนรู้แ บบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ศกึ ษาคมู่ อื ครู ศกึ ษาคมู่ อื นกั เรยี น ศกึ ษาสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ทาแ บบทดสอบกอ่ นเรยี น ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรียนรตู้ ามข้นั ตอน ไม่ผ่านเกณฑ์ ทาแ บบทดสอบหลงั เรียน ผา่ นเกณฑ์ ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม

กระบวนการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์เคมี รหัสวิชา ว30102 เรื่อง ธาตุและ สารประกอบ สาหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จดั ทาข้ึนโดยการวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ัด และสาระการเรยี นรูต้ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพอ่ื ให้ นกั เรียนใช้เป็นสื่อในการเรียนรู้ และศึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ (7E) ประกอบด้วยขัน้ ตอนท่สี าคัญดงั นี้ 1. ข้ันตรวจสอบความรู้เดมิ (Elicitation Phase) ครจู ะต้องทาหนา้ ท่ใี นการตง้ั คาถามเพอ่ื กระตุน้ ให้นักเรียนไดแ้ สดงความรู้เดิม คา ถาม อาจจะ เปน็ ประเดน็ ปัญหาที่เกดิ ข้ึนตามสภาพสังคมทอ้ งถ่นิ หรอื ประเด็นข้อค้นพบทางวิทยาศาสตร์ การนา วิทยาศาสตร์มาใช้ในชวี ติ ประจาวัน สามารถเชอ่ื มโยงการเรียนรูไ้ ปยังประสบการณ์ทตี่ นมี ทาใหค้ รูได้ ทราบวา่ นกั เรยี นแต่ละคนมีความรพู้ ื้นฐานเปน็ อยา่ งไร ครคู วรเตมิ เตม็ ในส่วนใดให้กับนักเรียน และ ครยู ังสามารถวางแผนการจัดการเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของนักเรยี น 2. ขัน้ เรา้ ความสนใจ (Engagement Phase) เป็นการนาเข้าสู่เนื้อหาในบทเรียนหรือเรื่องท่ีน่าสนใจ ซง่ึ อาจจะเกดิ จากความสนใจของ นักเรยี น หรือเกิดจากการอภิปรายภายในกลุ่ม เร่ืองที่น่าสนใจอาจมาจากเหตุการณท์ ี่กาลังเกดิ ขึ้นใน ช่วงเวลานั้น หรือเป็นเรื่องทเี่ ชื่อมโยงกับความรู้เดมิ ทน่ี ักเรียนเพง่ิ เรยี นร้มู าแล้ว ครูทาหนา้ ทก่ี ระต้นุ ให้ นักเรยี นสรา้ งคาถาม ยั่วยุให้นักเรียนเกิดความอยากรอู้ ยากเหน็ และกาหนดประเด็นทีจ่ ะศกึ ษาใหก้ ับ นกั เรยี น ในกรณีท่ยี งั ไม่มปี ระเด็นทนี่ ่าสนใจ ครอู าจให้ศึกษาจากสอ่ื ต่าง ๆ เช่น หนงั สือพมิ พ์ วารสาร อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นต้น ซึง่ ทาใหน้ กั เรยี นเกดิ ความคิดขัดแยง้ จากสิ่งที่นกั เรียนเคยรมู้ ากอ่ น ครูเปน็ ผทู้ ีท่ า หน้าท่ีกระตุ้นให้นักเรียนคดิ โดยเสนอประเด็นท่สี าคัญขึ้นมากอ่ น แต่ไม่ควรบังคับให้นกั เรียนยอมรับ ประเด็นหรอื คาถามท่คี รูกาลังสนใจเปน็ เร่ืองที่ใหน้ กั เรยี นศึกษา เพ่ือนาไปสู่การสารวจตรวจสอบใน ขั้นตอนต่อไป

3. ข้ันสารวจค้นหา (Exploration Phase) เม่อื นักเรียนทาความเขา้ ใจในประเดน็ หรอื คาถามทส่ี นใจจะศึกษาอย่างถ่องแท้แล้ว กม็ ีการ วางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบต้ังสมมติฐาน กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือ ปฏบิ ตั ิ เพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มูลข้อสนเทศ หรอื ปรากฏการณต์ ่างๆ วธิ กี ารตรวจสอบ อาจทาไดห้ ลาย วธิ ี เช่น สืบคน้ ข้อมูล สารวจ ทดลองกิจกรรม ภาคสนาม เป็นต้น เพื่อให้ได้ ข้อมูลอย่างพอเพียง ครูทาหน้าท่กี ระตุน้ ใหน้ ักเรยี นตรวจสอบปญั หาและดาเนนิ การสารวจ ตรวจสอบ และรวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง 4. ขัน้ อธบิ าย (Explanation Phase) เมอ่ื ได้ข้อมูลมาแล้วนกั เรยี นก็จะนาขอ้ มูลเหลา่ น้ันมาทาการวิเคราะห์ แปลผล สรปุ ผล และ นาเสนอผลที่ไดใ้ นรูปแบบตา่ งๆ เชน่ บรรยายสรุป รูปวาด สรา้ งแบบจาลอง ตาราง กราฟ ฯลฯ ซ่ึง จะช่วยให้นักเรยี นเห็นแนวโน้มหรือความสัมพันธ์ของขอ้ มลู สรปุ และอภิปรายผลการ ทดลอง โดย อ้างอิงประจักษ์พยานอย่างชัดเจน เพื่อนาเสนอแนวคิดต่อไป ขั้น น้ีจะ ทาให้นักเรียน ได้สร้าง องค์ความร้ใู หม่ การค้นพบในขน้ั น้ีอาจเปน็ ไปไดห้ ลายทาง เชน่ สนบั สนุนสมมติฐาน แตผ่ ลทไ่ี ดจ้ ะอยู่ ในรปู แบบใดกส็ ามารถสร้างความร้แู ละชว่ ยนักเรียนให้เกดิ การเรียนรู้ 5. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase) เปน็ การนาความรูท้ ่ีสร้างขน้ึ ไปเชื่อมโยงกบั ความรู้เดมิ หรอื แนวคิดเดิมที่ค้นคว้าเพม่ิ เติม หรือ นาแบบจาลอง หรือข้อสรุปท่ีได้ไปใช้อธิบายสถานการณ์ หรอื เหตุการณอ์ ื่นๆ ถ้าใช้อธิบายเรื่องราว ตา่ งๆ ไดม้ ากก็แสดงวา่ มขี ้อจากัดนอ้ ย ซ่ึงก็จะช่วยให้เช่ือมโยงเกีย่ วกับเรื่องราวต่างๆ และทาให้เกิด ความรกู้ ว้างขวางขน้ึ ครคู วรจัดกิจกรรมหรือสถานการณ์ใหน้ ักเรียนมีความรู้มากขึน้ และขยายกรอบ แนวคดิ ของตนเอง และต่อเตมิ ให้สอดคลอ้ งกบั ประสบการณ์เดมิ ครูควรสง่ เสริมให้นักเรยี นต้ังประเด็น เพ่อื อภิปรายและแสดงความคิดเหน็ เพิ่มเตมิ ให้ชัดเจนมากยง่ิ ขนึ้ 6. ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation Phase)

เปน็ การประเมินการเรียนรูด้ ้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนรู้อะไรบ้างอยา่ งไร และ มาก น้อยเพียงใด ข้ันนจี้ ะช่วยให้นักเรยี นสามารถนาความรทู้ ่ีได้ มาประมวลและปรับประยุกต์ใช้ ในเร่อื ง อืน่ ๆ ได้ ครูควรสง่ เสริมให้นักเรียนนาความรู้ใหม่ท่ีได้ไปเช่อื มโยงกับความรู้เดมิ และสร้างเปน็ องค์ ความร้ใู หม่ นอกจากน้ีครูควรเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นไดต้ รวจสอบซง่ึ กันและกัน 7. ขนั้ นาความร้ไู ปใช้ (Extention Phase) ครูจะต้องมกี ารจดั เตรยี มโอกาสให้นกั เรียนนาความรูท้ ่ีได้ไปประยกุ ต์ใชใ้ ห้เหมาะสม และเกิด ประโยชน์ต่อชีวติ ประจาวัน ครูเป็นผทู้ าหนา้ ท่ีกระต้นุ ใหน้ ักเรียนสามารถนาความรไู้ ปสร้างความรู้ใหม่ ซง่ึ จะช่วยให้นกั เรยี นสามารถถ่ายโอนการเรียนรไู้ ด้

คู่มอื ครู คาชแ้ี จงสาหรบั ครผู สู้ อน กา รศึกษาชุ ดกิจ กรร มกา รเรียน รู้ ร ายวิชา วิทยาศา สตร์เคมี ร หัสวิชา ว 3 0102 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง ธาตุและสารประกอบ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง อนภุ าคมูลฐาน สัญลักษณ์นิวเคลียร์ และไอโซโทป โดยการจดั กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ (7E) ครผู ้สู อนควรปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. ศกึ ษารายละเอียดกอ่ นปฏิบตั กิ จิ กรรมการสอน 1.1 ศึกษาคาชีแ้ จงของชุดกิจกรรมที่ 2 เร่อื ง อนภุ าคมลู ฐาน สัญลักษณน์ ิวเคลียร์ และ ไอโซโทป 1.2 ศกึ ษาคมู่ อื ครู คมู่ อื นกั เรยี น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้ ใบกจิ กรรม 2. ครตู อ้ งเตรยี มวสั ดใุ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดังนี้ 2.1 คู่มอื ครูชดุ กิจกรรมที่ 2 เรื่อง อนภุ าคมูลฐาน สญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ และไอโซโทป 1 ชุด 2.2 แผนการจดั การเรียนรู้ 2 เร่ือง อนภุ าคมูลฐาน สัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์และไอโซโทป 1 ชุด 2.3 ค่มู อื นกั เรียนชดุ กิจกรรมที่ 2 เทา่ จานวนนักเรียน 2.4 ใบความรู้ ใบกิจกรรม ชดุ กจิ กรรมที่ 2 เท่าจานวนนักเรียน 2.5 แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม เทา่ จานวนนักเรยี น 2.6 แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง การจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนในอะตอม เท่าจานวนนกั เรยี น 2.7 กระดาษคาตอบกอ่ นและหลังเรียน เทา่ จานวนนกั เรียน 2.8 จัดเตรยี มสถานที่ และวสั ดุอุปกรณใ์ นการจดั กิจกรรม

บทบาทของครผู ูส้ อน 1. ดาเนนิ การเตรยี มเอกสาร อุปกรณแ์ ละสถานท่ีในการจดั กจิ กรรมให้เรยี บรอ้ ย 2. ดาเนินการจัดเตรียมความพรอ้ มตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสมกบั การเรยี นการสอนชุดกิจกรรมที่ 3 เร่ือง การจดั เรียงอเิ ล็กตรอนในอะตอม 2.1 จดั โตะ๊ เก้าอน้ี ักเรยี นภายในห้องเรยี นใหเ้ ป็นกลุ่ม 2.2 กาหนดขนาดของกลุ่มโดยแบง่ กลมุ่ นักเรียน กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถ คนเกง่ ปานกลาง และออ่ น โดยกาหนดใหน้ ักเรยี นแต่ละคนในกลมุ่ มหี มายเลขประจาตัวดงั น้ี คนท่ี 1 หมายเลข 1,คนที่ 2 หมายเลข 2, คนที่ 3 หมายเลข 3 และ คนที่ 4 หมายเลข 4 3. ก่อนจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ครคู วรชแี้ จงใหน้ กั เรยี นเข้าใจบทบาทของตนเอง แนะนา ขั้นตอนการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวปฏิบตั ใิ นระหว่างการดาเนินกิจกรรมการเรยี นรู้ แล้วจงึ ให้ ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 4. ขณะท่นี ักเรยี นทากิจกรรม ครูคอยให้ความช่วยเหลือแนะนากระตุ้นให้นักเรียนทา กิจกรรมอย่างกระตือรือร้น และตอบข้อสงสัยต่างๆระหวา่ งเรียนพรอ้ มท้ังสั งเกต และประเมิน พฤตกิ รรมการทางานของนกั เรยี น 5. เมือ่ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วน ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนแลว้ นา ผลทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียนแจง้ ให้นกั เรียนทราบความก้าวหนา้ ทางการเรียน 6. การวัดและประเมินผล จากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียน สังเกต พฤติกรรมการปฏบิ ัติงานกลุ่ม ประเมินด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ และความพึงพอใจทม่ี ีตอ่ ชดุ กิจกรรมการ เรยี นรู้ 7. ยกย่องเมอื่ นักเรยี นทางานร่วมกนั เปน็ กลมุ่ ใหร้ างวลั คาชมเชยในลกั ษณะกลุ่ม 8. เม่อื ส้นิ สุดการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรียนรู้ ครใู ห้นักเรยี นร่วมตรวจสอบ เก็บชุดกิจกรรม การเรยี นรู้วสั ดุ สงิ่ ของ และอปุ กรณใ์ ห้เรยี บร้อยเพอื่ สะดวกในการใชค้ รง้ั ตอ่ ไป

คมู่ ือนกั เรียน คาชแ้ี จงสาหรบั นกั เรยี น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้ ท่ี 2 เร่ือง อนุภาคมูลฐา น สญั ลักษณ์นิวเคลียร์ และไอโซโทป ให้นักเรียนปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียน โดยอา่ นคาแนะนาให้ เข้าใจและปฏิบัตติ ามคาช้แี จงแตล่ ะข้ันตอน ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง อนุภาคมูลฐาน สัญลกั ษณ์นวิ เคลียร์ และไอโซโทป ใช้ เวลา 2 ชั่วโมง 2. นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ซึ่งในแต่ละชดุ กิจกรรมการเรยี นรมู้ ีจานวน ข้อสอบชุดละ 10 ข้อ ใชเ้ วลาในการทาขอ้ สอบ 10 นาที เพ่ือประเมนิ ความรู้เดมิ ของนักเรยี น 3. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 4 คน โดยให้คละนักเรยี นในกลุ่ม 3 ระดบั คือ เก่ง ปานกลาง และออ่ น 4. นักเรียน ทุกกลุ่มร่วมกันศึกษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั จุดประสงค์ สาระสาคัญ และสาระการเรยี นรู้ 5. นกั เรียนทุกกล่มปฏิบัตกิ ิจกรรมตามขนั้ ตอนในชุดกจิ กรรม โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ประกอบด้วย ใบกิจกรรมและใบความรู้ซึ่งมีเนอื้ หาต่อเนือ่ งกันเป็น ขั้นตอน ดงั นี้ ข้นั ท่ี 1 ตรวจสอบความรู้เดมิ (Elicitation) ขน้ั ที่ 2 สรา้ งความสนใจ (Engagement) ขน้ั ท่ี 3 สารวจและคน้ หา (Exploration) ขั้นที่ 4 อธบิ ายและลงขอส้ รปุ (Explanation) ขั้นที่ 5 ขยายความรู้ (Elaboration/Expansion) ข้ันที่ 6 ประเมนิ ผล (Evaluation) ขน้ั ท่ี 7 นาความรไู้ ปใช้ (Extension) 6. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามขัน้ ตอนเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ให้ตรวจคาตอบได้จาก เฉลยใบกจิ กรรม 7. นักเรียนแตล่ ะคนแยกกันทาแบบทดสอบหลังเรียน ซึง่ ในแตล่ ะชุดกิจกรรมการเรียนรู้มี จานวนข้อสอบ ชุดละ 10 ข้อ ใช้เวลาในการทาข้อสอบ 10 นาที เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการ เรียนของนักเรียน

8. มขี ้อสงสัยปรึกษาครูผ้สู อนได้ทนั ที 9. เกณฑ์ผ่านการประเมินคิดเป็นร้อยละ 80 หากนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินใน ใบกจิ กรรม และแบบทดสอบ ให้นักเรียนศกึ ษาในใบความรู้ และทากิจกรรมในใบกิจกรรมอกี ครั้ง แล้ว ทาการประเมนิ ผลใหม่ ถ้าทาคะแนนได้มากขึน้ แสดงวา่ นกั เรยี นมคี วามความก้าวหน้าทางการเรยี น 10. นักเรียนแต่ละคนตอ้ งมีความซ่อื สัตยต์ ่อตนเอง ไมเ่ ปดิ ดเู ฉลยกอ่ นเรยี น – หลังเรียน

บทบาทของนกั เรยี น 1. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรนู้ ี้ช่วยให้นักเรยี นได้ฝึกทักษะกระบวนการกล่มุ ช่วยกันทางาน แลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โ ดยใ นแต่ละกลุ่มต้องประกอบด้วย ผู้เรียนท่ีมีความรู้ ความสามารถแตกต่างกันเพื่อที่จะให้เด็กเก่งชว่ ยเหลือเดก็ อ่อน ความสาเรจ็ ของบคุ คล คือความสาเร็จของ กลมุ่ ซงึ่ เป็นการเรยี นทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ และเป็นประโยชน์ถา้ นกั เรยี นปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนท่กี าหนดไว้ ในชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูน้ กี้ าหนดใหน้ กั เรียนมบี ทบาทดงั นี้ 2.1 นกั เรียนทเี่ รยี นเกง่ คอยใหค้ วามชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่เี รยี นอ่อน 2.2 มกี ารแบง่ หนา้ ที่รบั ผดิ ชอบตามงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 2.3 รจู้ ักการทางานเป็นทมี และฝกึ ทกั ษะการอยรู่ ว่ มกนั 3. ศึกษาและทาความเข้าใจชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แลว้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนที่กาหนดให้ 4. หากมีปญั หาหรอื ขอ้ สงสยั ประการใดใหส้ อบถามครผู ูส้ อน หรอื ผูค้ วบคมุ ชน้ั เรียนไดต้ ลอดเวลา

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ธาตุแ ละสารประกอบ รายวิชาวิทยาศาสตร์เคมี รหัสวิชา ว30102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษ าปที ่ี 4 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง อนภุ าคมลู ฐาน สัญลกั ษณ์นวิ เคลียร์ แ ละไอโซโทป สาระที่ 3 สารและสมบตั ขิ องสาร มาตร ฐาน ว 3.1 เขา้ ใจสมบตั ขิ องสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัติของสารกบั โครงสรา้ ง และแรงยึด เหน่ยี วระหว่างอนภุ าค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจติ วิทยาศาสตร์ สอ่ื สารสิ่งทเ่ี รียนรู้ นา ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้ีวัด ว3.1ม.4/1 สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายโครงสร้างอะตอม และสญั ลกั ษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ มาตร ฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสบื เสาะหาความรู้ การ แก้ปญั หา รวู้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกดิ ขึ้นส่วนใหญ่มีรปู แบบท่ีแนน่ อน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ภายใตข้ ้อมลู และเคร่ืองมอื ท่ีมีอย่ใู นชว่ งเวลาน้ันๆ เข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอ้ มมคี วามเกย่ี วขอ้ งสัมพันธก์ ัน ตวั ชว้ี ดั ว8.1ม.4/1 ต้งั คาถามท่ีอยบู่ นพืน้ ฐานของความรู้และความเข้าใจทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ความ สนใจ หรือจากประเด็นท่ีเกดิ ขน้ึ ในขณะน้นั ท่ีสามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศกึ ษาคน้ คว้าได้ อยา่ งครอบคลมุ และเชอื่ ถอื ได้ ว8.1ม.4/2 สรา้ งสมมติฐานที่มีทฤษฎรี องรับ หรือคาดการณ์ส่ิงทีจ่ ะพบ หรือสร้าง แบบจาลอง หรอื สรา้ งรูปแบบ เพอ่ื นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ

ว8.1ม.4/12 จดั แสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรอื อธบิ ายเกีย่ วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงงานหรอื ช้นิ งานใหผ้ ูอ้ ่นื เขา้ ใจ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกอนุภาคมลู ฐานของอะตอมได้ (K) 2. อธิบายและแปลความหมายของสญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ และ ไอโซโทปได้ (K) 3. มที กั ษะการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ่ (P) 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ (A) ความคดิ รวบยอด/สาระสาคญั นักวิทยาศาสตรไ์ ดศ้ กึ ษาโครงสรา้ งของอะตอม แล้วนามาสร้างเป็นแบบจาลองอะตอม ทาให้ ทราบวา่ อะตอมแบง่ ออกเป็น 2 ส่วน คือ นวิ เคลียสซง่ึ เปน็ แกนกลาง ประกอบด้วย อนภุ าคโปรตอน (Proton) กับ นิวตรอน (Neutron) ส่วนอิเล็กตรอน (Electron) เคลือ่ นทอ่ี ยรู่ อบๆ นวิ เคลียส เรียก อนุภาคทั้ง 3 ชนิด ว่า อนุภาคมูลฐานของอะตอม จานวนโปรตอนในนิวเคลียส เรียกวา เลขอะตอม ผลรวมของจานวน โปรตอนกับนวิ ตรอนเรียกวา เลขมวล ตัวเลขท้ังสองน้ีจะปรากฎอยูในสัญลักษณ นวิ เคลียรของไอโซโทปตางๆ ของธาตุ ส าร ะการ เ ร ียนร ู้ อะตอม ประกอบดวย อนภุ าคมูลฐานสาคัญ 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และ อิเลก็ ตรอน จานวนโปรตอนในนวิ เคลยี ส เรียกวา เลขอะตอม ผลรวมของจานวน โปรตอนกบั นิวตรอนเรียกวา เลขมวล ตัวเลขทง้ั สองน้จี ะปรากฎอยูในสัญลกั ษณนวิ เคลียรของไอโซโทปตางๆ ของธาตุ

แ บบทดสอบกอ่ นเรยี น เรือ่ ง อนุภาคมูลฐาน สญั ลักษ ณน์ วิ เคลยี ร์ แ ละไอโซโทป คาช้แี จง 1. แบบทดสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลอื ก จานวน 10 ขอ้ ใชเ้ วลา 10 นาที 2. ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ถี ูกท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว กากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ขอ้ ใดหมายถึง อนุภาคมูลฐานในอะตอม 2) โปรตอน, อเิ ลก็ ตรอน, นวิ เคลียส 1) โปรตอน, อิเล็กตรอน , นิวตรอน 4) โปรตอน, ดิวเทอรอน, นิวตรอน 3) โปรตอน, โปรซิตรอน , นิวตรอน 5) โปรเตียม, นิวตรอน, อเิ ลก็ ตรอน 2. จงพจิ ารณาขอ้ ความทีเ่ กีย่ วข้องกับอะตอมของธาตทุ ่ีเป็นกลางต่อไปน้ี ก. จานวนนิวตรอนเทา่ กบั จานวนโปรตอนเสมอ ข. จานวนโปรตอนเท่ากบั จานวนอิเล็กตรอนเสมอ ค. จานวนทงั้ หมดของประจบุ วกบนนิวตรอนเทา่ กับประจุลบบนอเิ ล็กตรอนเสมอ ง. มวลอะตอมส่วนใหญอ่ ยใู่ นนวิ เคลียส ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง 1) ก, ข 2) ก, ค 3) ข, ค 4) ข, ง 5) ถูกทุกข้อ 3. อะตอมในข้อใดท่มี จี านวนนิวตรอนน้อยทีส่ ุด 1) U235 2) U238 3) U239 4) U239 5) U245 92 92 93 94 95 4. เลขมวล หมายถึง 1) ตวั เลขท่แี สดงจานวนนวิ ตรอน 2) ตวั เลขทแี่ สดงจานวนโปรตอน 3) ตวั เลขที่แสดงจานวนอเิ ล็กตรอน 4) ผลรวมของจานวนโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอน 5) ผลรวมของจานวนโปรตอนและนวิ ตรอน 5. สัญลักษณ์ของธาตุทีม่ ีจานวนอิเล็กตรอน = 91 จานวนนิวตรอน =140 คือข้อใด 1) 14901Pa 2) 14901Pa 3) 29311Pa 4) 29311Pa 5) 91 Pa 235

6. อะตอมของธาตุ Y มโี ปรตอนเท่ากับ 6 นวิ ตรอน เท่ากบั 7 และอิเล็กตรอนเทา่ กับ 6 สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียรข์ อง Y คือ 1) 163Y 2) 163Y 3) 168Y 4) 186Y 5) 2100Y 7. คาชแ้ี จง ใช้ตารางตอ่ ไปน้ีตอบคาถาม อะตอม จานวนโปรตอน จานวนนวิ ตรอน จานวนอิเลก็ ตรอน A9 7 9 B9 8 9 C9 9 9 D9 9 9 การเขียนสัญลกั ษณอ์ ะตอมขอ้ ใดถูกตอ้ ง 1) 18 A 2) 9 B 3) 198C 4) 27 D 5) 1200D 7 8 9 8. อะตอมของธาตทุ เ่ี ปน็ กลางซึง่ มเี ลขมวล 19 และเลขอะตอม 9 ควรมีอนภุ าคมูลฐานตามข้อใด 1) 9 โปรตอน 10 นิวตรอน 9 อเิ ล็กตรอน 2) 9 โปรตอน 9 นวิ ตรอน 10 อิเลก็ ตรอน 3) 10 โปรตอน 10 นวิ ตรอน 19 อิเลก็ ตรอน 4) 10 โปรตอน 9 นวิ ตรอน 10 อเิ ลก็ ตรอน 5) 19 โปรตอน 9 นวิ ตรอน 19 อิเล็กตรอน 9. ถ้าไอโซโทป หมายถึง ธาตชุ นดิ เดียวกนั มีจานวนโปรตอนเท่ากัน จงเลือกไอโซปจาก 162 C,163 C,146 C,147 N,186 O 16 163 C 14 13 8 1) และ 7 N 2) 6 C และ O 3) 14 C และ 14 N 4) 14 C และ 16 O 6 7 6 8 5) 13 C และ 14 C 6 6 10. สารข้อใดเป็นไอโซโทปของไฮโดรเจนทงั้ หมด 2) โปรเตยี ม ดวิ ตีเรียม ตริเตียม 1) โปรเตียม อินเดยี ม โฮลเมียม 4) โฮลเมยี ม ตริเตยี ม รเี นียม 3) ดิวตริเรียม อินเดียม รเี นียม 5) รีเนยี ม เบริลเลยี น ตริเตรียม

1. ขนั้ ตรวจสอบความรเู้ ดมิ (Elicitation Phase) ) ใบกจิ กรรมทบทวนความรทู้ ่ี2.1 เรื่อง อนุภาคมลู ฐานในแบบจาลองอะตอมของธาตุ ให้นกั เรียนวเิ คราะหภ์ าพแบบจาลองอะตอมแล้วตอบคาถาม กำหนดให้ แทน โปรตอน แทน นวิ ตรอน แทน อิเลก็ ตรอน 1. จากภาพและการศึกษาแบบจาลองอะตอม ทาให้ทราบว่า อะตอมประกอบด้วยอนุภาค ใดบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. นิวเคลียสซึ่งเป็นแกนกลางของอะตอม ประกอบด้วย อนภุ าคมลู ฐานใดบ้าง และอนภุ าคแต่ ละชนิดมีจานวนเทา่ ใด …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. อนภุ าคใดเคล่ือนทอี่ ยู่รอบๆ นิวเคลียส และมจี านวนเท่าใด …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. ขั้นเรา้ ความสนใจ (Engagement Phase) ใบกิจกรรมท่ี 2.2 เร่อื ง ความสัมพันธ์อนุภาคมลู ฐานกบั การเขียนสญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์ ให้นักเรียนวิเคราะหภ์ าพแลว้ ตอบคาถาม A X Z กาหนดให้ แทน โปรตอน กาหนดให้ A คือ เลขมวล = โปรตอน+นวิ ตรอน แทน นวิ ตรอน z คอื เลขอะตอม = โปรตอน และ อเิ ลก็ ตรอน แทน อเิ ล็กตรอน x คือ สัญลกั ษณธ์ าตุ ภาพท่ี 1 แสดงแบบจาลองอะตอม ภาพที่ 2 แสดงสญั ลักษณ์นิวเคลียร์ 1. A คอื อะไร มคี า่ เท่าไร …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. z คืออะไร มีคา่ เทา่ ไร …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. กาหนดใหส้ ัญลักษณธ์ าตุ x แทนดว้ ยธาตุ Ne (นอี อน) จงเขยี นสญั ลกั ษณน์ วิ เคลียรข์ องธาตุ …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. ขั้นสารวจคน้ หา (Exploration Phase) ใบความรูท้ ี่ 2.1 เร่ือง อนภุ าคมลู ฐาน สญั ลักษณน์ วิ เคลียร์ และไอโซโทป อนภาคมลู ฐาน นกั วิทยาศาสตร์ไดศ้ ึกษาโครงสร้างของอะตอม แลว้ นามาสร้างเปน็ แบบจาลองอะตอม ทาให้ ทราบวา่ อะตอมแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ นวิ เคลียสซง่ึ เป็นแกนกลาง ประกอบดว้ ยอนุภาคโปรตอน (Proton) กับ นิวตรอน (Neutron) ส่วนอิเล็กตรอน (Electron) เคลอื่ นท่ีอย่รู อบๆ นวิ เคลียส เรียก อนภุ าคท้ัง 3 ชนดิ วา่ อนุภาคมูลฐานของอะตอม ดงั ภาพที่ 2 กำหนดให้ แทน โปรตอน แทน นิวตรอน แทน อิเลก็ ตรอน ภาพที่ 2 แสดงอนุภาคมลู ฐานของอะตอม จากภาพที่ 2 มีจานวนโปรตอน 4 ตัว และนิวตรอน 5 ตัว อยู่ในนวิ เคลียส สว่ นอเิ ล็กตรอน 4 ตัว เคล่ือนท่ีรอบนวิ เคลียส จานวนอเิ ล็กตรอนมคี า่ เท่ากบั จานวนโปรตอนเสมอ จึงทาใหอ้ ะตอมของ ธาตุเป็นกลางทางไฟฟา้ ซึง่ อนุภาคมูลฐานของอะตอมมีสมบัตดิ งั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 อนุภาคมลู ฐานของอะตอม ชนดิ ของ สญั ลักษณ์ ประจุ มวล(g) คา่ ประจุ (คูลอมบ์) มวลเปรยี บเทยี บกับ อนภุ าค 9.109 x 10-28 อเิ ลก็ ตรอน 1.673 x 10-24 อเิ ลก็ ตรอน e -1 1.675 x 10-24 1.602 x 10-19 1 โปรตอน p +1 1.602 x 10-19 1836 นิวตรอน n 0 0 1839 ขอ้ ควรจำ  คำ่ ประจุ e- = ค่ำประจุ p = 1.602 x 10-19 C/g  มวลของ n >มวลของ p > มวลของe- นักวิทยาศาสตร์ไดศ้ กึ ษาจานวนอนภุ าคมลู ฐานของอะตอมของธาตชุ นดิ ตา่ งๆ แสดงดงั ตาราง ที่ 2 ตารางที่ 2 จานวนอนภุ าคมูลฐานของอะตอมของธาตบุ างชนิด ชื่อธาตุ สัญลกั ษณ์ จานวนอนภุ าค นิวตรอน โปรตอน อิเล็กตรอน ไฮโดรเจน (Hydrogen) H - 1 1 ฮีเลยี ม (Helium) He 2 2 2 ลเิ ทยี ม (Lithium) Li 4 3 3 เบรลิ เลียม (Beryllium) Be 5 4 4 โบรอน (Boron) B 65 5 คารบ์ อน (Carbon) C 66 6 ไนโตรเจน (Nitrogen) N 77 7 ออกซิเจน (Oxygen) O 88 8 ฟลูออรีน (Fluorine) F 10 9 9 จากตารางท่ี 1 พบว่านวิ ตรอนเป็นกลางทางไฟฟา้ สว่ นโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนมีคา่ ประจุ ไฟฟ้าเทา่ กนั แต่มปี ระจุตรงกันข้าม โดยโปรตอนมปี ระจไุ ฟฟา้ เปน็ บวก และอเิ ล็กตรอนมีประจไุ ฟฟา้ เปน็ ลบ เมือ่ พจิ ารณาจานวนโปรตอนและอิเล็กตรอนของแตล่ ะอะตอมของธาตใุ นตารางท่ี 2 พบว่าแต่ ละธาตมุ จี านวนโปรตอนเท่ากับจานวนอเิ ล็กตรอน ดงั น้ัน อะตอมของธาตจุ งึ เป็นกลางทางไฟฟ้า

สัญลกั ษ ณน์ ิวเคลยี ร์ สัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ คอื สญั ลกั ษณ์ทบ่ี อกถึงอนภุ าคมูลฐานของอะตอมนั้นๆ โดยเขียนเลข มวลไวบ้ นมมุ ซา้ ยและเขยี นเลขอะตอมไว้ทางมุมล่างซ้ายของสัญลักษณธ์ าตุ ซึ่งเขียนได้ดังน้ี A X Z เลขอะตอม (Z) คอื ตัวเลขทบี่ อกจานวนโปรตอนในนวิ เคลียส ซง่ึ จะเท่ากับจานวน อิเลก็ ตรอน แทนด้วย Z เลขมวล (A) คอื ตวั เลขทีแ่ สดงผลบวกของจานวนโปรตอนและนิวตรอนท่ีอยใู่ นนวิ เคลียส แทนด้วย A ดังนัน้ จะได้ A = Z + n ตัวอย่างสัญลกั ษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตุ เลขมวล(A) 7 Li o เลขมวลบอกจำนวน p+n= 7 3 o เลขอะตอมบอกจำนวน p = 3 o ดังนัน้ n = 4 เลขอะตอม(Z) ไอโซโทป ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีโปรตอนเทา่ กัน แต่มีเลขมวลและจานวนนิวตรอน ตา่ งกัน เช่น 126 C , 136 C , 146 C หรอื ไฮโดรเจนมีสามไอโซโทป มีชอ่ื เรียกดงั น้ี

ไฮโดรเจนไอโซโทป ทมี่ ีเลขมวลเปน็ 1 โปรเตียม ( 11H ) แทนดว้ ย H ไฮโดรเจนไอโซโทป ท่มี เี ลขมวลเปน็ 2 ดวิ ตเี รียม ( 21H) แทนดว้ ย D ไฮโดรเจนไอโซโทป ท่มี เี ลขมวลเปน็ 3 ตริเดยี ม ( 31H ) แทนด้วย T ธาตุทีเ่ ปน็ ไอโซโทปกันจะมสี มบัตทิ างเคมีเหมอื นกนั แตส่ มบัตทิ างกายภาพต่างกนั การเรยี กชอ่ื ไอโซโทปของธาตุ การเรียกชือ่ ไอโซโทปของธาตุโดยเรยี กชื่อธาตุตามด้วยเลขมวล ดังนี้ สญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์ เขียนยอ่ ช ื่อไ อโ ซ โ ทป คาร์บอน-12 162C 12C โคบอลต์-60 2670Co 60Co ออกซิเจน-17 187O 17O

การใชป้ ระโยชนจ์ ากไอโซโทปของธาตุ การใชป้ ระโยชน์ ช่ือเฉพาะ สัญลักษณน์ วิ เคลยี ร์ แบบเต็ม แบบย่อ รกั ษาต่อมไทรอยด์เป็นพิษและมะเรง็ ไอโอดีน-131 (I-131) I131 131I 27 รกั ษาโรคมะเรง็ และการฆา่ เชือ้ โรค เครอ่ื งมอื แพทย์ ยา และ โคบอลต์-60 (Co-60) 60 Co 60 Co เครื่องสาอาง บางชนิด 27 รกั ษามะเรง็ ผิวหนงั ทองคา-198 (Au-198) 198 Au 198 Au ตรวจหาตาแหนง่ ของเน้ืองอกหรอื โซเดยี ม-24 (Na-24) 79 24 Na บริเวณท่ีมลี ม่ิ เลอื ดเกดิ ขึน้ 24 Na 11 การแพทย์ การรกั ษาโรคมะเร็งของเมด็ เลือดขาว ฟอสฟอรัส-32 (P-32) 32 P 32 P (ลวิ คเี มยี ) 15 พลงั งาน อุตสาหกรรม การรักษามะเรง็ ปากมดลกู มะเร็ง หลอดอาหาร ต่อมนา้ เหลือง และ เรเดยี ม-226 (Ra-226) 226 Ra 226 Ra มะเรง็ กระเพาะปสั สาวะ 88 ตรวจการทางาน สภาพกล้ามเนอ้ื ของหัวใจ และการไหลของโลหติ แทลเลยี ม-201 (Tl- 20811Tl 201Tl เล้ียงหวั ใจใช้ติดฉลากเม็ดเลอื ดขาว 201) เพอ่ื ตรวจหาแหลง่ อักเสบของ รา่ งกาย เช้ือเพลิงในเครือ่ งปฏกิ รณน์ วิ เคลียร์ ยเู รเนียม-238 (U-238) U238 238 U เพื่อผลติ กระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้า ยเู รเนยี ม-235 (U-235) 235 U นิวเคลยี ร์ 92 U235 92 ทาอาวุธนวิ เคลยี ร์ และใชเ้ ปน็ ตน้ พลโู ตเนียม-239 239 Pu 239 Pu กาเนดิ พลงั งานในเครื่องปฏิกรณ์ (Pu-239) 94 นิวเคลยี ร์ ใชเ้ รง่ การบ่มตัวของวัสดุและเพม่ิ โคบอลต์-60 60 Co 60 Co ความทนทานใหแ้ กแ่ ผ่นพลาสติก ใช้ (Co-60) 27 วัดความหนาของโลหะ และความ

การ ใ ช ้ปร ะโ ยช น์ ชอ่ื เฉพาะ สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียร์ แบบเต็ม แบบยอ่ โซเดียม-24 (Na-24) หนาแน่นของวัสดุต่างๆ อะเมรเิ ซยี ม-241 ตรวจการร่ัวไหลของนา้ จากทอ่ (Am-241) 24 Na 24 Na 11 ฟอสฟอรสั -32 เคร่อื งตรวจหาควัน ตรวจวดั ปริมาณ (P-32) ความช้นื ความหนาแน่น และ โคบอลต์-60 29451Am 2 4 1 Am (Co-60) ความหนาของวัสดุต่างๆ คารบ์ อน-14 เทคนิคการสะกดรอยด้วยรงั สี (C-14) ศึกษาการใชฟ้ อสฟอรัสในการ 32 P 32 P 15 การเกษตรและ เจริญเติบโตของพชื การถนอมอาหาร ควบคุมแมลง ยบั ย้งั การงอก ชะลอ การสุกและการบาน การถนอม 60 Co 60 Co อาหารดว้ ยรงั สี ลดแบคทเี รยี และ 27 เชอ้ื รา ทาลายพยาธิ การศกึ ษาวิจยั หาอายุของวตั ถโุ บราณ หรอื ซากดกึ 14 C 14 C 6 ทางวทิ ยาศาสตร์ ดาบรรพ์

ใบกิจกรรมท่ี 2.3 เร่อื ง คน้ หาอนภุ าคมลู ฐาน สัญลักษณน์ วิ เคลยี ร์ และไอโซโทป ได้คะแนน ........................................ สมาชกิ ในกล่มุ ท.ี่ ....................ชนั้ ม.4/…………….. คะแนนเต็ม 10 คะแนน 1……………………………………………………………….……………เลขที่..................(ประธานกลมุ่ ) 2..……………………………………………………… ……….………… เลขที่ ................. 3..……………………………………………………… ……….………… เลขที่ ................. 4……………………………………………………………….…..………เลขท่ี................. (เลขานุการกลุ่ม) จดุ ประสงค์ 1. บอกอนุภาคมลู ฐานของอะตอมได้ (K) 2. อธบิ ายและแปลความหมายของสญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์ และ ไอโซโทปได้ (K) 3. มที กั ษะการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่ม (P) 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ (A) อุปกรณ์ กระดาษชารท์ แข็งทีเ่ ขียนสัญลกั ษณ์นวิ เคลียร์ไว้แล้ว 5 แผ่น/กลมุ่ กจิ กรรม 1. แบง่ กลมุ่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ เลอื กประธานและเลขานุการกลมุ่ 2. ครูแจกกระดาษชาร์ทแขง็ ที่เขยี นสัญลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์ 5 แผน่ /กลมุ่ 3. สมาชิกในกล่มุ ช่วยกนั ค้นหาอนุภาคมูลฐาน สญั ลักษณ์นวิ เคลยี ร์ และไอโซโทป 4. เลขานกุ ารกลุ่มทาหนา้ ทบ่ี นั ทกึ ขอ้ มลู ลงในชอ่ งบนั ทกึ ผล 5. ประธานกลุ่มนาเสนอผลการทากจิ กรรมทุกกลุม่ หนา้ ช้ันเรยี น

บนั ทกึ ผล ข้อท่ี สัญลกั ษณ์ เลขมวล เลขอะตอม อนุภาคมลู ฐานของอะตอม ธาตุทเี่ ปน็ นิวเค ลียร ์ โปรตอน นิวตรอน อิเลก็ ตรอน ไอโซโทปกนั 1 2 3 4 5

4. ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation Phase) ใบกิจกรรมท่ี 2.4 เร่ือง สรุปอนภุ าคมลู ฐาน สญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์ และไอโซโทป คาสั่ง ให้นกั เรยี นเติมขอ้ มลู ลงในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง ได้คะแนน ........................................ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ข้อที่ สญั ลักษณน์ ิวเคลียร์ เลขมวล เลขอะตอม อนุภาคมลู ฐานของอะตอม โปรตอน นวิ ตรอน อิเล็กตรอน 1 4 He 42 2 88 2 186O 3 162C 66 4 199F 19 9 5 20 10 6 23 Na 11 11 11 13 14 7 27 Al 13 8 32 16 16 18 8 8 9 188O 6 10 164C 6 ธาตทุ เี่ ป็นไอโซโทปกนั คือ.................................................................................................... ....

5. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration Phase) ใบกิจกรรมที่ 2.5 เรอ่ื ง สญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี รข์ องไอโซโทป คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเขียนสญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์พร้อมระบอุ นภุ าคมูลฐานของธาตุไอโซโทปท่ี นกั เรยี นรู้จกั

6. ขนั้ ประเมนิ ผล (Evaluation Phase) คาช้แี จง นักเรยี นบนั ทึกการเรียนรู้หลงั เรียนในประเดน็ ทก่ี าหนดให้ ดว้ ยความเปน็ จริงและชดั เจน ตามความคิดเหน็ ของตนเอง แบบบันทึกการเรยี นรหู้ ลังเรียน 1. นักเรียนได้เรียนรู้เรอ่ื งใดบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. นักเรียนยงั มคี วามสงสยั ในเรือ่ งใดบ้าง (เขียนเปน็ ข้อๆ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. ขั้นนาความร้ไู ปใช้ (Extention Phase) ใบกจิ กรรมที่ 2.6 เรื่อง ประโยชนไ์ อโซโทปของธาตุ คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นยกตัวอย่างการนาธาตทุ ีเ่ ป็นไอโซโทปไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั สัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ของไ อโ ซ โ ทป

แ บบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง อนุภาคมูลฐาน สัญลักษ ณน์ ิวเคลยี ร์ แ ละไอโซโทป คาช้แี จง 1. แบบทดสอบแบบปรนยั 5 ตัวเลือก จานวน 10 ขอ้ ใชเ้ วลา 10 นาที 2. ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบทถ่ี กู ท่ีสุดเพียงข้อเดียว กากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ธาตุ A เปน็ กลางทางไฟฟ้า มจี านวนอเิ ล็กตรอน 14 และนวิ ตรอนเท่ากับ 13 ธาตุ A มเี ลขอะตอม และเลขมวลเท่าไร ตามลาดับ 1) 14, 27 2) 13, 14 3) 13, 27 4) 27, 13 5) 27, 15 2. อะตอมของธาตุ และ17986Pt 197 Au จะมจี านวนอะไรเทา่ กัน 79 1) เลขอะตอม 2) นวิ ตรอน 3) โปรตอน 4) อเิ ล็กตรอน 5) เลขมวล 3. อะตอมในข้อใดท่มี จี านวนนวิ ตรอนนอ้ ยท่สี ดุ 1) U245 2) U241 3) U238 4) U239 5) U235 97 96 94 93 92 4. เลขอะตอม หมายถงึ 1) ตัวเลขทแ่ี สดงจานวนนิวตรอน 2) ตัวเลขที่แสดงจานวนโปรตอน 3) ตัวเลขทแี่ สดงจานวนนิวตรอนและอิเลก็ ตรอน 4) ผลรวมของจานวนโปรตอนและอิเล็กตรอน 5) ผลรวมของจานวนโปรตอนและนวิ ตรอน 5. คาชแ้ี จง ใช้ตารางต่อไปนต้ี อบคาถาม อะตอม จานวนโปรตอน จานวนนิวตรอน จานวนอิเล็กตรอน A9 7 9 B9 8 9 C9 9 9 D9 9 9 การเขียนสัญลกั ษณ์อะตอมขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

1) 18 A 2) 9 B 3) 198C 4) 27 D 5) 1200D 7 8 9 6. อะตอมของธาตุท่เี ป็นกลางซึง่ มีเลขมวล 19 และเลขอะตอม 9 ควรมอี นุภาคมูลฐานตามขอ้ ใด 1) 9 โปรตอน 9 นิวตรอน 10 อเิ ล็กตรอน 2) 19 โปรตอน 9 นิวตรอน 19 อิเล็กตรอน 3) 10 โปรตอน 10 นวิ ตรอน 19 อิเลก็ ตรอน 4) 9 โปรตอน 10 นิวตรอน 9 อิเลก็ ตรอน 5) 10 โปรตอน 9 นวิ ตรอน 10 อิเลก็ ตรอน 7. สญั ลกั ษณ์ของธาตทุ มี่ ีจานวนอิเล็กตรอน 15 จานวนนิวตรอน 16 คือสัญลักษณใ์ ด 1) P31 2) P16 3) P16 4) P16 5) P32 15 15 16 31 16 8. ธาตุ J และ Q มสี ัญลกั ษณ์ 22 J และ 34 Q ตามลาดบั ธาตทุ ้งั สองมีจานวนโปรตอนและนิวตรอน 10 16 ตา่ งกนั เทา่ ใด จานวนโปรตอนทตี่ ่างกนั จานวนนวิ ตรอนท่ีตา่ งกัน 1) 12 18 2) 12 12 3) 6 12 4) 6 6 5) 12 6 9. ไอโซโทป หมายถึง 1) ธาตุต่างชนดิ กนั มเี ลขมวลเท่ากัน 2) ธาตุต่างชนดิ กันมเี ลขอะตอมตา่ งกนั 3) ธาตชุ นิดเดยี วกันมเี ลขอะตอมเท่ากัน 4) ธาตุตา่ งชนดิ กนั มีเลขมวลต่างกัน 5) ธาตชุ นดิ เดียวกนั มีจานวนนิวตรอนเท่ากนั 10. A และ B เป็นธาตุไอโซโทปกัน A มจี านวนโปรตอนเทา่ กบั 10 และมีเลขมวลเทา่ กับ 20 B มจี านวนนิวตรอนมากกว่า A อยู่ 2 นิวตรอน ขอ้ ใดเป็นสญั ลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ของธาตุ B 1) 12 B 2) 1102B 3) 1200B 4) 1220B 5) 22 B 8 10

บ ร ร ณาน ุก ร ม ปวณี า ทรงเดชะ. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ชิ าเคมพี นื้ ฐาน เรอ่ื ง ธาตุและสารประกอบ. โรงเรียน พทั ลงุ พทิ ยาคม , มปป. สถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ . ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพฯ: พัฒนา คณุ ภาพวิชาการ, 2554. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานเคมี ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่4-6 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร.์ พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3 กรงุ เทพฯ : โรง พิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว, 2555. . คู่มือครสู าระการเรยี นรเู้ คมพี น้ื ฐานและเพมิ่ เตมิ เคมเี ลม่ 1. พิมพ์คร้งั ท่ี 3 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ครุ ุสภาลาดพร้าว , 2555. สมาน แก้วไวยทุ ธ. รวมโจทย์ขอ้ สอบเขา้ มหาวิทยาลยั เค มพี ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ : อมร การพมิ พ์ ไฮเอ็ดพบั ลชิ ชิง่ , 2555. . 100 จดุ เนน้ เคมพี น้ื ฐาน ม.4-5-6. กรงุ เทพฯ : ฐานบัณฑิต ไฮเอด็ พับลชิ ชิ่ง, 2555. สมพงศ์ จนั ทร์โพธิ์ศรี. High School Chemistry เคมี ม.4-6 (รายวิชาพนื้ ฐาน). กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พับลิชชิ่ง, 2554. . กญุ แจ เคมี ม.4-6 (พ้ืนฐาน). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2554.

ภาคผนวก

กระดาษคาตอบ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 2 เรือ่ ง อนุภาคมลู ฐาน สัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ และไอโซโทป ช่อื ....................................................ช้นั ................... เลขที่ ................. คาชแี้ จง จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องท่สี ุดเพียงข้อเดียว x ลงในกระดาษคาตอบ ทดสอบกอ่ นเรยี น ทดสอบหลงั เรียน ขอ้ 1) 2) 3) 4) 5) ข้อ 1) 2) 3) 4) 5) 11 22 33 44 55 66 77 88 99 10 10 ร วมค ะแ นน ................................. ร วมคะแนน................................. ผลการ ปร ะเมนิ ผลการ ปร ะเมนิ ผ่าน ผ่าน ไม่ผา่ น ไม่ผ่าน ลงช่ือ.......................................ผู้ประเมนิ ลงชื่อ.......................................ผปู้ ระเมนิ (.......................................) (.......................................) เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนระหว่าง 8–10 ผา่ นเกณฑ์ คะแนนระหวา่ ง 1-7 ไมผ่ า่ นเกณฑ์

เฉลยคาตอบ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ือง อนุภาคมลู ฐาน สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียร์ และไอโซโทป ช่ือ ....................................................ช้ัน ................... เลขท่ี ................. คาชแี้ จง จงเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว x ลงในกระดาษคาตอบ ทดสอบกอ่ นเรียน ทดสอบหลงั เรียน ขอ้ 1) 2) 3) 4) 5) ขอ้ 1) 2) 3) 4) 5) 1× 1× 2× 2× 3× 3× 4× 4× 5× 5× 6× 6× 7× 7× 8× 8× 9× 9× 10 × 10 × ร วมค ะแ นน ................................. ร วมค ะแ นน ................................. ผลการ ปร ะเมิน ผลการ ปร ะเมิน ผา่ น ผ่าน ไมผ่ า่ น ไมผ่ า่ น ลงช่ือ.......................................ผ้ปู ระเมนิ ลงชือ่ .......................................ผ้ปู ระเมนิ (.......................................) (.......................................) เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนระหว่าง 8–10 ผ่านเกณฑ์ คะแนนระหว่าง 1-7 ไม่ผ่านเกณฑ์

เฉลยใบกิจกรรมทบทวนความร้ทู ่ี 2.1 เรอื่ ง อนุภาคมูลฐานในแบบจาลองอะตอมของธาตุ ใหน้ ักเรยี นวิเคราะหภ์ าพแบบจาลองอะตอมแล้วตอบคาถาม กำหนดให้ แทน โปรตอน แทน นิวตรอน แทน อเิ ล็กตรอน 1. จากภาพและการศึกษาแบบจาลองอะตอม ทาให้ทราบว่า อะตอมประกอบด้วยอนุภาค ใดบา้ ง อะตอมประกอบดว้ ยอนุภาคโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน 2. นิวเคลียสซึ่งเปน็ แกนกลางของอะตอม ประกอบด้วย อนุภาคมูลฐานใดบ้าง และอนภุ าคแต่ ละชนิดมีจานวนเท่าใด นิวเคลยี สซ่งึ เป็นแกนกลางของอะตอม ประกอบดว้ ยอนภุ าคโปรตอนเทา่ กบั 8 อนุภาค และ อนภุ าคนิวตรอน เทา่ กบั 8 อนภุ าค 3. อนุภาคใดเคลือ่ นท่อี ยู่รอบๆ นิวเคลียส และมีจานวนเท่าใด อนภุ าคอเิ ลก็ ตรอนเคลื่อนที่อยูร่ อบๆ นิวเคลยี ส มี 8 อนุภาค

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 2.2 เรอื่ ง ความสัมพันธ์อนภุ าคมูลฐานกบั การเขียนสญั ลักษณ์นิวเคลียร์ ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์ภาพแลว้ ตอบคาถาม A X Z กาหนดให้ แทน โปรตอน กาหนดให้ A คือ เลขมวล = โปรตอน+นวิ ตรอน แทน นวิ ตรอน z คือ เลขอะตอม = โปรตอน และ อิเลก็ ตรอน แทน อเิ ล็กตรอน x คอื สัญลกั ษณ์ธาตุ ภาพที่ 1 แสดงแบบจาลองอะตอม ภาพท่ี 2 แสดงสัญลักษณน์ ิวเคลยี ร์ 1. A คอื อะไร มีคา่ เทา่ ไร A คอื เลขมวล มีคา่ 20 2. z คอื อะไร มีคา่ เทา่ ไร z คือ เลขอะตอม มีคา่ 10 3. กาหนดใหส้ ัญลกั ษณ์ธาตุ x แทนด้วยธาตุ Ne (นอี อน) จงเขยี นสัญลักษณ์นิวเคลยี รข์ องธาตุ 1200Ne

เฉลยใบกิจกรรมท่ี 2.4 เรือ่ ง สรปุ อนุภาคมูลฐาน สัญลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์ และไอโซโทป คาสงั่ ให้นักเรยี นเติมข้อมูลลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง ไดค้ ะแนน ........................................ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ข้อที่ สญั ลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ เลขมวล เลขอะตอม อน ุภ าค มูลฐาน ของอะ ตอม โปรตอน นวิ ตรอน อเิ ลก็ ตรอน 4 2 1 4 He 16 8 22 2 2 12 6 19 9 2 186O 20 10 88 8 23 11 3 162C 27 13 66 6 32 16 4 199F 18 8 99 9 14 6 5 1200Ne 10 10 10 6 23 Na 11 11 11 11 7 27 Al 13 14 13 13 8 1362S 16 16 16 9 188O 8 10 8 10 164C 68 6 ธาตุทเ่ี ปน็ ไอโซโทปกัน คอื 162C , 164C

แนวคาตอบ เฉลยใบกิจกรรมที่ 2.5 เรอ่ื ง สญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี รข์ องไอโซโทป คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเขียนสัญลกั ษณน์ ิวเคลียรพ์ ร้อมระบอุ นภุ าคมลู ฐานของธาตุไอโซโทปท่ี นกั เรียนรจู้ กั 162C โปรตอน = 6, นิวตรอน = 6, อเิ ลก็ ตรอน = 6 164C โปรตอน = 6, นิวตรอน = 7, อเิ ลก็ ตรอน = 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook