ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
รายงานผลการจดั กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เรื่อง การพฒั นาสอ่ื การจัดการเรียนการสอน ปีการศกึ ษา 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแสวงหา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสามโก้ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั อ่างทอง สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
~ก~ คานา รายงานผลการดาเนนิ งานการจดั กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC ) จัดทาขึ้นเพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนนิ งานของสถานศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ เพื่อแก้ไขปัญหาเรือ่ ง การพฒั นาส่อื การจดั การเรยี นการสอน โดยความร่วมมือจาก คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ และเป็นการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัตดิ ว้ ยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการผลติ สอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ กบั นกั ศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ทง้ั แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การติดตามและประเมินผล และต่อยอดพัฒนาส่นู วัตกรรมการเรยี นการสอน หวงั เป็นอยา่ งยิ่งวา่ เอกสารเล่มน้ี จะเกิดประโยชน์ต่อผ้คู รผู ู้สอน ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาและบุคลากร ทางการศกึ ษา รวมทั้งผู้สนใจท่วั ไป ในการนาไปใช้เพอ่ื ศึกษาเรยี นรสู้ รา้ งความเขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตามแนวทาง ดงั กลา่ วได้เปน็ อย่างดี จิรัชยา เฟือ่ งฟรู ตั น์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสามโก้ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
~ข~ หนา้ ก สารบัญ ข คานา 1 สารบัญ 2 3 1. ท่ีมาและความสาคัญ 3 2. วัตถุประสงค์ 3 3. เปา้ หมาย 3 4. ขอบเขตการศึกษา 6 5. เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้อง 7 9 5.1 การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 10 5.2 ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ 11 5.3 ส่ือการเรยี นการสอน 11 6. ข้ันตอนการดาเนินงาน 17 กระบวนการของ PLC 21 7. ผลการดาเนินงาน 25 7.1 ข้นั ที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผน (Analyze & Plan) 25 7.2 ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกต (Do & See) 25 7.3 ขนั้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) 25 8. บทเรยี นทไ่ี ดร้ บั 8.1 สรุปส่ิงทไ่ี ดร้ บั จากการดาเนินงาน 8.2 ข้อเสนอแนะ 8.3 แนวทางการพัฒนาตอ่ ไป ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน
~1~ รายงานผลการจดั กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ สานักงาน กศน.จงั หวดั อ่างทอง 1. ทม่ี าและความสาคญั การศกึ ษาเป็นหนงึ่ ในรากฐานสาคัญเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คน ซ่ึงจะนาไปสู่การเปล่ียนแปลง สังคมโดยรวมให้ดีขึ้น จึงไม่น่าแปลกท่ีทุกองค์การท้ังในระดับโลก ระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น ต่างเห็น ความสาคัญและให้การสนับสนุนเร่ืองการศึกษา ในระดับโลก องค์การสหประชาชาติ (UN) ได้กาหนดให้ การศึกษาเปน็ หน่ึงในเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนแห่งสหัสวรรษ 2030 (Sustainable Development Goals: SDGs) ข้อที่ 4 ว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษาที่เท่าเทียม และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน คาว่า “การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21” ย้าให้เห็นว่า เรากาลังอยู่ในช่วงเวลาแห่งการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วใน สภาพแวดล้อมท่ีประเทศต่าง ๆ มีความเช่ือมโยงกันมากข้ึนเร่ือย ๆ และระบบการศึกษาจาเป็นต้องปรับตัว โดยไมใ่ ช่แคก่ ารปฏริ ปู เพยี งคร้ังคราว แต่ต้องเป็นการปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง เพื่อตอบสนองความต้องการของ เยาวชน สังคมและตลาดแรงงานทัง้ ในปัจจุบันและอนาคต ซ่ึงผู้กาหนดนโยบายและบุคลากรด้านการศึกษาของ ไทยท่ีผ้เู ขยี นมีโอกาสไดร้ จู้ ักล้วนตระหนักว่า การศึกษาควรจะมุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมให้เยาวชนมีทักษะ ท่ีจาเป็นต่อการใชช้ ีวติ และสอดคล้องกับสงั คมในอนาคต จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทาให้ต้องปรับรูปแบบการเรียนการสอนเป็นระบบ ออนไลน์นั้น รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา กล่าวว่า การสอน ระบบออนไลน์ส่งผลกระทบต่อนักเรียน ผู้ปกครองและครูด้านต่าง ๆ เช่น ความไม่พร้อมของกลุ่มเด็กใน ครอบครัวที่มีปัญหาด้านรายได้ ครูในโรงเรียนขนาดเล็กท่ีไม่มีประสบการณ์การสอนออนไลน์ พ่อแม่ที่ไม่ สามารถมีส่วนร่วมกับลูก ท้ังนี้ แม้ว่าสถานศึกษาหรือครูผู้สอนจะปรับตัวต่อรูปแบบการสอนออนไลน์ได้ดีแค่ ไหน แต่ธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กจาเป็นต้องได้รับโอกาสในการเข้าสังคม การเรียนรูปแบบปกติจึงสาคัญ และจาเป็นทสี่ ุด และยงั ต้องเร่งหาแนวทางการเติมเต็มการเรียนรู้ที่ขาดช่วงไปตลอดระยะเวลาเกือบสองปีของ เด็ก รวมถึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะการสอนของครูทั้งรูปแบบออนไลน์และออนไซต์ เพ่ือรองรับ รูปแบบการเรียนการสอนท่ีหลากหลายในอนาคต ส่ือการจัดการเรียนการสอน จึงเป็นตัวกลางที่ช่วยให้การส่ือสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนดาเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของเน้ือหาบทเรียนให้ตรงกับผู้สอนต้องการ ไม่ว่าสื่อนั้น จะอยู่ในรูปแบบใดก็ตามล้วนแต่เป็นทรัพยากรท่ีสามารถอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้น เมื่อผู้สอน นาส่ือมาใช้ประกอบการสอนเรียกว่า “สื่อการสอน” และเมื่อนามาให้ผู้เรียนใช้เรียกว่า “สื่อการเรียน” โดย เรยี กรวมกันว่า “สื่อการเรยี นการสอน” หรืออาจจะเรียกส้นั ๆ ว่า “ส่ือการสอน” หมายถึง สิ่งใดก็ตามไม่ว่าจะ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพัฒนาส่ือการเรียนการสอน
~2~ เป็นเทปบันทึกเสียงสไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดีทัศน์ แผนภูมิ แผ่นซีดีสาเร็จรูป รูปภาพ ฯลฯ ซ่ึงเป็นวัสดุบรรจุ เนือ้ หาเก่ยี วกบั การเรียนการสอน หรือเป็นอุปกรณ์เพื่อถ่ายทอดเน้ือหาสิ่งเหล่านี้เป็นวัสดุอุปกรณ์ทางกายภาพ ที่นามาใช้เทคโนโลยีการศึกษาเป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องมือหรือช่องทางทาให้การสอนส่งไปถึงผู้เรียน สื่อการสอน ถอื วา่ มีบทบาทมากในการเรยี นการสอนตงั้ แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบัน เน่ืองจากเป็นตัวกลางท่ีช่วยให้การสื่อระหว่าง ผู้สอนและผ้เู รยี น ดาเนินการไปไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ทาใหผ้ ูเ้ รียนมีความหมายของเนื้อหาบทเรียนได้ตรงกับ ที่ ผู้สอนต้องการเรียนรู้ได้ท้ังสิ้น ในการใช้ส่ือการสอน นั้นผู้สอนจาเป็นต้องศึกษาถึงลักษณะคุณสมบัติของส่ือ แต่ละชนิดเพื่อเลือกสื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์การสอนและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยต้องการวางแผนอย่างเป็นระบบในการใช้ส่ือด้วย ทั้งน้ีเพื่อให้กระบวนการเรียน การสอนดาเนินไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นเคร่ืองมือที่สาคัญเพื่อขับเคลื่อนการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่ีมีกลุ่ม บุคคลต้ังแต่สองคนข้ึนไปที่มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาการ ความรู้ นวัตกรรม และ เทคนคิ วิธีการการจัดการเรยี นการสอน ผา่ นกระบวนการท างานอย่างมืออาชีพ เกิดเป็นวัฒนธรรมหรือ ชุมชน ของ การแลกเปลี่ยนซ่ึงกันและกัน ก่อให้เกิดพลังในการเปลี่ยนแปลง เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถของครู โดย PLC มี องค์ประกอบสาคัญคือ เกิดจากการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกในกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือปัญหา เดยี วกันมีการบรู ณาการการท างานเขา้ ด้วยกัน แบบร่วมมอื ร่วมใจ และมสี านึกร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนร่วมกัน จะต้องมีผู้นาวงซ่ึงอาจจะเป็นผู้บริหารหรือครูที่มีประสบการณ์ เป็นผู้ใช้คาถามนาให้ผู้ร่วม วงทุกคนมีโอกาสในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการพูดคุยน้ัน พูดถึงผู้เรียนเป็นหลัก มีการสร้างบรรยากาศ เสริมพลงั บวกให้กบั ครูไม่รสู้ กึ โดดเดยี่ ว มีกัลยาณมติ รในวิชาชีพ ปฏิบัติจนกลายเป็นวัฒนธรรมของการทางาน ครูผสู้ อนเกดิ การปรบั การเรียน เปล่ยี นการสอน ผูเ้ รียนได้รับการพัฒนาและยกระดบั คณุ ภาพให้สูงข้ึน จากความจาเป็นทีจ่ ะตอ้ งพัฒนาสอื่ การเรยี นการสอนในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19 สถานศึกษาจึงเห็นควรที่จะพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านกิจกรรมการมีส่วนร่วมในชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนา สอื่ การเรยี นการสอนเพ่อื ใช้ในการพัฒนาผู้เรยี น โดยร่วมกนั ถอดองค์ความรู้จากปัญหาที่พบในการจัดการเรียน การสอน เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา และดาเนินการแก้ปัญหาร่วมกันของสถานศึกษาทั้ง 2 แห่ง คือ กศน. อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ตลอดจนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้ และเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงเพื่อสร้างสรรค์ พัฒนาชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อมให้เกิดสันติสุขและ พัฒนาท่ยี ัง่ ยืน 2. วตั ถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผลตอ่ ผ้เู รยี น ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) การพัฒนาส่ือการเรียนการสอน
~3~ 3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปริมาณ - ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสาม โก้ จานวน 22 คน มคี วามสามารถในการพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน - กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ มีสื่อการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2564 ท้งั 3 ระดับการศกึ ษา รวมจานวน 32 รายวิชา รอ้ ยละ 100 3.2 เชิงคุณภาพ - ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ สามารถสร้าง สอ่ื การเรยี นการสอนท่ีสามารถแก้ปัญหาการเรยี นการสอนได้ - กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ มีสื่อท่ีมีคุณภาพ สามารถนาไปใช้ในการ จัดการเรยี นการสอนใหก้ ับผ้เู รียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4. ขอบเขตการศกึ ษา 4.1 กลมุ่ เปา้ หมาย ครูและบคุ ลากร กศน.อาเภอแสวงหา จานวน 14 คน ครูและบคุ ลากร กศน.อาเภอสามโก้ จานวน 8 คน 4.2 เน้อื หา การพัฒนาส่ือการเรียนการสอนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในปีการศึกษา 2564 จานวน 42 รายวิชา ผ่านกิจกรรมการมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) 4.3 ระยะเวลา เดอื นเมษายน 2564 ถงึ เดอื นมีนาคม 2565 4.4 ตวั แปรทีศ่ กึ ษา ตวั แปรตน้ ได้แก่ กิจกรรมการมีสว่ นรว่ มในชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ สอ่ื การเรียนการสอนในปีการศึกษา 2564 จานวน 32 รายวชิ า 5. เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วขอ้ ง 5.1 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ของคนในศตวรรษที่ 21 ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เป็น ปัจจัยที่สาคัญที่ทาให้การเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ได้สะดวก ง่าย หลากหลายช่องทาง สามารถรับรู้ได้ด้วยการอ่าน ฟัง ดู มีการน าเสนอในรูปแบบ อักษรภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว รวมถึงการสร้างสถานการณ์เสมือนจริง (Virtual Situation) รวมทั้งการ ปฏสิ มั พันธ์ (Interaction) และสรา้ งเครือขา่ ยใหส้ ามารถติดต่อสื่อสารได้อย่าง ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
~4~ ไร้ขอบเขตทาให้การเรียนรู้ และสมรรถนะของคนในยคุ ศตวรรษท่ี 21 เปล่ยี นไป การเรียนรู้ไม่ได้มีลักษณะเรียง เป็นแถวจากความรู้ (knowledge) ไปสู่ความเข้าใจ (comprehension) การประยุกต์ใช้ (application) การ วิเคราะห์ (analysis) การสังเคราะห์ (synthesis) และการประเมิน (evaluation) ตามลาดับ แต่การเรียนรู้ เป็น กระบวนการเรียนรู้เน้ือหาไปสู่ความเข้าใจแท้จริงในระดับท่ีนาไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง เรียนรู้เนื้อหา พร้อมๆ กับการใช้ประโยชน์ในสถานการณ์จริง ผลการเรียนรู้คือจาได้ (remember) เข้าใจ(understand) ประยุกต์ใช้ (apply) วิเคราะห์ (analyze) ประเมิน (evaluate) และสร้างสรรค์ (create) โดยที่ขั้นตอน เหล่านี้เกิดพร้อมๆ กันได้หรืออะไรเกิดก่อนเกิดหลังได้ทั้งส้ิน รวมท้ังเรียงลาดับจากหลังไปหน้าก็ได้ โดย สมรรถนะท่ีสาคัญของผู้เรียน มี 5 ด้านได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) วจิ ารณ์ พานชิ (2555: 16-21) ได้กล่าวถึง ทักษะ เพ่ือการดารงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 ดงั นี้ สาระวชิ าก็มคี วามสาคญั แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตใน โลกยุคศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจาก การค้นคว้าเองของ ศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถ ประเมิน ความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์การปกครองและหน้าท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภมู ศิ าสตรแ์ ละประวัตศิ าสตร์ โดยวิชาแกนหลกั น้ีจะนามาสกู่ ารกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญ ตอ่ การจดั การ เรยี นรู้ในเน้ือหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยการ ส่งเสริม ความเขา้ ใจในเน้ือหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดงั นี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความรู้เกีย่ วกับโลก (Global Awareness)ความรูเ้ ก่ยี วกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองท่ีดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และความรู้ด้าน ส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อม ของนักเรียนเข้าสู่โลกการ ท างานท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึนในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และ นวัตกรรม การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน ทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผ้เู รยี นจงึ ตอ้ งมคี วามสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดย อาศัยความรู้ในหลายด้าน ประกอบด้วย ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้ เก่ียวกับส่ือ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียนจะต้อง พัฒนาทักษะชีวิตท่ีสาคัญดังต่อไปนี้ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และ เป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความ รับผิดชอบเช่ือถือ ได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 ที่ทุก คนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C3R คือ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
~5~ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวน ทศั น์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทางานเปน็ ทีม และภาวะ ผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่า ทนั สอ่ื ) Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการ กาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดย ร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้าง ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นท่ีองค์ความรู้ ทักษะ ความเช่ียวชาญและ สมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตใน สังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึง รูปแบบ (Model) ท่ีพัฒนามาจากเครือข่ายองค์กร ความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) ท่ีมีชอ่ื ยอ่ ว่า เครือข่าย P21 ซึ่งไดพ้ ฒั นากรอบแนวคิดเพือ่ การเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ เฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนท้ังดา้ นการ ทางานและการดาเนนิ ชีวติ กรอบแนวคดิ เชงิ มโนทัศนส์ าหรบั ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นท่ียอมรับในการสร้างทักษะการ เรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซ่ึงเป็นท่ี ยอมรับอย่าง กวา้ งขวางเนอื่ งด้วยเป็นกรอบแนวคิดท่ีเน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้ง ในด้านความรู้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ท่ีจะช่วยผู้เรียนได้เตรียม ความพร้อมใน หลากหลายด้าน รวมทัง้ ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตร และการเยนการ สอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้อง ก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะไม่เป็น ผู้สอน แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะ ออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้ แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของ นักเรียน ซึ่งสิ่งท่ีเป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของ ครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท าหน้าท่ี ของครูแต่ละคนน่ันเอง ดังน้ันการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 หรือยุคดิจิตอล เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ สาคัญใน การนามาประยุกต์ใช้ ท้ังด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน นักเรียนเป็นผู้ค้นคว้าหา ความรู้ ดว้ ยตนเอง ผา่ น \"เทคโนโลยี\" ทค่ี รูจัดหาให้กอ่ นเขา้ ชัน้ เรยี น และมาทากจิ กรรม โดยมีครูคอยแนะนาใน ช้ัน เรียนแทน สุดท้ายแล้วผู้เรียนต้องนาความรู้ท่ีได้รับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงอยู่ของชีวิตได้อย่าง ถูกต้อง ปลอดภัยและมปี ระสิทธิภาพต่อไป ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
~6~ 5.2 ชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนกั การศึกษา ในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังท่ี Sergiovanni (1994) ได้กล่าว ว่า PLC เป็นสถานที่สาหรับ “ปฏิสัมพันธ์” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของ โรงเรยี น ในการทางาน เพื่อปรบั ปรุงผลการเรียนของนกั เรียน หรืองานวิชาการ โรงเรียน ซึ่ง มองในมุมมอง เดียวกนั โดยมองการ รวมตวั กันดังกล่าว มนี ัยยะแสดงถึงการเปน็ ผนู้ าร่วมกันของ ครู หรือเปิดโอกาสให้ครูเป็น “ประธาน” ในการเปล่ียนแปลง การมีคุณค่าร่วมและวิสัยทัศน์ร่วมกัน ไปถึงการเรียนรู้ร่วมกันและการนาสิ่ง ทีเ่ รยี นรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ อย่างสรา้ งสรรคร์ ว่ มกัน การรวมตัวในรปู แบบน้ีเป็นเหมอื น แรงผลักดัน โดยอาศัยความ ต้องการและความสนใจของ สมาชิกใน PLC เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ สู่มาตรฐานการเรียนรู้ของ นกั เรียนเป็นหลัก การพัฒนา วิชาชีพให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์” โดยมองว่า เป็น “ศิษย์ของเรา” มากกว่ามองว่า “ศิษย์ของฉัน” และการเปล่ียนแปลงคุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มจาก “การเรียนรู้ ของครู” เป็นตัวตั้งต้น เรยี นรทู้ ีจ่ ะมองเหน็ การปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง พัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องตนเองเพ่อื ผู้เรียนเปน็ สาคัญ อย่างไรก็ตามการรวมตัวการเรียน การเปล่ียนแปลงใดๆ เป็นไปได้ยากท่ีจะทาเพียงลาพังหรือเพียง นโยบาย เพ่ือให้เกิด การขับเคล่ือนท้ังระบบโรงเรียน จึงจาเป็นต้องสร้างความเป็น PLC ที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติทางวิชาชีพร่วมในโรงเรียน ย่อมมีความ เป็นชุมชนที่สัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น ชุมชนที่สามารถ ขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพได้นั้น จึงจาเป็นต้องมีอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทางวิชาชีพ มี ฉันทะ และศรัทธาในการทางาน “ครูเพื่อศิษย์ร่วมกัน” บรรยากาศ การอยู่ร่วมกันจึงเป็นบรรยากาศ “ชุมชน กัลยาณมิตร ทางวิชาการ” ท่ีมีลักษณะความเป็นชุมชน แห่งความเอ้ืออาทรอยู่บนพ้ืนฐาน “อานาจเชิง วิชาชีพ” และ “อานาจเชิงคุณธรรม” เป็นอานาจที่สร้างพลังมวลชนเร่ิมจากภาวะผู้นาร่วมของครูเพ่ือ ขบั เคลอื่ นการ ปรบั ปรุงและพัฒนาสถานศึกษา กล่าวโดยสรปุ PLC หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนกั การศกึ ษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกจิ รว่ มกนั โดยทางานรว่ มกนั แบบทมี เรียนรทู้ ีค่ รเู ปน็ ผนู้ าร่วมกัน และผ้บู ริหารแบบผู้ดูแลสนับสนุน สู่ การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความสาเร็จหรือ ประสทิ ธผิ ลของผเู้ รียนเปน็ สาคญั และความสขุ ของการทางานรว่ มกนั ของสมาชิกในชมุ ชนการเรียนรู้ ความสาคญั ของชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี จากผลการวจิ ยั โดยตรงของที่ยืนยันว่าการดาเนินการใน รูปแบบ PLC นาไปสู่การเปลย่ี นแปลงเชงิ คณุ ภาพทงั้ ด้านวิชาชีพและผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั เรียนจากการสังเคราะห์ รายงานการวิจัยเกี่ยวกับโรงเรียนท่ีมีการจัดตั้ง PLC โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์อะไรบ้าง ท่ี แตกต่างไปจากโรงเรียนทัว่ ไปทีไ่ ม่มชี ุมชนแห่งวิชาชพี และถ้าแตกตา่ งแล้วจะมีผลดีตอ่ ครูผู้สอนและต่อนักเรียน อยา่ งไรบา้ งซง่ึ มีผลสรปุ 2 ประเด็นดังน้ี ประเด็นที่ 1 ผลดีต่อครูผู้สอนพบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวงานสอน ของครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้นท่ีจะ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน
~7~ ปฏิบัติให้บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการ โดยรวมของนกั เรียนถอื เป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในช้ันเรียนให้มีผลดีย่ิงข้ึน กล่าวคือมี การค้นพบความรู้ และความเช่ือท่ีเกี่ยวกับวิธีการสอนและตัวผู้เรียนซ่ึงที่เกิดจากการคอยสังเกตอย่างสนใจ รวมถึงเข้าใจในด้านเนื้อหาสาระ ท่ีต้องจัดการเรียนรู้ได้แตกฉานย่ิงขึ้นจนตระหนักถึงบทบาทและพฤติกรรม การสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีท่ีสุด อีกทั้งการรับทราบข้อมูลสาระสนเทศต่างๆ ที่จาเป็นต่อ วิชาชีพได้อย่างกว้างขวาง และรวดเร็วข้ึน ส่งผลดีต่อการปรับปรุงพัฒนางานวิชาชีพได้ตลอดเวลา เป็นผลให้ เกิดแรงบันดาลใจที่จะพัฒนาและอุทิศตนทางวิชาชีพเพ่ือศิษย์ ซ่ึงเป็นท้ังคุณค่าและขวัญกาลังใจต่อการ ปฏิบัติงานให้ดียิ่งข้ึนท่ีสาคัญคือยังสามารถลดอัตราการลาหยุดงานน้อยลง เมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนแบบ เก่ายังพบว่ามีความก้าวหน้าในการปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับลักษณะผู้เรียนได้อย่าง เดน่ ชดั และรวดเรว็ กวา่ ทพ่ี บในโรงเรียนแบบเกา่ มคี วามผกู พันทจ่ี ะสร้างการเปล่ียนแปลงใหมๆ่ ใหป้ รากฏอย่าง เดน่ ชัดและยั่งยืน ประเด็นท่ี 2 ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC ส่งผลต่อผู้เรียนกล่าวคือสามารถลดอัตราการตกซ้าช้ัน และ จานวนช้นั เรยี นที่ต้องเลอื่ นหรอื ชะลอการจัดการเรยี นรู้ให้น้อยลง อตั ราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการอ่านที่สูงขึ้นอย่างเด่นชัด เมื่อเทียบกับโรงเรียนแบบเ ก่า สดุ ทา้ ยคือมี ความแตกตา่ งดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลังไม่เหมือนกันและลดลง ชดั เจน กล่าวโดยสรุป คือ PLC มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับองค์กรท่ีมุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อ กระแสการเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วโดยเริ่มพัฒนาจากแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้และ ปรับประยุกต์ให้มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและการเรียนรู้ร่วมกันในทางวิชาชีพ ที่มีหน้างาน สาคัญคือความรับผิดชอบการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกันเป็นสาคัญจากการศึกษาหลายโรงเรียนในประเทศ สหรัฐอเมริกาดาเนินการในรูปแบบ PLC พบว่าเกิดผลดีทางวิชาชีพครู และผู้เรียนท่ีมุ่งพัฒนาการของผู้เรียน เปน็ สาคญั 5.3 ส่ือการเรียนการสอน ความหมายของส่ือการเรียนการสอน (Instructional Media) ส่ือ (Media) หมายถึง ตัวกลางท่ีใช่ ถ่ายทอดหรือนาความรู้ ในลักษณะต่าง ๆ จากผู้ส่งไปยังผู้รับให้เข้าใจ ความหมายได้ตรงกันในการเรียนการ สอนสื่อท่ีใช้เป็นตัวกลางนาความรู้ในกระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเรียกว่าส่ือการสอน (Instruction Media) ในทางการศึกษามีคาท่ีมีความหมายแนวเดียวกันกับสื่อการเรียนการสอน เช่น ส่ือการสอน (Instructional Media or Teaclning Media) ส่ือการสอน (Educational media) อุปกรณ์ช่วยสอน (Teaching Aids) เป็นต้น ในปัจจุบันนักการศึกษามักจะเรียกการนาส่ือการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มา รวมกันว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา(Educational) ซ่ึงหมายถึงการนาเอาวัสดุอุปกรณ์และวิธีการมาใช้ร่วมกัน อยา่ งมรี ะบบในการเรยี นการสอน เพือ่ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการสอน ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) การพฒั นาสื่อการเรยี นการสอน
~8~ สื่อการเรียนการสอน หมายถึง ส่ิงต่างๆ ท่ีเป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีการ ซึ่งเป็น ตัวกลางทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้ได้อย่างง่ายและรวดเร็ว เปน็ เครื่องมอื และตัวกลางซง่ึ มีความสาคัญในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าท่ีเป็นตัวนาความต้องการของครู ไปส่ตู วั นักเรียนอย่างถูกต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นักเรียนเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียน การสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นักการศึกษาเรียกช่ือการสอนด้วยช่ือต่าง ๆ เช่น อุปก รณ์การสอน โสตทัศนปู กรณ์ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ส่ือการเรยี นการสอนสือ่ การศกึ ษา เป็นต้น หลกั การใช้ส่อื การเรียนการสอน การใช้ส่ือการเรียนการสอนนั้นอาจจะใช้เฉพาะข้ันตอนใดข้ันตอนหนึ่งของการสอน หรือจะใช้ในทุก ข้นั ตอนก็ได้ ดงั น้ี 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อหาท่ีกาลังจะเรียนหรือ เน้ือหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในคร้ังก่อน แต่มิใช่ส่ือที่เน้นเนื้อหาเจาะลึกอย่างแท้จริง เป็นสื่อท่ีง่ายในการ นาเสนอในระยะเวลาอันสั้น 2. ข้นั ดาเนนิ การสอนหรือประกอบกจิ กรรมการเรยี น เปน็ ข้นั สาคัญในการเรียนเพราะเป็นข้ัน ท่ีจะให้ความรู้เนื้อหาอย่างละเอียดเพ่ือสนองวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ต้องมีการจัดลาดับขั้นตอนการใช้ส่ือให้ เหมาะสมและสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรียน 3. ข้ันวิเคราะหแ์ ละฝึกปฏบิ ัติ สอ่ื ในขั้นนี้จึงเป็นสอ่ื ท่ีเป็นประเดน็ ปัญหาใหผ้ เู้ รียนได้ขบคิดโดย ผูเ้ รยี นเปน็ ผูใ้ ช้สอ่ื เองมากที่สดุ 4. ขนั้ สรุปบทเรียน เป็นขัน้ ของการเรียนการสอนเพื่อการย้าเน้ือหาบทเรียนให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจที่ถกู ต้องและตรงตามวตั ถุประสงค์ทตี่ ั้งไว้ ควรใชเ้ พยี งระยะเวลาส้ันๆ 5. ข้ันประเมินผู้เรียน เป็นการทดสอบความสามารถของผู้เรียนว่าผู้เรียนเข้าใจในส่ิงที่เรียน ถูกต้องมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการประเมินจากคาถามจากเน้ือหาบทเรียนโดยอาจจะมีภาพ ประกอบด้วยกไ็ ด้ ประเภทของสือ่ การเรยี นการสอน 1. สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่ ส่ือเล็ก ซ่ึงทาหน้าที่เก็บความรู้ในลักษณะของภาพเสียง และ อกั ษรในรปู แบบต่าง ๆ ท่ผี ู้เรยี นสามารถใช้เปน็ แหล่งหาประสบการณ์ หรอื ศึกษาได้อย่างแท้จริงและกว้างขวาง แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 วัสดุท่ีเสนอความรู้ได้จากตัวมันเอง ได้แก่หนังสือเรียนหรือตาราของจริง หุ่นจาลอง รปู ภาพ แผนภมู ิ แผนท่ี ป้ายนิเทศ เป็นต้น 1.2 วัสดุที่ต้องอาศัยส่ือประเภทเคร่ืองกลไก เป็นตัวนาเสนอความรู้ได้แก่ฟิล์ม ภาพยนตร์ แผ่นสไลด์ ฟิล์มสตริป เส้นเทปบันทึกเทป รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ รายการที่ใช้เครื่องช่วย สอน เป็นตน้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
~9~ 2. ส่ือประเภทเครื่องมือ หรือโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ส่ือใหญ่ ท่ีเป็นตัวกลางหรือทางผ่านของ ความรู้ ทถี่ า่ ยทอดไปยังครแู ละนกั เรยี น ส่ือประเภทน้ีตัวมันเองแทบไม่มีประโยชน์ต่อการส่ือความหมายเลยถ้า ไม่มีใครรู้ในรูปแบบต่าง ๆ มาป้อนผ่านเครื่องกลไกลเหล่านี้ สื่อประเภทน้ีจึงจาเป็นต้องอาศัยสื่อประเภทวัสดุ บางชนิดเปน็ แหลง่ ความรู้ใหม้ นั ส่งผ่าน ซ่ึงจะทาให้ความรทู้ ่สี ่งผา่ นมีการเคล่ือนไหวไปสู่นักเรียนจานวนมาก ได้ ไกล ๆ และรวดเร็ว และบางทีก็ทาหน้าท่ีเหมือนครูเสียเอง เช่นเคร่ืองช่วยสอน ได้แก่เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เครื่องเลน่ แผ่นเสยี ง เครือ่ งบนั ทกึ เสียงเคร่ืองรับวิทยุ เคร่อื งฉายภาพนิง่ ทั้งหลาย 3. ส่ือประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ตัวกลางในกระบวนการเรียนการสอนไม่จาเป็นต้องใช้แต่ วัสดุหรือเคร่ืองมือเท่านั้น บางครั้งจะต้องใช้เทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ ควบคู่กันไป โดยเน้นท่ีเทคนิคและวิธีการ เปน็ สาคญั 6. ข้นั ตอนการดาเนินงาน เพ่ือให้การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของ กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ผ่าน กิจกรรมการมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) แบ่งเป็น 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผน (Analyze & Plan) ข้ันที่ 2 ปฏิบัติและสังเกต (Do & See) และข้นั ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จงึ กาหนดแนวปฏิบัตทิ ส่ี าคัญดงั น้ี 1. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ รวมกลมุ่ แล้ว ตง้ั ช่ือกลมุ่ ตามลกั ษณะประเด็นท่จี ะเรยี นรู้ แล้วทากจิ กรรม PLC 2. กาหนดบทบาทของสมาชิกและดาเนินการกจิ กรรมตามข้ันตอนในแบบบนั ทกึ 3. จดบนั ทึก และสรปุ รายงานส่งผบู้ รหิ ารสถานศึกษารบั ทราบ 4. พัฒนาการตามทร่ี ายงานเป็นระบบปฏิบัติการอยา่ งต่อเนอ่ื งจนสาเร็จตามเป้าหมาย 5. นาขอ้ มูลและผลการดาเนนิ งานให้ผูบ้ ริหารสถานศึกษาลงนามรับรอง ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพฒั นาสื่อการเรยี นการสอน
~ 10 ~ วธิ ีการ/นวัตกรรม กระบวนการของ PLC สรา้ งทีม PLC คน้ หาปญั หา/ความต้องการ ออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหา แลกเปลีย่ น/เสนอแนะ นาไปสกู่ ารปฏิบัต/ิ สังเกตการสอน สะท้อนผล นวตั กรรม/Best Practices ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพฒั นาสื่อการเรียนการสอน
~ 11 ~ 7. ผลการดาเนนิ งาน 7.1 ข้ันท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผน (Analyze & Plan) ช่ือกลุ่ม การพฒั นาสือ่ การจัดการเรียนการสอน ครง้ั ที่ 1/2564 ภาคเรยี นท่ี 1/2564 วนั /เดอื น/ปี : 10 มถิ นุ ายน พ.ศ.2564 เร่มิ ดาเนินการเวลา 09.00 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 16.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิน้ 6 ชัว่ โมง 30 นาที กิจกรรมคร้ังน้ีอยู่ในความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผน (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกต (Do & See) ขัน้ ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูที่เข้ารว่ มกิจกรรม 19 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ช่อื -สกลุ ตาแหน่ง บทบาทหน้าที่ ครูผ้นู า PLC/ประธาน 1 นางจิรชั ยา เฟอื่ งฟูรัตน์ ผูอ้ านวยการฯ ครรู ่วมเรียนรู้ 2 นางอลิตา อยู่สุข ครชู านาญการ ครรู ว่ มเรยี นรู้ ครูรว่ มเรยี นรู้ 3 นางสาวณัตฐิ ญิ า พรหมทอง ครูผ้ชู ว่ ย ครูร่วมเรียนรู้ ครรู ว่ มเรียนรู้ 4 นายสมบตั ิ เกตุถาวร ครอู าสาสมัคร กศน. ครรู ่วมเรียนรู้ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5 นายทองคา เสือสงั โฆ ครอู าสาสมัคร กศน. ครูรว่ มเรียนรู้ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6 นางสาวรงุ่ แสง ชวู งษ์ ครอู าสาสมัคร กศน. ครรู ่วมเรยี นรู้ ครูรว่ มเรยี นรู้ 7 นางกฤษณา จั่นศรี ครู กศน.ตาบลแสวงหา ครูร่วมเรียนรู้ ครรู ่วมเรียนรู้ 8 นางสาวรัตนาภรณ์ สมบญุ ครู กศน.ตาบลวังนา้ เย็น ครูร่วมเรียนรู้ ครรู ่วมเรยี นรู้ 9 นางนพวรรรณ ศรีเคลือบ ครู กศน.ตาบลสีบัวทอง ครรู ่วมเรียนรู้ ครรู ่วมเรยี นรู้ 10 นางธิดาสวรรค์ แมลงภู่ ครู กศน.ตาบลบา้ นพราน ครรู ่วมเรียนรู้/เลขานกุ าร 11 นายพิชชานันท์ ชยั สุวรรณ์ ครู กศน.ตาบลหว้ ยไผ่ 12 นายณัฐพงษ์ วารนชุ ครู กศน.ตาบลศรีพราน 13 นางสาววรรณรดา คาสวัสดิ์ ครู กศน.ตาบลมงคลธรรมนิมิตร 14 นางสาวกาญจนา สทุ นต์ ครู กศน.ตาบลสามโก้ 15 นางสาวอรทัย จติ รพีระ ครู กศน.ตาบลราษฎรพัฒนา 16 นางสาวเสริมศริ ิ จนั ทรแ์ ดง ครู กศน.ตาบลอบทม 17 นางสาวชัญญธ์ นนั ท์ วันอินทร์ ครู กศน.ตาบลโพธิ์ม่วงพนั ธ์ 18 นางจุฑารัตน์ ไพรสิทธิ์ ครูผ้สู อนคนพกิ าร 19 นายชัยธวัช สมนึก ครผู ชู้ ว่ ย ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพฒั นาสื่อการเรยี นการสอน
~ 12 ~ 7.1.1 สภาพหรอื กลุม่ ปัญหา การผลิตสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์กับนักศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ 7.1.2 กจิ กรรม ร่วมกันระดมความคิดและสะท้อนปัญหาเกี่ยวกับการผลิตและการใช้ส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อถอดบทเรียนเกี่ยวกับข้อดี ข้อเสีย และข้อที่ควรปรับปรุงของสื่อการเรียนการสอนที่ครูใช้จัดการเรียน การสอนในภาคเรยี นที่ 2/2563 7.1.3 สมาชิกในกลุม่ นาเสนอความคดิ ระดมความคดิ กลมุ่ ที่ ช่ือสมาชกิ ขอ้ ดีสื่อการสอนออนไลน์ 1 นางสาวณตั ฐิ ิญา พรหมทอง - นักศึกษาเรียนรู้ได้ตลอดเวลา นายชัยธวัช สมนึก - เหมาะกับสถานการณป์ จั จุบนั นางสาวรัตนาภรณ์ สมบญุ - นามาใชใ้ นรปู แบบออฟไลน์ได้ นางจุฑารัตน์ ไพรสทิ ธ์ิ - เกิดสื่อนวตั กรรมใหม่ ๆ สาหรบั ครู ข้อเสีย/ข้อท่ีควรปรบั ปรุง 2 นางนพวรรรณ ศรีเคลือบ - มีขอ้ จากดั ด้านอนิ เทอร์เน็ตและเทคโนโลยี นางธิดาสวรรค์ แมลงภู่ - ผ้เู รียนขาดแรงจงู ใจในการใช้สอ่ื นางสาวอรทัย จติ รพรี ะ - ไม่สามารถควบคุมการใช้สอ่ื ของนกั ศกึ ษาได้ เชน่ การเข้า นางสาวเสรมิ ศริ ิ จนั ทร์แดง เรยี น นางสาวรุ่งแสง ชูวงษ์ - ควรใชส้ ่ือทม่ี คี วามหลากหลายและเสริมแรงให้กับนักศกึ ษา เชน่ เกม สะสมแต้ม ข้อดีส่ือการสอนออนไลน์ - ระยะเวลาของส่ือกระชบั ฉับไว ไมใ่ ช้เวลาในการเรยี นรู้มาก - สื่อมคี วามนา่ สนใจ ไมน่ ่าเบื่อ - เน้อื หาตรงกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ - ส่อื มีความครบถ้วยสมบรู ณ์ ข้อเสยี /ข้อที่ควรปรบั ปรงุ - นักศกึ ษาบางคนไมม่ ีความพร้อมในดา้ นอุปกรณ์ในการเรียน ออนไลน์ - อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการผลิตสอ่ื ยงั ไม่พรอ้ ม - โทรศัพทข์ องนักศึกษาบางคนไมร่ องรบั เทคโนโลยี ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน
~ 13 ~ กลุ่มท่ี ชอ่ื สมาชิก ระดมความคิด 3 นางกฤษณา จั่นศรี นายพชิ ชานนั ท์ ชัยสุวรรณ์ ข้อดสี ่ือการสอนออนไลน์ นายณฐั พงษ์ วารนุช - พฒั นาครใู ห้มีความรู้ ทกั ษะ นาเทคโนโลยีมาใช้ นายสมบัติ เกตุถาวร - เขา้ ถึงการจดั การเรียนการสอนได้อย่างปลอดภยั ในชว่ งการ แพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 4 นางสาวชญั ญธ์ นันท์ วนั อนิ ทร์ - สะดวก สบายเรยี นไดท้ ุกช่วงเวลา นางสาวกาญจนา สทุ นต์ - เป็นชอ่ งทางการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย นางสาววรรณรดา คาสวสั ดิ์ ข้อเสยี /ข้อที่ควรปรบั ปรงุ นายทองคา เสอื สังโฆ - ขาดปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งครูกบั ผเู้ รยี น นางอลติ า อยสู่ ขุ - ไม่สามารถตดิ ตามความสนใจของผ้เู รยี นได้ - ผู้เรียนขาดความพร้อมด้านเทคโนโลยี - ควรปรับปรงุ สือ่ การสอนอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ ข้อดีส่ือการสอนออนไลน์ - คลปิ การเรยี นรสู้ ามารถเรยี นรู้ไดต้ ลอดเวลา สถานท่ีไหนก็ สามารถเรยี นได้ - ผู้เรยี นสามารถเปิดทบทวนเนอ้ื หาได้ - ผู้เรียนไมต่ อ้ งมาพบกลุ่ม (เหมาะกับสถานการณโ์ ควิด-19) - ผู้เรียนเขา้ ถึงเนอื้ หาไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ - สามารถค้นคว้าความรูเ้ พิ่มเตมิ จากแหลง่ เรยี นรู้อ่ืน ๆ - ครใู ช้สอ่ื นวัตกรรมตามความเหมาะสมของเน้ือหาวชิ า ตาม ความยากงา่ ยของเนอื้ หา - สอื่ เหมาะสมกับกลุม่ ผูเ้ รยี นทไ่ี ม่มเี วลามาพบกลมุ่ เชน่ พนกั งานโรงงาน - เปน็ สอื่ สาธารณะ ประชาชนทั่วไปสามารถเขา้ ถึงได้ - ครไู ด้พัฒนาตนเองในการผลติ ส่อื นาสอื่ ไปใช้ เผยแพร่ได้ หลายชอ่ งทาง ขอ้ เสยี /ข้อที่ควรปรบั ปรงุ - ผเู้ รียนต้องมีสมารท์ โฟน - ผเู้ รยี นต้องมีวินยั ในการเรียน - ต้องมอี ินเทอรเ์ นต็ ในการเรียน - ครกู ับผู้เรียนไม่มีปฏสิ ัมพนั ธ์โดยตรง - ครูใช้ระยะเวลาในการผลติ สื่อไมเ่ ทา่ กนั (ตามความถนดั ) ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพัฒนาส่ือการเรียนการสอน
~ 14 ~ 7.1.4 สมาชิกเลือกปญั หา ที่จะนามาแก้ไขร่วมกนั จานวน 1 ปญั หา ปัญหาทีน่ ามาแก้ไข คือ การผลิตส่อื ท่ีกระตนุ้ ความสนใจของผเู้ รยี น 7.1.5 สมาชกิ ร่วมกนั วิเคราะหส์ าเหตุของปัญหา/แนวทางการแก้ไขปัญหา/ความรู้ท่นี ามาใช/้ การออกแบบ กิจกรรม/จัดทาแผนดาเนินกจิ กรรม 7.1.5.1 สาเหตุของปญั หา - ผู้เรียนขาดความพร้อมดา้ นเทคโนโลยี และอนิ เทอร์เน็ต - ผเู้ รียนขาดแรงจงู ใจในการเรียน - สือ่ การเรียนการสอนไม่นา่ สนใจ 7.1.5.2 แนวทางการแก้ไขปัญหา ควรผลิตสื่อการเรียนการสอนที่สร้างแรงจูงใจในการเรียน เช่น เกม การสะสมแต้ม รวมทั้ง เมื่อครูนาส่อื ไปใช้ในการเรยี นการสอน ครูควรใช้ส่ือทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพ่ือรองรับผู้เรียนท่ีไม่ มคี วามพรอ้ มด้านเทคโนโลยี เช่น ผู้สูงอายุ 7.1.5.3 ความรู้ทีน่ ามาใช้ ทฤษฎกี ารเสริมแรงของสกินเนอร์ (Reinforcement theories of motivation) สกินเนอร์ได้นาเสนอการใช้การเสริมแรงเพื่อการจูงใจบุคคลให้เกิดพฤติกรรมใหม่ ทาพฤตกิ รรมซ้าหรือหยุดพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ ต้ังเป็น law of effect โดยมองการเสริมแรงเป็น 2 ด้าน ได้แก่ 1) การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement) เป็นการให้ผลตอบแทนในส่ิงท่ีบุคคลอยากได้ เช่น เพ่ิมคะแนน คาชมเชย ความก้าวหน้าในการทางาน การเพ่ิมแต้ม เป็นต้น เพื่อจูงใจให้บุคคลเกิดแรงจูงใจ ที่จะกระทาพฤติกรรมพึงประสงค์ต่าง ๆ และ 2) การเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement) เป็นการ ไมใ่ ห้ผลตอบแทนทบี่ คุ คลไมอ่ ยากได้ โดยมีการกาหนดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ต้องไม่กระทาและบทลงโทษ ต่าง ๆ เช่น ตดั คะแนน ตักเตือน โดยที่หากบุคคลกระทาแต่พฤติกรรมพึงประสงค์ ก็จะไม่ให้ผลตอบแทนทาง ลบแก่ผนู้ ั้น ทฤษฎกี ารต่ืนตวั (Arousal Theory) ทฤษฎนี ีอ้ ธบิ ายวา่ การต่ืนตัวของคนเราจะเกิดข้ึนตลอดเวลา จากระดับท่ีต่าสุดหรือ เฉื่อยชา ระดับปานกลาง ไปถึงระดับสูงท่ีสุดหรือตื่นตัว โดยมีสมองส่วนที่เรียกว่า Reticular Activation System หรือ RAS ทาหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการต่ืนตัวข้ึนมา ท้ังยังอธิบายอีกว่า การต่ืนตัวในระดับ ปานกลางจะมีความเหมาะสมสาหรับการจูงใจการเรียนรู้มากที่สุด จึงจะเป็นอย่างย่ิงท่ีครูสอนจะต้องทราบ วิธีการและเทคนิคต่างๆเพ่ือน้ามาใช้กระตุ้นให้ผู้เรียนต่ืนตัวท่ีเหมาะสม อันจะทาให้การเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด เทคนิคที่สาคัญในการกระตุ้นให้เกิดการต่ืนตัวในการเรียน เช่น การใช้สี การใช้เสียง การใชส้ ิ่งเรา้ ทีเ่ คล่ือนไหวได้ การเปลย่ี นแหลงสง่ิ เรา้ และการใชภ้ าพ เปน็ ต้น ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพฒั นาส่ือการเรียนการสอน
~ 15 ~ ทฤษฎีความคาดหวงั (Expectancy Theory) เอ็ดวาร์ค และ แอทคินสัน ได้พัฒนาทฤษฎีความคาดหวังข้ึนมา โดยบุคคลจะมี แรงจูงใจในการเรียนหรือการทางานเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สาคัญ 2 ประการ คือ 1) เป็น การรบั ร้หู รือประเมนิ คา่ ตนเองว่า จะมคี วามเป็นไปได้หรือมีโอกาสประสบความสาเร็จในสิ่งที่ทาน้ันหรือไม่มาก น้อยเพยี งใด และ 2) ความมีคุณค่าของสิ่งล่อใจที่บุคคลจะได้รับเป็นผลตอบแทนจากการทางานนั้น แรงจูงใจ สูงสุดในการทางานจะเกิดข้ึนเม่ือบุคคลรับรู้หรือประเมินว่า มีความเป็นไปได้ของความสาเร็จในการเรียนหรือ การทางานในระดบั กลาง หรือเป็นงานทีไ่ มย่ ากหรอื ไมง่ ่ายจนเกินไป สาหรบั งานทยี่ ากเกนิ ไปนั้น แม้ว่าบุคคลได้ ทุ่มเทความรู้ความสามารถอย่าวงเต็มที่แล้ว ก็ยังมีความเป็นไปได้ต่าท่ีจะประสบความสาเร็จ หรืองานที่ง่าย จนเกินไป บคุ คลใช้ความพยายามเพียงเล็กน้อยก็สามารถทาได้สาเร็จ หรือมีความเป็นไปได้ของความสาเร็จสูง ฉะนัน้ งานท่ยี ากหรือง่ายจนเกินไป จึงทาใหบ้ ุคคลมแี รงจูงใจเกิดขึ้นในระดับต่า 7.1.5.4 การออกแบบกจิ กรรม - ทาส่ือการเรียนการสอนให้กระชับ เข้าใจง่าย - สอื่ ควรมีท้งั เนอื้ หา ภาพ เสยี งบรรยายท่ีใหค้ วามรสู้ ึกสนุกสนาน น่าเรียน 7.1.5.5 แผนดาเนินกิจกรรม ที่ กจิ กรรม ระยะเวลา 1 ครู กศน.อาเภอแสวงหา ร่วมกนั ระดมความคิดและสะท้อน กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ ปัญหาการใช้ส่อื การเรยี นการสอนในภาคเรียน 2/2563 และ ทางวิชาชพี (PLC) คร้งั ที่ 1 จัดทาสื่อการเรียนการสอนในรปู แบบวดิ โี อตามรายวชิ าที่ได้รับ เดือนมิถนุ ายน 2564 มอบหมาย ทง้ั รูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อนาสื่อการเรียน การสอนในรูปแบบวิดีโอลงในกลุม่ งานของสถานศึกษา รวมทง้ั วพิ ากษ์และสะทอ้ นผลการจดั ทาส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบ วิดีโอตามรายวิชาทีไ่ ด้รับมอบหมาย 2 ตดิ ตาม และประเมินผลการใช้สือ่ การเรยี นการสอนในรปู แบบ กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ วดิ โี อ ทางวิชาชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 2 ไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนใน กศน.ตาบล ทั้ง 7 ตาบล เดือนมิถนุ ายน – กนั ยายน 2564 (ตามปฏทิ นิ การนเิ ทศ) 3 ครู กศน.อาเภอแสวงหา และ ครู กศน.อาเภอสามโก้ รว่ มกัน กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ สะทอ้ นผลการใชส้ ่ือการเรียนการสอนในรปู แบบวิดีโอ ท้ังแบบ ทางวิชาชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 3 ออนไลน์และออฟไลน์ พรอ้ มหาแนวทางการแก้ไขปญั หาต่อไป เดือนพฤศจิกายน 2564 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน
~ 16 ~ 7.1.6 ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม คณะครู กศน.อาเภอแสวงหาและ กศน.อาเภอสามโก้ ได้ร่วมกันระดมความคิดและสะท้อนปัญหาถึง ข้อดี ข้อเสีย และข้อที่ควรปรับปรุงของสื่อการจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนท่ี 2/2563 จนได้ปัญหาที่ เห็นสมควรจะนามาแก้ไข คือ การผลิตสื่อการเรียนการสอนออนไลน์กับนักศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา โดยมี การวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา นาไปสู่แนวทางการแก้ปัญหา และแผนการดาเนินกิจกรรมชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ดา้ นการพัฒนาส่อื การจดั การเรียนการสอน เลกิ ประชมุ เวลา 16.30 น. 7.1.7 ประมวลภาพกจิ กรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
~ 17 ~ 7.2 ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกต (Do & See) ชือ่ กลมุ่ การพัฒนาส่ือการจัดการเรียนการสอน ครัง้ ท่ี 2/2564 ภาคเรียนท่ี 1/2564 วัน/เดือน/ปี: 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 เริม่ ดาเนินการเวลา 09.00 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาทงั้ ส้ิน 6 ช่วั โมง กจิ กรรมครั้งนีอ้ ยู่ในความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผน (Analyze & Plan) ขั้นท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกต (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม 18 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้ ที่ ชื่อ-สกลุ ตาแหน่ง บทบาทหนา้ ท่ี 1 นางจิรัชยา เฟอื่ งฟรู ัตน์ ผู้อานวยการฯ ครูผู้นา PLC/ประธาน 2 นางอลิตา อยู่สขุ ครชู านาญการ 3 นางสาวณตั ิฐญิ า พรหมทอง ครรู ่วมเรียนรู้ 4 นายสมบตั ิ เกตุถาวร ครผู ู้ช่วย ครูร่วมเรยี นรู้ 5 นายทองคา เสอื สังโฆ ครูอาสาสมัคร กศน. ครรู ว่ มเรียนรู้ 6 นางสาวร่งุ แสง ชวู งษ์ ครูอาสาสมัคร กศน. ครรู ว่ มเรียนรู้ 7 นางกฤษณา จัน่ ศรี ครูอาสาสมัคร กศน. ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8 นางสาวรตั นาภรณ์ สมบุญ ครู กศน.ตาบลแสวงหา ครูร่วมเรียนรู้ 9 นางนพวรรรณ ศรีเคลือบ ครู กศน.ตาบลวงั น้าเยน็ ครูรว่ มเรยี นรู้ 10 นายพชิ ชานนั ท์ ชัยสุวรรณ์ ครู กศน.ตาบลสบี วั ทอง ครรู ่วมเรียนรู้ 11 นายณฐั พงษ์ วารนชุ ครู กศน.ตาบลห้วยไผ่ ครูร่วมเรยี นรู้ 12 นางสาววรรณรดา คาสวสั ดิ์ ครู กศน.ตาบลศรีพราน ครรู ่วมเรียนรู้ 13 นางสาวกาญจนา สทุ นต์ ครู กศน.ตาบลมงคลธรรมนมิ ิตร ครรู ่วมเรยี นรู้ 14 นางสาวอรทัย จิตรพรี ะ ครู กศน.ตาบลสามโก้ ครรู ว่ มเรียนรู้ 15 นางสาวเสริมศริ ิ จันทร์แดง ครู กศน.ตาบลราษฎรพัฒนา ครรู ว่ มเรียนรู้ 16 นางสาวชญั ญ์ธนนั ท์ วันอินทร์ ครู กศน.ตาบลอบทม ครรู ว่ มเรยี นรู้ 17 นางจฑุ ารัตน์ ไพรสทิ ธ์ิ ครู กศน.ตาบลโพธิ์ม่วงพนั ธ์ ครรู ่วมเรียนรู้ 18 นายชยั ธวชั สมนึก ครผู ู้สอนคนพกิ าร ครรู ่วมเรยี นรู้ ครูรว่ มเรยี นรู้/เลขานุการ ครผู ชู้ ่วย ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
~ 18 ~ 7.2.1 สภาพหรือกลมุ่ ปญั หา ผลการนาส่อื การเรียนการสอนไปใช้กบั นักศกึ ษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ในรูปแบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ 7.2.2 งาน/กจิ กรรม สรุปรายงานผล ครัง้ ท่ี 1 ร่วมกันสะท้อนปัญหาเก่ียวกับการนาส่ือวิดีโอการเรียนการสอนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ใน ภาคเรยี นท่ี 1/2564 ทัง้ รูปแบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ โดยคณะกรรมการนเิ ทศได้ดาเนินการนิเทศติดตามการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู กศน.ตาบล ด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ตามปฏิทินการนิเทศภายในสถานศึกษา กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ พร้อมกับให้ครู กศน. ตาบลนาเสนอปัญหาในการนาสื่อไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และจดบันทึกปัญหาที่พบเพื่อนาเข้าสู่ กระบวนการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ด้วยชนุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ในครั้งตอ่ ไป 7.2.3 สมาชิกแต่ละคนเสนอผลการสอน/การจดั กจิ กรรมตามแบบและแผนกจิ กรรมต่อผนู้ ิเทศ 7.2.3.1 ผลลัพธท์ ี่เกิดจากกระบวนการ กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ใช้สื่อการเรียนการสอนรูปแบบวิดีโอการสอน ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์กับนักศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สอดคล้องกับการจัดการเรียนรูใ้ นช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยได้รับการนิเทศจากคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ในภาคเรียนที่ 1/2564 เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาการจัดการเรียนการสอน จดบันทึกผลการนาส่ือไปใช้ในการเรียนการสอน และให้ ขอ้ เสนอแนะแนวทางการพัฒนาส่อื การเรยี นการสอนต่อไป 7.2.3.2 ผลลัพธ์ทเี่ กิดกับผ้เู รียน / ครู / สมาชิกท่ีเข้าร่วมเครือข่าย PLC ผลลัพธ์ที่เกิดกับครู คือ ครูได้ใช้สื่อการเรียนการสอนในภาคเรียนท่ี 1/2564 สามารถ แก้ปัญหาผู้เรียนไม่สนใจในบทเรียน เพราะส่ือเป็นรูปแบบวิดีโอท่ีมีความน่าสนใจ ระยะเวลาเหมาะสมและมี ภาพเสียงชดั เจน ผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน คือ ผู้เรียนใช้สื่อวิดีโอการสอนในการเรียนรู้ช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) โดยให้ความสนใจต่อสื่อวิดีโอการสอน ซ่ึงสะท้อนจากการสัมภาษณ์ จากครูประจากลุ่ม การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิปลายภาคของสถานศึกษา และผลการสอบ N-NET ในภาคเรียนที่ 1/2564 ท่มี ีแนวโน้มสูงขน้ึ 7.2.3.3 คณุ ค่าทเี่ กิดตอ่ วงการศกึ ษา การสร้างส่ือการเรียนการสอนท่ีมีความน่าสนใจ ระยะเวลาส้ัน กระชับตรงกับความต้องการ และความสนใจของผู้เรียนจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเพ่ิมความสนใจในการเรียนรู้ แรงกระตุ้น ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน
~ 19 ~ ช่วยเสริมแรงในการเรียน วัดได้จากการสะท้อนผลการใช้สื่อของผู้เรียนจากการสัมภาษณ์ของครูผู้สอน เช่น “ชอบส่ือการสอนแบบนี้ เพราะดูแล้วสนุก ไม่ง่วง” “สื่อไม่นานจนเกินไป ไม่น่าเบ่ือ” ซึ่งส่งผลดีต่อตัวผู้เรียน ทั้งในด้านการนาความรู้ไปใช้ในการดาเนินชีวิต การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ อีกทั้งยังช่วยยก ระดับ ผลสัมฤทธ์ิปลายภาคของสถานศึกษาให้สูงข้ึน สอดรับกับนโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 7.2.4 สมาชกิ ร่วมกันอภปิ รายและสรุปผล สมาชิกชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) กลมุ่ การพัฒนาส่ือการจัดการเรียนการสอน ครู กศน. อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ และคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ร่วมกันสะท้อนผลการนา ส่ือไปใช้ และอภิปรายผลการนาสื่อไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ในภาคเรียนที่ 1/2564 ตามประเด็น หวั ขอ้ ดงั น้ี 1. แนวทางการใชส้ ื่อการเรยี นการสอน - ใช้วธิ ีการ Cap หนา้ จอ - ทาสอื่ ฐานการเรยี นรู้ออนไลน์ - เน้นใหผ้ ู้เรียนเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง - ใชผ้ ่านชอ่ งทาง Line Facebook massenger 2. การตดิ ตามผลการนาสือ่ ไปใช้ - ตดิ ตามการนาส่ือไปใช้ - ติดตามจากจานวนผูเ้ ขา้ ชมคลิป - ให้นกั ศึกษาบันทึกหน้าจอ หรือถา่ ยภาพไวเ้ ป็นหลกั ฐาน - ให้นกั ศึกษาสรปุ ความร้จู ากการใช้สอื่ ในแต่ละครง้ั 3. การประเมินสอ่ื การเรียนการสอน - ยังไม่มกี ารประเมินส่ือ - มกี ารประเมนิ แต่ไม่ไดใ้ ช้เครื่องมอื ทน่ี ่าเชื่อถือ - จานวนการแชร์ ยอดววิ - สอบถามจากผ้เู รยี น หรอื ใหผ้ ู้เรยี นสะท้อนผล - ดูจากผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เลกิ ประชมุ เวลา 16.00 น. ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน
~ 20 ~ 7.2.5 ประมวลภาพกจิ กรรม ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพัฒนาส่ือการเรยี นการสอน
~ 21 ~ 7.3 ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) ช่ือกลุ่ม การพฒั นาส่อื การจดั การเรยี นการสอน ครงั้ ท่ี 3/2564 ภาคเรียนที่ 1/2564 วัน/เดือน/ปี: 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เรม่ิ ดาเนนิ การเวลา 09.00 น. เสร็จสนิ้ เวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิน้ 6 ชั่วโมง กิจกรรมคร้ังนอ้ี ยู่ในความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) ข้ันท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผน (Analyze & Plan) ข้ันท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกต (Do & See) ขน้ั ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เขา้ รว่ มกจิ กรรม 18 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั นี้ ที่ ช่อื -สกุล ตาแหนง่ บทบาทหน้าที่ 1 นางจริ ชั ยา เฟอื่ งฟูรตั น์ ผอู้ านวยการฯ ครผู ู้นา PLC/ประธาน 2 นางอลติ า อยู่สขุ ครชู านาญการ ครรู ว่ มเรียนรู้ 3 นางสาวณัติฐิญา พรหมทอง ครูผูช้ ่วย ครูร่วมเรียนรู้ 4 นายสมบัติ เกตุถาวร ครูอาสาสมัคร กศน. ครรู ว่ มเรียนรู้ 5 นายทองคา เสือสงั โฆ ครอู าสาสมัคร กศน. ครูรว่ มเรยี นรู้ 6 นางสาวรุ่งแสง ชวู งษ์ ครอู าสาสมัคร กศน. ครูร่วมเรียนรู้ 7 นางกฤษณา จั่นศรี ครู กศน.ตาบลแสวงหา ครรู ่วมเรยี นรู้ 8 นางสาวรัตนาภรณ์ สมบุญ ครู กศน.ตาบลวงั น้าเย็น ครรู ่วมเรยี นรู้ 9 นางนพวรรรณ ศรเี คลือบ ครู กศน.ตาบลสบี วั ทอง ครรู ่วมเรยี นรู้ 10 นายพชิ ชานนั ท์ ชัยสวุ รรณ์ ครู กศน.ตาบลห้วยไผ่ ครูรว่ มเรยี นรู้ 11 นายณัฐพงษ์ วารนุช ครู กศน.ตาบลศรีพราน ครูรว่ มเรียนรู้ 12 นางสาววรรณรดา คาสวัสดิ์ ครู กศน.ตาบลมงคลธรรมนมิ ิตร ครรู ่วมเรยี นรู้ 13 นางสาวกาญจนา สุทนต์ ครู กศน.ตาบลสามโก้ ครูรว่ มเรยี นรู้ 14 นางสาวอรทัย จติ รพีระ ครู กศน.ตาบลราษฎรพัฒนา ครูร่วมเรียนรู้ 15 นางสาวเสรมิ ศิริ จนั ทรแ์ ดง ครู กศน.ตาบลอบทม ครรู ว่ มเรยี นรู้ 16 นางสาวชญั ญ์ธนันท์ วันอนิ ทร์ ครู กศน.ตาบลโพธิม์ ่วงพันธ์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 17 นางจุฑารัตน์ ไพรสิทธิ์ ครูผสู้ อนคนพิการ ครรู ่วมเรียนรู้ 18 นายชัยธวชั สมนกึ ครผู ู้ช่วย ครูร่วมเรยี นรู้/เลขานุการ 7.3.1 สภาพหรือกลมุ่ ปัญหา การพัฒนาต่อยอดสอ่ื การเรยี นการสอนให้ไมล่ ะเมดิ ลขิ สิทธิ์ กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรียนการสอน
~ 22 ~ 7.3.2 งาน/กิจกรรม สรปุ รายงานผล ครง้ั ท่ี 2 (การเขียนรายงาน) คณะครู กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ร่วมกับสะท้อนปัญหาจากการนาส่ือการเรียน การสอนไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ ด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) คร้ังท่ี 2/2564 เพื่อนาผลการสะท้อนมาพัฒนาสื่อการเรียน การสอนต่อไป โดยผลการสะท้อนมีประเด็นคาถามท่สี าคัญ ไดแ้ ก่ ส่ือทจ่ี ัดทาไปละเมิดลิขสิทธ์ิหรือไม่ และสื่อ การเรียนการสอนมีเนื้อหาครบถ้วนหรือไม่ และคณะครู กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ รับทราบปัญหาท่ีได้ร่วมกันสะท้อน และช่วยกันเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาจากประเด็นท่ีกาหนด ผลการ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาเพอ่ื ต่อยอดการผลิตส่ือการเรยี นการสอน คือ ครูต้องผลิตส่ือการเรียนการสอนท่ี ต้องสอนเอง อาจนาวิดีโอจากอินเทอร์เน็ตมาส่งเสริมสื่อของตนเองให้มีความน่าสนใจ และมีเนื้อหาที่สมบูรณ์ มากยิ่งขึ้น โดยใช้โปรแกรม OBS Studio ควบคู่กับโปรแกรม Microsoft PowerPoint ในการผลิตส่ือด้วย กระบวนการแลกเปล่ียนเรยี นร้ใู นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ครัง้ ที่ 3/2564 7.3. สรปุ สงั เคราะห์การเรียนรู้จากสมาชิกในทมี จุดอ่อน จุดเดน่ ของการดาเนนิ การ 7.3.3.1 ประเดน็ ดา้ นผูเ้ รยี น ผู้เรยี นใช้ส่ือวิดีโอการสอนในการเรียนรู้ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โดยใหค้ วามสนใจตอ่ สือ่ วิดีโอการสอน ซึ่งสะทอ้ นจากการสัมภาษณ์จากครูผสู้ อน ผลการวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิปลายภาคของสถานศึกษา และผลการสอบ N-NET ในภาคเรียนท่ี 1/2564 ท่ีมี แนวโนม้ สงู ขึ้น 7.3.3.2 ประเดน็ ดา้ นกิจกรรม กิจกรรมการเรียนการสอนในภาคเรียนท่ี 1/2564 ที่ใช้ส่ือวิดีโอการเรียนการสอนทั้งใน รูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ ครูผู้สอนใช้วิธีการส่งวิดีโอการสอนลงในกลุ่มผู้เรียนทางส่ือสังคมออนไลน์ในแต่ ละระดบั ชั้น รวมถงึ การสง่ ใบงานการผเู้ รยี นเรียนรูด้ ้วยตนเอง ซึง่ ครูยังไม่สามารถประเมินผลการติดตามการใช้ สื่อการเรียนการสอนได้อย่างเป็นรูปธรรม และเนื้อหาของสื่อที่ผลิตขึ้นในภาคเรียนที่ 1/2564 ยังขาดความ สมบูรณ์ของเนอ้ื หาบทเรยี น และควรผลติ สือ่ ทเี่ ปน็ ลิขสทิ ธ์ิของครผู ู้สอนเอง 7.3.3.3 ประเด็นดา้ นครู ครูไดน้ าส่อื การเรียนการสอนมาใช้ในการเรียนจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนเป็นการพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีของ ครูผู้สอนในการผลติ ส่ือการเรยี นการสอนให้ทันต่อความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีในปัจจบุ ัน เพื่อเป็นทางเลือกใน การผลิตสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพตอ่ ไปในอนาคต 7.3.3.4 ประเดน็ สือ่ การสอน ส่ือที่ผลิตโดยครูผู้สอนจะไม่มีปัญหาด้านลิขสิทธิ์ จากการท่ีครูผู้สอนผลิตสื่อด้วยตนเอง โดย นาผลจากการสะท้อนของครใู นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพด้านการพัฒนาสื่อการจัดการเรียนการสอน ใน ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การพฒั นาส่ือการเรียนการสอน
~ 23 ~ กระบวนการ PLC คร้ังท่ี 1 และจากการร่วมกันสะท้อนผลระหว่างครูผู้สอนกับคณะกรรมการนิเทศภายใน สถานศึกษา ในกระบวนการ PLC คร้ังที่ 2/2564 ซ่ึงกลุ่ม PLC ได้นาผลการแลกเปล่ียนเรียนรู้มาผลิตสื่อการ เรียนการสอนที่มีความน่าสนใจ ระยะเวลาเหมาะสม เนื้อหาสมบูรณ์ครบถ้วน ในกระบวนการ PLC คร้ังท่ี 3/2564 และนาสือ่ ทไี่ ด้ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนในภาคเรยี นที่ 2/2564 ตอ่ ไป จดุ แขง็ จุดออ่ นของสอื่ ตอ่ การสอน จดุ แข็ง 1) สื่อมีความน่าสนใจตรงกบั ความต้องการของผูเ้ รียน 2) ส่อื มีระยะเวลาเหมาะสม เนอ้ื หากระชบั ไม่น่าเบ่อื 3) สอื่ ท่ใี ช้ไมล่ ะเมิดลขิ สทิ ธ์ิ 4) ครูไดพ้ ัฒนาตนเองจากการเข้ากลุม่ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) จุดอ่อน 1) ควรหารือวธิ ีการเก็บขอ้ มลู การใช้ส่อื ที่เปน็ รูปธรรม 2) ยังไม่มีหรือไม่มกี ารรายงานผลการประเมนิ สื่อการเรยี นการสอนที่ครผู ลิตขน้ึ 3) ไมส่ ามารถควบคุมการใช้สอ่ื กบั นกั ศกึ ษาได้ 4) ครูบางสว่ นยังขาดความชานาญในการใชส้ อ่ื 7.3.4 ผลการดาเนนิ งาน คณะครู กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ร่วมกับสะท้อนปัญหาจากการนาส่ือการเรียน การสอนไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท้ังรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ ด้วยกระบวนการแลกเปล่ียน เรียนรู้ในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยมีการพัฒนาตนเองด้านเทคโนโลยีในการผลิตสื่อท่ีตรง กับกับความต้องการของผู้เรียน สามารถแก้ปัญหาผู้เรียนไม่สนใจในบทเรียน และได้สื่อท่ีถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เพราะครูผู้สอนผลิตสื่อด้วยตนเอง โดยนาผลจากการสะท้อนของครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้าน การพัฒนาสอ่ื การจดั การเรยี นการสอน ในคร้งั ท่ี 1/2564 และครงั้ ที่ 2/2564 มาพัฒนาต่อยอดการผลิตส่ือการ เรยี นการสอน ในครั้งท่ี 3/2564 ซึ่งไดส้ อ่ื ทมี่ ีความนา่ สนใจ ระยะเวลาเหมาะสม เน้ือหาสมบูรณ์ครบถ้วน เพ่ือ ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2/2564 ต่อไป 7.3.5 รอ่ งรอย/หลักฐาน - ทาเนียบสื่อการเรยี นการสอน กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ - รายงานผลการพบกลมุ่ ของครูผู้สอนในแตล่ ะคร้งั - รายงานผลการนิเทศภายในสถานศกึ ษา ไตรมาส 3-4 ปีงบประมาณ 2564 เลิกประชมุ เวลา 16.00 น. ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรียนการสอน
~ 24 ~ 7.3.6 ประมวลภาพกจิ กรรม ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพัฒนาส่ือการเรยี นการสอน
~ 25 ~ 8. บทเรยี นที่ไดร้ ับ 8.1 สรปุ ส่งิ ที่ไดร้ ับจากการดาเนินงาน กศน.อาเภอแสวงหา และ กศน.อาเภอสามโก้ ดาเนินการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้แก่ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จานวน 21 คน ผ่านกิจกรรมการมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) พบว่าครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันระดมความคิด และสะท้อนปัญหาโดยมีการวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา นาไปสู่แนวทางการแก้ปัญหา และแผนการดาเนิน กิจกรรม เพ่อื นาไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาสอ่ื การเรียนการสอน ปีการศึกษา 2564 โดยดาเนินการสร้างส่ือ การเรียนการสอนจานวนทั้งส้ิน 42 รายวิชา ในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวมทง้ั รว่ มกันอภิปรายผลการนาสอ่ื ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนกับนักศึกษา เพ่ือ แก้ไขข้อบกพร่องของส่ือการเรียนการสอนท่ีพัฒนาขึ้น จนนาไปสู่การพัฒนาต่อยอดการผลิตส่ือการเรียนการ สอน ที่มีความน่าสนใจ ระยะเวลาเหมาะสม เนื้อหาสมบูรณ์ครบถ้วน เกิดผลสาเร็จในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผเู้ รยี นระดบั สถานศกึ ษาทส่ี งู ข้ึน 8.2 ขอ้ เสนอแนะ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ท้ัง 3 ขั้นตอนของสถานศึกษา มีระยะห่างของห้วงเวลาในการ PLC ค่อนข้างมาก ทาให้กระบวนการ ขาดความตอ่ เนื่องในทางปฏิบัติ สถานศึกษาควรดาเนินการ PLC อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ 2 ครงั้ 8.3 แนวทางการพัฒนาต่อไป สถานศึกษาควรนากระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) มาเป็นส่วนหนึ่งในระบบบริหารงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยจัดทาคาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพของสถานศึกษา กาหนดชั่วโมงการ PLC ของครูท่ีชัดเจน (อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง) และควรจัดทาสมุดบันทึกผลการ PLC ของครูเป็นรายบุคคล เพ่ือให้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นส่วนหน่ึงในการจัดการเรียนการสอนของครูให้มี ประสทิ ธิภาพ แก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอนไดต้ รงประเดน็ และเกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อผู้เรียน ลงชอื่ ........................................... (นางจริ ัชยา เฟอ่ื งฟูรตั น์) ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอสามโก้ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) การพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน
~ 26 ~ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) การพฒั นาสื่อการเรียนการสอน
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: