โครงงาน เร่ือง เทียนหอมสมุนไพรไล่ยงุ คณะผจู้ ดั ทา 1. นายนนั ทพงษ์ คาหง 6421000041 (หัวหนา้ กลุ่ม) 2. นายรงุ่ สุริยา ยุคลัง 6221000018 3. นางสาวดวงพร พรมแดง 6321000020 4. นายสรุ ศกั ด์ิ มณีนพรตั นส์ ดุ า 6321000048 5. นายพฤตินยั ชมแสงรตั น์ 6321000053 6. นางสาววิมพ์วิพา ดา่ นแพ 6411000017 ระดบั ประถมศกึ ษา ครทู ี่ปรึกษา นางสาวณตั ิฐิญา พรหมทอง นายชัยธวัช สมนึก . ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา สานักงาน กศน.จงั หวัดอ่างทอง
~ก~ ใบอนมุ ตั โิ ครงงาน กศน.อาเภอแสวงหา ประเภท โครงงานสิ่งประดิษฐ์ เร่ือง เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง รายนามผจู้ ดั ทา 1. นายนนั ทพงษ์ คาหง 6421000041 (หัวหนา้ กล่มุ ) 2. นายร่งุ สรุ ิยา ยุคลัง 6221000018 3. นางสาวดวงพร พรมแดง 6321000020 4. นายสรุ ศกั ดิ์ มณีนพรตั นส์ ุดา 6321000048 5. นายพฤตินัย ชมแสงรัตน์ 6321000053 6. นางสาววิมพ์วิพา ด่านแพ 6411000017 โครงงานนไ้ี ดร้ บั การพจิ ารณาอนุมตั ใิ หน้ บั เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาภายใต้ กิจกรรมการเรยี นรสู้ ู่โครงงาน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ครูท่ปี รึกษาคนท่ี 1 ครูทีป่ รึกษาคนท่ี 2 หวั หนา้ งานการศกึ ษาขึ้นพ้นื ฐาน
~ข~ กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงาน เร่ือง เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง นี้สาเร็จขึ้นได้ เพราะความกรุณาอย่างดีย่ิงจากนางสาว ณตั ฐิ ิญา พรหมทอง ครูผ้ชู ว่ ย นายชัยธวัช สมนึก ครูผู้ช่วย ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา และครูประจากลุ่ม ในการศึกษาค้นคว้า และการช้ีแนะแนวทางการสร้างองค์ความรู้แก่คณะผู้จัดทาเป็นอย่างดี อีกท้ังยังคอยให้ คาแนะนา และตรวจสอบขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ ของโครงงานฉบับนี้ใหถ้ ูกต้อง สมบูรณต์ ามรปู แบบของโครงงาน ขอขอบคณุ คณะทางานท้ังทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการดาเนินการศึกษา ค้นคว้าข้อมูล สร้างสรรค์ ชิน้ งาน และสรปุ รายงานเป็นรปู เล่มโครงงานฉบบั นี้ให้สาเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี ท้ายสุดน้ีผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ความรู้ต่าง ๆ ที่อยู่ในโครงงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาของผู้สนใจต่อไป หากมขี ้อผดิ พลาดประการใดคณะผู้จดั ทาขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย คณะผ้จู ัดทา
~ค~ หวั ข้อโครงงาน : เร่ือง เทียนหอมสมุนไพรไลย่ ุง ประเภทของโครงงาน กลมุ่ ประเดน็ โครงงาน : สารวจ ทดลอง สง่ิ ประดษิ ฐ์ อนื่ ๆ ผูจ้ ัดทาโครงงาน : นวตั กรรมเพ่ือแกป้ ญั หาในชีวติ ประจาวัน ครทู ี่ปรึกษาโครงงาน ปกี ารศกึ ษา : 1. นายนันทพงษ์ คาหง 6421000041 (หวั หน้ากลมุ่ ) 2. นายรุ่งสุรยิ า ยุคลัง 6221000018 3. นางสาวดวงพร พรมแดง 6321000020 4. นายสรุ ศักดิ์ มณีนพรตั นส์ ดุ า 6321000048 5. นายพฤตนิ ัย ชมแสงรตั น์ 6321000053 6. นางสาววมิ พว์ พิ า ด่านแพ 6411000017 : นางสาวณัติฐิญา พรหมทอง และนายชยั ธวัช สมนึก : 2/2564 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพ่ือศึกษาข้อมูลสรรพคุณของสมุนไพรในการ ปูองกันยุง 2) เพื่อประดิษฐ์เทียนหอมสมุนไพรที่สามารถนาไปใช้ในครัวเรือนได้จริง และ 3) เพื่อศึกษาความ พงึ พอใจที่มตี ่อเทียนหอมสมุนไพรไลย่ ุง โดยดาเนินการ ดังน้ี 1) ต้มพาราฟินแว็กพร้อมสีย้อมเทียน จนหลอมเหลวหมด ท้ิงไว้ 3-5 นาที 2) ยกลง ทิ้งไว้ 3-5 นาที หรือรอจนเทยี นมอี ณุ หภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซียส 3) ใส่น้ามันหอมระเหยกล่ิน สมุนไพร ลงไปพรอ้ มคนจนทัว่ และ 4) เทใสภ่ าชนะ หรือพมิ พบ์ ลอ็ กเทียนพร้อมไส้ วางท้ิงไวจ้ นเย็น ผลการศึกษาและจัดทาโครงงาน พบว่า 1) สมุนไพรในประเทศไทยท่ีสามารถปูองกันยุงจะมีกล่ินจาก น้ามันหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้หอม มะกรูด มะนาว เปลือกส้ม โหระพา สะระแหน่ และยูคาลิปตัส และ คณะผู้จัดทาเลือกกลิ่นสมุนไพร 2 ชนิด คือ กล่ินตะไคร้หอม และกลิ่นยูคาลิปตัส 2) คณะผู้จัดทาประดิษฐ์ เทียนหอมสมุนไพรกล่ินตะไคร้หอม และกล่ินยูคาลิปตัส และ 3) ผู้ทดลองใช้มีความพึงพอใจต่อกล่ินของเทียน หอมสมุนไพรไล่ยุงอยู่ในระดับมาก ส่วนความพึงพอใจในด้านระยะเวลาในการเผาไหม้ของเทียนอยู่ในระดับ น้อย
~ง~ หนา้ ก สารบัญ ข ค เรื่อง ง ใบอนมุ ัติโครงงาน 1 กิตติกรรมประกาศ 1 บทคดั ย่อ 1 สารบญั 1 บทท่ี 1 บทนา 2 2 1.1 ที่มาและความสาคัญ 3 1.2 วัตถุประสงค์ 3 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 7 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา 9 1.5 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 12 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง 14 2.1 ยุง 15 2.2 โรคทีม่ ยี งุ เป็นพาหะ 16 2.3 สมุนไพรไทยไลย่ ุง 17 2.4 เทยี นหอม 18 บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ ีดาเนนิ การทดลอง 22 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ขอ้ มลู ผจู้ ัดทา
~1~ บทท่ี 1 บทนา 1.1.ทม่ี าและความสาคญั ปัจจุบันแมลงเปน็ สตั ว์ทม่ี ีปริมาณมากทส่ี ดุ ในโลก มีทงั้ แมลงทสี่ วยงามมีประโยชน์ เช่น ผีเสื้อ แมลงปอ และแมลงทเ่ี ปน็ อาหาร เชน่ ตัก๊ แตน จ้งิ หรดี แมลงดานา แต่แมลงท่ีทุกคนรู้จักกันดีและเป็นสัตว์ปีกท่ีพบได้ทุก หนทุกแห่ง คือยุง ยุงเป็นพาหะนาพาไวรัสและปรสิตตัวเล็ก ๆ ติดต่อสู่คนโดยผ่านการดูดเลือด หรือนาพา ไวรัสจากคนหน่ึง (หรอื สตั ว์) สู่อีกคนหน่งึ ไดเ้ ชน่ เดยี วกัน ในทุก ๆ ปีจะมีคนมากกว่า 1 ล้านคนทั่วโลกเสียชีวิต จากโรคที่ยงุ เปน็ พาหะ และมีหลายรอ้ ยลา้ นคนท่ีเจ็บปุวยด้วยโรคท่ียุงเป็นพาหะ โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่ เกิดจากยุงลาย จะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 20,000 รายต่อปี และสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ต้ังแต่ 1 ม.ค. - 15 ก.ย. 2563 มีจานวนผู้ปุวยโรคไข้เลือดออกรวมกว่า 55,004 ราย และเสียชีวิต 37 ราย โรคท่ีมียุงเป็นพาหะในประเทศไทย มีดังนี้ 1) ไข้เลือดออกหรือไข้เดงก่ี 2) โรคติดเช้ือไวรัสซิกา 3) ไข้มาลาเรียหรอื ไข้จับสัน่ 4) โรคตดิ เช้อื ไขส้ มองอักเสบ และ 5) โรคตดิ เช้ือไวรสั ชคิ ุนกนุ ยา ประเทศไทย เป็นประเทศท่ีมีพืชสมุนไพรหลายชนิดที่มีคุณสมบัติในการปูองกันและกาจัดแมลงได้ ปจั จุบันจึงมกี ารศกึ ษาและใช้สารจากธรรมชาติในการปอู งกนั ยงุ กัดมากขึ้น ไดแ้ ก่ สารสกัดจากสมุนไพรท่ีมีกลิ่น จากน้ามันหอมระเหย (essential หรือ volatile oils) สารปูองกันยุงที่ได้จากธรรมชาติมีข้อดีกว่าสารเคมี สังเคราะห์ที่ไม่สะสมเป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะเม่ือใช้เป็นเวลานาน และไม่ทาลายส่ิงแวดล้อมและ กระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของพืชและสัตว์ สารจากธรรมชาติจึงปลอดภั ยต่อผู้ใช้ นอกจากน้ีมักมี ความจาเพาะกับชนิดของยุงด้วย เช่น น้ามันหอมระเหยจากพืชในสกุล Cymbopogon ได้แก่ ตะไคร้ชนิด ตา่ ง ๆ มฤี ทธิป์ ูองกันยงุ ไดห้ ลายชนิด เช่น ยุงก้นปลอ่ ง ยงุ ลาย และยงุ ราคาญ การปูองกันตัวเองและคนในครอบครัวไม่ให้ยุงกัด โดยใช้ผลิตภัณฑ์ปูองกันยุงท่ีมีประสิทธิภาพดีตาม ท้องตลาดอาจมีค่าใช้จ่ายสูง ไม่สามารถปูองกันได้ดีเท่าท่ีควร นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ปูองกันยุงที่ขายตาม ท้องตลาด ส่วนมากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของสารเคมีท่ีเป็นอันตรายต่อร่างกายของผู้ใช้ การใช้ สมุนไพรที่มีในชุมชน จะช่วยลดการสัมผัสสารเคมีจากผลิตภัณฑ์ปูองกันยุงได้อย่างดี จึงเห็นควรท่ีจะพัฒนา สมุนไพรไล่ยุงในลักษณะของเทียนหอม ท่ีนอกจากจะสามารถช่วยปูองกันยุงแล้ว ยังปลอดภัยต่อร่างกายผู้ใช้ และส่ิงแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ไม่มีสารตกค้างท่ีเป็นอันตรายต่อร่างกาย อีกทั้งยังช่วยผ่อนคลายจากกล่ิน สมุนไพรอกี ด้วย 1.2.วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1. เพื่อศกึ ษาขอ้ มลู สรรพคณุ ของสมนุ ไพรในการปูองกนั ยุง 1.2.2. เพอ่ื ประดิษฐเ์ ทียนหอมสมุนไพรทีส่ ามารถนาไปใช้ในครวั เรอื นไดจ้ รงิ 1.2.3. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจทีม่ ีต่อเทียนหอมสมนุ ไพรไลย่ งุ 1.3. ขอบเขตของการศึกษา คณะผจู้ ดั ทาไดก้ าหนดขอบเขตในการศึกษาการทาเทียนหอมสมนุ ไพรไลย่ ุง รายละเอียดในการศกึ ษามดี งั น้ี 13.1 สถานที่ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอแสวงหา จงั หวัดอา่ งทอง
~2~ 13.2 ระยะเวลา 1 กุมภาพนั ธ์ – 18 กุมภาพนั ธ์ 2565 13.3 งบประมาณ งบประมาณท่ีใช้ในการทาเทยี นหอม รวมท้ังส้นิ 600 บาท 1.4.ตวั แปรทศ่ี ึกษา ตวั แปรต้น กล่นิ สมุนไพร ไดแ้ ก่ กลนิ่ ตะไคร้หอม และกลน่ิ ยูคาลิปตัส ตัวแปรตาม ความพงึ พอใจที่มีตอ่ เทยี นหอมสมุนไพรไล่ยงุ ตัวแปรควบคมุ วัสดุ/อปุ กรณ์ในการทาเทยี นหอมสมุนไพร 1.5.ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 1.7.1. เทยี นหอมสมุนไพรสามารถนาไปใช้ปอู งกนั ยงุ ในครัวเรอื นได้จรงิ 1.7.2. สามารถประดิษฐ์เทยี นหอมสมนุ ไพร โดยการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 1.7.3. สามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปตอ่ ยอดในการจาหนา่ ยเพอื่ สรา้ งรายให้แกค่ รอบครวั
~3~ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง ในการจัดทาโครงงาน เรื่อง เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง คณะผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวขอ้ ง ตามลาดับดงั นี้ 2.1 ยุง 2.2 โรคทม่ี ยี งุ เปน็ พาหะ 2.3 สมนุ ไพรไทยไล่ยงุ 2.4 เทียนหอม 2.1 ยงุ 2.1.1 ยุง (Mosquitoes) แมลงเป็นสัตว์ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุดในโลก มีท้ังแมลงที่สวยงามมีประโยชน์ เช่น ผีเสื้อ แมลงปอ และแมลงทเี่ ป็นอาหาร เช่น ตั๊กแตน จ้งิ หรีด แมลงดานา แตแ่ มลงท่ที ุกคนรู้จักกันดีและเป็นสัตว์ปีกท่ี พบได้ทกุ หนทกุ แหง่ คอื ยงุ ในโลกมียุงกว่า 4,000 ชนิด จัดอยู่ในอันดับ Diptera วงศ์ Culicidac ยุงบางชนิดเป็นพาหะ นาโรคมาสู่คนและสัตว์ เช่น ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) ยุงลายสวน (Aedes. Albopictus) นาโรค ไข้เลือดออก(Dengue haemorrhagic fever) ยุง Culex tritaeniorhynchus นาโรคไข้สมอง อักเสบ (Japanese encephalitis) ยุงก้นปล่องนาโรคมาลาเรีย (Malaria) และยุงเสือนาโรคฟิลา เรีย (Filariasis) หรือโรคเท้าช้าง โรคที่กล่าวมาน้ีเกิดในคน ส่วนในสัตว์น้ันยุงก็มีความสาคัญมากเช่นกัน เน่ืองจากเป็นตัวนาโรคต่างๆ หลายชนิดในสัตว์ เช่น ยุงราคาญ (Culex quinquefasciatus) นาโรคพยาธิ หัวใจสุนัขและโรคมาลาเรียในนก ยุงบางชนิดชอบกัดวัวทาให้น้าหนักลดผลิตนมได้น้อยลง ยุงนอกจากเป็น อนั ตรายต่อคนและสัตวเ์ ลอื ดอุ่นแลว้ ยังเปน็ อนั ตรายตอ่ สตั วเ์ ลอื ดเยน็ อีกด้วย 2.1.2 วงจรชวี ติ ยุงมีการเจริญแบบสมบูรณ์(Complete metamorphosis หรือ holometabola) หมายถึง การเจริญเติบโตทีมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในแต่ละระยะแตกต่างกันมาก แบ่งเป็น 4 ระยะ คือระยะไข่(egg) ระยะลูกนา้ (larva) ระยะตวั โมง่ (pupa) และระยะตวั เต็มวัย(adult) ระหว่างการเจริญเติบโตในแต่ละระยะต้อง
~4~ มีการลอกคราบ(molting) ซึ่งถูกควบคุมโดยฮอร์โมนท่ีสาคัญ 3 ชนิด คือ brain hormone, ecdysone และ juvenile hormone ระยะไข่ ไข่ยุงแต่ละชนิดมีขนาดและลักษณะไม่เหมือนกัน จากลักษณะการวางไข่อาจบอก ชนิดของกลุ่มยุงได้ ยุงชอบวางไข่บนผิวน้าหรือบริเวณช้ืน เช่น บริเวณขอบภาชนะเหนือระดับน้า การวางไข่ ของยงุ แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท - วางไข่ใบเด่ียว ๆ บนผิวน้า เช่น ยงุ กน้ ปล่อง - วางไขเ่ ปน็ แพ (raft) บนผิวน้า เช่น ยงุ ราคาญ - วางไข่เด่ียว ๆ ตามขอบเหนอื ระดบั นา้ เช่น ยงุ ลาย - วางไขต่ ิดกบั ใบพชื นา้ เปน็ กลุ่ม เช่น ยุงเสอื หรอื ยุงฟิลาเรยี ระยะไข่ใช้เวลา 2-3 วัน จึงฟักตัวออกเป็นลูกน้า ในยุงบางชนิดไข่สามารถอยู่ใน สภาพแหง้ ไดห้ ลายเดอื นจนกระทั่งเป็นปี เม่ือมนี า้ ก็จะฟักออกเปน็ ลกู นา้ แหล่งวางไข่ของยุงแต่ละชนิดแตกต่าง กัน เชน่ ยุงลายชอบวางไข่ในภาชนะขังน้าท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ส่วนยุงราคาญชอบวางไข่ในแหล่งน้าสกปรกต่างๆ น้าเสียจากทอ่ ระบายนา้ แตห่ ากไม่พบสภาพนา้ ทีช่ อบยงุ ก็อาจวางไข่ในสภาพน้าท่ีผิดไป นักวิทยาศาสตร์หลาย คนรายงานว่าปัจจัยที่ช่วยให้ยุงตัวเมียรู้ว่าควรจะวางไข่ท่ีใดก็คือ สารเคมีบางอย่างในน้า สารเคมีอาจเป็น diglycerides ซ่ึงผลิตโดยลูกน้ายุงที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้าน้ัน หรือเป็นกรดไขมัน(fatty acid) จากแบคทีเรีย หรอื เปน็ สารพวก phenolic compounds จากพชื น้า ระยะลกู น้า ลูกน้ายุงแต่ละชนิดอาศัยอยู่ในน้าต่างชนิดกัน เช่น ภาชนะขังน้าต่างๆ ตามบ่อน้า หนอง ลาธาร โพรงไม้หรือกาบใบไม้ที่อุ้มน้า เป็นต้น ลูกน้ายุงส่วนใหญ่ลอยตัวขึ้นมาหายใจบนผิวน้า โดยมีท่อ สาหรบั หายใจ เรียกวา่ siphon ยกเว้นยุงกน้ ปล่องไม่มีท่อหายใจ แต่จะวางตวั ขนานกับผวิ น้า โดยมีขนลักษณะ คล้ายใบพดั (palmate hair) ชว่ ยใหล้ อยตัวและหายใจทางรหู ายใจ(spiracle) ซ่ึงอยู่ด้านข้างอกและลาตัว ส่วน ยงุ เสอื จะใชท้ ่อหายใจซง่ึ สั้นและปลายแหลมเจาะพชื น้าและหายใจเอาออกซิเจนผ่านรากของพืชน้า อาหารของ ลูกน้ายุง ได้แก่ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในน้า เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่าย ลูกน้าจะลอกคราบ 4 ครั้ง เม่ือลอกคราบ ครั้งสุดท้ายกลายเป็นตัวโม่ง การเจริญเติบโตในระยะลูกน้าใช้เวลาประมาณ 7-10 ขึ้นอยู่กับชนิดของลูกน้า อาหาร อุณหภมู ิ และความหนาแน่นของลกู น้าด้วย ระยะตวั โมง่ ตัวโม่งรูปร่างผิดไปจากลูกน้า ส่วนหัวเชื่อมต่อกับส่วนอก รูปร่างลักษณะคล้าย เคร่ืองหมายจุลภาค(,) ระยะน้ีไม่กินอาหาร เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว มีท่อหายใจคู่หนึ่งที่ส่วนหัวเรียก trumpets ระยะนีใ้ ช้เวลาในการเจรญิ เตบิ โตเพยี ง 1-3 วนั ระยะตวั เต็มวัย ตัวยงุ แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ส่วนหัว (head) มีลักษณะกลมเชื่อมติดกับส่วนอก ประกอบด้วยตา 1 คู่ ตาของยุง เป็นแบบตาประกอบ (compound eyes) มีหนวด (antenna) 1 คู่ มีรยางค์ปาก (labial palpi) 1 คู่และมี อวัยวะเจาะดูด (proboscis) 1 อัน มีลักษณะเป็นแท่งเรียวยาวคล้ายเข็มสาหรับแทงดูดอาหาร หนวดของยุง แบ่งเป็น 15 ปล้อง สามารถใช้จาแนกเพศของยุงได้ แต่ละปล้องจะมีขนรอบๆ ในยุงตัวเมีย ขนนี้จะส้ันและไม่ หนาแน่น (sparse) เรียกว่า pilose antenna ส่วนตัวผู้ ขนจะยาวและเป็นพุ่ม (bushy) เรียกว่า plumose antenna หนวดยุงเป็นอวัยวะท่ีใช้ในการรับคลื่นเสียง ตัวผู้จะใช้รับเสียงการกระพือปีกของตัวเมีย ความชื้น ของอากาศและรบั กล่นิ
~5~ Labial palpi แบ่งเป็น 5 ปล้อง อยู่ติดกับ proboscis ในยุงก้นปล่องตัวเมีย palpi จะตรงและยาวเท่ากับ proboscis ส่วนยุงตัวผู้ตรงปลาย palpi จะโปุงออกคล้ายกระบอง ในยุงตัวอื่นท่ีไม่ใช่ ยุงก้นปล่อง palpi ของตัวเมียจะส้ันประมาณ ¼ ของ proboscis ส่วนตัวผู้ palpi จะยาวแต่ตรงปลายไม่โปุง และมีขนมากท่ีสองปล้องสุดทา้ ยซงึ่ จะงอขึ้น ส่วนอก (thorax) มีปีก 1 คู่ ด้านบนของอก ปล้องกลาง (mesonotum) ปกคลุม ดว้ ยขนหยาบๆ และเกลด็ ซ่ึงมีสแี ละลวดลายต่างๆ กัน เราใช้ลวดลายนี้สาหรับแยกชนิดของยุงได้ ด้านข้างขอ งอกมีเกล็ดและกลุ่มขนซ่ึงใช้แยกชนิดของยุงได้เช่นกัน ด้านล่างของอกมีขา โดยขาแต่ละข้างจะประกอบด้วย coxa ซง่ึ มขี นาดส้ันอยู่ท่โี คนสุด ต่อไปเป็น trochanter คล้ายๆ บานพับ femur, tibia และ tarsus ซึ่งมีอยู่ 5 ปล้อง ปล้องสุดท้ายมีหนามงอๆ 1 คู่ เรียกว่า claws ขาก็มีเกล็ดสีต่างๆ ใช้แยกชนิดของยุงได้ ปีกมีลักษณะ แคบและยาว มีลายเส้นปีก (Veins) ซ่ึงมีชื่อเฉพาะของแต่ละเส้นปีกและจะมีเกล็ดสีต่างๆ กัน ตรงขอบปีก ด้านหลังจะมีขนเรียงเป็นแถวเรียก เกล็ด (fringe) และขนบนปีกน้ีก็ใช้ในการแยกชนิดของยุงได้เช่นกัน นอกจากนี้ยงั มี halteres 1 คู่ อยู่ที่อกปล้องสุดท้ายมีลักษณะเป็นปุมเล็กๆ อยู่ต่อจากปีก เมื่อยุงบิน halteres จะส่ันอยา่ งเรว็ ใช้ประโยชน์ในการทรงตัวของยุง ส่วนท้อง (abdomen) มีลักษณะกลม ยาว ประกอบด้วย 10 ปล้อง แต่จะเห็นชัดเพียง 8 ปล้อง ปล้องท่ี 9 -10 จะดัดแปลงเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ในยุงตัวผู้จะใช้ส่วนนี้แยก ชนิดของยุงได้ 2.1.3 ชวี ิตประจาวนั (Daily life) อาหาร ยุงตัวเต็มวัยท้ัง 2 เพศ กินน้าหวานจากเกสรดอกไม้ก็สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แต่ ส่วนใหญ่ยุงตัวเมียยังต้องการโปรตีนจากเลือดมนุษย์หรือสัตว์ เพ่ือช่วยในการเจริญเติบโตของไข่และใช้สร้าง พลังงาน ยุงตัวเมียเท่านั้นที่กัดคนและสัตว์ ยุงแต่ละชนิดชอบกินเลือดต่างกัน พวกท่ีชอบกินเลือดเรียกว่า zoophilic ส่วนพวกที่ชอบกินเลือดคนเรียกว่า anthropophilic เลือดจะเข้าไปช่วยในการเจริญเติบโตของไข่ การเจริญเติบโตของไข่แบบที่ต้องการโปรตีนจากเลือดเรียกว่า anautogeny มียุงไม่กี่ชนิดท่ีไข่สุกได้โดยใช้ อาหารท่ีสะสมไว้โดยไม่ต้องกินเลือด เรียก autogeny เช่นยุง Aedes togoi,Culex molestus เวลาท่ียุงหา กินก็ไม่เหมือนกัน เช่น ยุงลายชอบหากินในเวลากลางวัน ส่วนยุงราคาญชอบหากินในเวลากลางคืน ยุงแม่ไก่ ชอบหากินตอนพลบค่าและย่ารงุ่ เป็นตน้ การบนิ มีลักษณะเฉพาะสาหรับยุงแต่ละชนิด เช่น ยุงบ้านจะบินไปไม่ไกล บินได้ประมาณ 30 - 300 เมตร ยงุ ลายสวนบนิ ไดป้ ระมาณ 400 - 600 เมตร ยุงก้นปล่องบินได้ประมาณ 0.5 – 2.5 กิโลเมตร ส่วนยุงราคาญบินได้ต้ังแต่ 200 เมตรถึงหลายกิโลเมตร ยุงพาหะนาโรคไข้สมองอักเสบบินได้ไกลถึง 50 กโิ ลเมตร ยุงตวั เมยี สามารถบินได้ไกลกว่ายุงตัวผู้ การผสมพันธุ์ ยุงตัวผู้ลอกคราบโผล่ออกจากตัวโม่งก่อนยุงตัวเมีย และอยู่ใกล้ๆ แหล่งเพาะพันธุ์ เม่ือตัวเมียออกมา 1-2 วัน จะผสมพันธุ์กัน หลังจากผสมพันธุ์แล้วยุงตัวเมียจะออกหาแหล่งเลือด แต่ยุงบาง ชนดิ ตอ้ งการเลือดก่อนการผสมพันธ์ุ เช่น Anopheles culicfacies นอกจากนี้ยุงก้นปล่องมีพฤติกรรมการบิน ว่อนเป็นกลุ่มเพื่อจับคู่ผสมพันธ์ุ เรียก swarming มักเกิดข้ึนตอนพระอาทิตย์กาลังตก โดยแสงที่อ่อนลงอย่าง รวดเร็วมีผลในการกระตุ้นกิจกรรมน้ี ส่วนยุงลายจับคู่ผสมพันธ์ุโดยไม่ต้อง swarm ตัวผู้จะตอบสนองต่อเสียง กระพอื ปีกของยุงตวั เมยี ยงุ ลายตวั ผ้สู ามารถค้นหาตัวเมียไดภ้ ายในระยะทาง 25 เซนติเมตร
~6~ อายขุ องยุง ยุงตัวผู้มักมีอายุส้ันกว่ายุงตัวเมีย โดยยุงตัวผู้มีอายุประมาณ 1 สัปดาห์ ยกเว้นใน กรณีท่ีเล้ียงดูด้วยอาหารสมบูรณ์และมีความช้ืนเหมาะสมจะมีอายุอยู่ได้เป็เดือน ส่วนยุงตัวเมียมีอายุ 1 - 5 เดือน อายุของยุงข้ึนกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ในฤดูร้อน ยุงมีกิจกรรมมากทาให้อายุส้ันเฉลี่ยประมาณ 2 สปั ดาห์ ในฤดหู นาวยงุ มีกจิ กรรมนอ้ ยจงึ มอี ายยุ ืน ในบางพืน้ ท่ยี ุงสามารถจาศลี ตลอดฤดูหนาว 2.1.4 ชนดิ ยงุ ท่สี าคัญ ชนดิ ของยุงท่สี าคญั ในทางการแพทย์ มี 4 ตระกูล ดังนี้ ตระกลู ยงุ ลาย (Genus Aedes) - ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นตัวการสาคัญในการนาโรค ไข้เลือดออกในประเทศไทย (ในประเทศอเมริกาใต้นาโรคไข้เหลือง (Yellow fever) มีถิ่นกาเนิดจากอัฟริกา ชอบอาศยั อย่บู ้านหรือบริเวณรอบๆ บา้ น แหล่งเพาะพนั ธ์ุยุงลาย ได้แก่ ภาชนะขังน้าท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เช่น ตุ่ม น้า ถังซีเมนต์ใส่บ่อ บ่อคอนกรีตในห้องน้า จานรองขาตู้กันมด ยางรถยนต์เก่า กระป๋อง รางน้าฝนที่มีน้าขัง กะลามะพร้าว เป็นต้น ยุงลายบา้ นมีวงจรชีวิตเป็นแบบสมบูรณ์ (Complete metamorphosis) เช่นเดียวกับ ยุงชนิดอืน่ การเจริญเตบิ โตแบ่งเป็น 4 ระยะ - ยุงลายสวน (Aedes albopictus) ยุงลายชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดในเอเชีย ลักษณะคล้ายคลึงกับยุงลายบ้านมาก แต่สังเกตได้จากเกล็ดสีขาวบนด้านหลังของอกไม่เป็นรูปเคียว แต่เป็น เส้นตรงเส้นเดียวพาดตามยาวตรงกลาง อุปนิสัยความเป็นอยู่คล้ายยุงลายแต่มักจะพบอยู่ในชนบท ในสวน ผลไม้ สวนยาง อุทยานต่างๆ แหล่งน้าที่ใช้เพาะพันธ์ุมักจะเป็นแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น โพรงไม้ กระบอกไม้ไผ่ ลูกมะพรา้ ว กะลา กระป๋อง ขวดพลาสติกทน่ี กั ท่องเท่ียวทิ้งไว้ เป็นต้น ยุงลายสวนจะบินได้ไกลกว่ายุงลายบ้าน ยงุ ชนิดนี้เป็นตัวการนาเชื้อไวรัสโรคไข้เลือดออกได้เชน่ เดียวกนั ตระกลู ยุงควิ เล็กซห์ รือยงุ ราคาญ (Genus Culex) มี 4 ชนิด คอื - ยุงราคาญ (Culex quinquefasciatus) พบมากในแอฟริกาและเอเชีย วางไข่เปน็ แพในน้าเน่าเสีย แหล่งเพาะพันธ์ุมักอยู่ใกล้บ้าน ไข่แพหน่ึงมีประมาณ 200- 250 ฟอง ไข่ฟักภายใน 30 ช่ัวโมง ที่อุณหภูมิ 24 - 30 องศาเซลเซียส ออกหากินกลางคืน ชอบกินเลือดคน ในประเทศพม่า อินเดีย อินโดนีเซีย ยุงชนิดนี้เป็นตัวการสาคัญในการนาโรคฟิลาเรีย สาหรับประเทศไทยพบว่ายุงชนิดน้ีสามารถนา เช้ือฟิลาเรยี ได้เช่นกันแตย่ ังมีข้อมลู นอ้ ย นอกจากนีอ้ าจทาใหม้ ีอาการคันแพ้และเกิดแผลพุพองได้ - Culex tritaeniorhynchus ชนิดน้ีเป็นตัวนาเช้ือไวรัส Japanese encephalitis ซึ่งทาให้เกิดโรคไข้สมองอักเสบท่ัวไปในระเทศไทย แต่พบมากในจังหวัดภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชยี งราย อุตรดิตถ์ น่าน แหล่งเพาะพันธ์ุอยู่ตามท้องนา แหล่งน้าที่เกิดจากรอยเท้าสัตว์ บ่อน้าเล็กๆ ที่มีพืชน้า ลาธาร ชอบกินเลือดวัว ควาย หมูมากกว่าเลือดคนและนก ออกหากินตั้งแต่พลบค่าจนตลอดคืน สว่ นมากหากนิ นอกบ้าน - Culex gelidus เป็นตัวนาเช้ือไวรัสที่ทาให้เกิดโรคไข้สมองอักเสบ เช่นเดยี วกบั Cx.tritaeniorhynchus แหลง่ เพาะพนั ธไุ์ ด้แก่ สระน้า บอ่ หนองน้า น้าล้างคอกสัตว์ ลาธารเล็กๆ ชอบอาศัยอย่ใู นแหล่งน้าท่ีมพี ืชน้า หากินกลางคืน ชอบกนิ เน้อื สัตว์ - Culex fuscocephala เปน็ ตัวนาเชอื้ ไวรสั ที่ทาใหเ้ กิดโรคไขส้ มองอักเสบ พบตามหนองน้า บึงนาข้าว หากนิ กลางคืน ชอบกินเน้ือสตั ว์ เชน่ วัว ความ สุกร นก และคน ตระกูลยุงก้นปล่อง (Genus Anopheles) ยุงตระกูลน้ีเป็นตัวการนาโรค มาลาเรีย ซึ่งเกดิ จากเชื้อโปรโตชัว Plasmodium ยงุ กน้ ปล่องทีเป็นพาหะสาคัญในประเทศไทยมี 4 ชนดิ คอื
~7~ - Anopheles minimus เพาะพันธ์ุตามลาธารท่ีมีน้าใสสะอาดไหล ไหลช้า ๆ มหี ญ้า ข้นึ ตามขอบและมีร่มเงาเล็กนอ้ ย พบในท้องที่แถบเขาหรือใกล้เขา เกาะพักในบ้านท่ีค่อนข้างมืดตอน กลางวนั แตใ่ นบางทอ้ งทไี่ มเ่ กาะพักในบา้ น ชอบกนิ เลอื ดคนมากว่าสัตว์ - Anopheles dirus (A. balabacensis) เพาะพันธุ์ตามแหล่งน้านิ่ง มีร่ม เงา เช่น ตามปลักโคลน รอยเท้าสัตว์และแหล่งน้าช่ัวคราวอ่ืนๆ ที่มีน้าใส มีใบไม้แห้ง ถังซีเมนต์รดน้าต้นไม้ใน สวน ชอบอยูต่ ามเขาและปุาเชงิ เขา กัดคนตอนกลางคนื ตัง้ แต่เวลา 22:00 น. และมากที่สุดหลังเท่ียงคืน มีนิสัย ชอบเกาะพกั นอกบา้ น ชอบกินเลอื ดคน - Anopheles sundaicus เพาะพันธุต์ ามแหลง่ นา้ กร่อยที่มีแสงแดดส่องถึง พบทางชายทะเล หากนิ นอกบา้ น ไมม่ รี ายงานเกาะพกั นอกบ้าน - Anopheles maculates เพาะพันธ์ุตามท้องท่ีปุาเขา ปุาบุกเบิกทั่วไป แหล่งเพาะพันธ์ุได้แก่ ลาธารเล็กๆ ที่มีแสงแดดส่องถึง คล้ายแหล่งเพาะพันธ์ุของ A.minimus ตัวเต็มวัยชอบ เกาะพกั ตามพุ่มไม้เต้ียๆ กนิ เลือดทงั้ คนสัตว์ หากินนอกบ้าน มากกว่านอกบ้าน วงจรชีวิตของยุงก้นปล่อง มีอยู่ 4 ระยะเช่นกนั ตระกูลยุงเสือหรือยงุ ฟลิ าเรีย (Genus Mansonia) ยุงในตระกูลน้ีสาคัญและเป็นตัวการนาโรคฟิลาเรีย (filariasis) ซ่ึงเกิดมาจากเชื้อ Brugia Malayi ทางภาคใต้ ของประเทศไทย ชนดิ ทพ่ี บแพรห่ ลายได้แก่ - Mansonia uniformis - Mansonia dives - Mansonia bonneae - Mansonia annulifera วงจรชีวิตของยุง Mansonia เป็นแบบสมบูรณ์ (Complete metamorphosis) เช่นเดียวกับยุงชนิดอื่นๆ ระยะเวลาการเจริญเติบโตค่อนข้างยาว จากไข่จนกระท่ังเป็นตัวเต็มวัยใช้เวลา ประมาณ 23 - 30 วนั มี 4 ระยะ ความรเู้ ก่ยี วกับเรือ่ งของยุง. (2565). [ระบบออนไลน์]. สืบคน้ กมุ ภาพันธ์, 13 2565 จาก https://www.cheminpestcontrol.com/products/product-38 2.2 โรคทีม่ ยี ุงเป็นพาหะ 2.2.1 ไข้เดงก่ี และไข้เลือดออกเดงกี่ (Dengue fever และ Dengue Hemorrhagic fever) ไข้เดงกี่ และ ไข้เลือดออกเดงก่ี เกิดจากการติดเช้ือไวรัสเดงกี สายพันธ์ุ 2501 (Dengue virus 2501) โดยมียุงลาย เป็นพาหะนาโรค ยุงลายมีลักษณะสีขาวสลับดา มีแหล่งเพาะพันธ์ุคือ แหล่งน้าขังท่ี ใสและนิ่ง พบชุกชุมมากในฤดูฝน ใช้เวลาฟักตัวจนกระท่ังเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 9-12 วัน ยุงลายเป็นยุงท่ี ออกดดู เลือดตอนกลางวัน นา้ ลายของยุงลายจะมเี ชอื้ ไวรสั เดงก่ปี นเปอื้ นอยู่ เชื้อไวรสั สามารถเข้าสู่กระแสเลือด ของคนท่ีถกู ยงุ ลายกดั ได้ พบผูต้ ดิ เชื้อได้ทุกช่วงอายุ โดยผู้ใหญ่มักจะมีอาการไม่รุนแรงและเกิดภาวะแทรกซ้อน พบน้อยกว่าเด็ก แต่เม่ือใดถ้าอาการเกิดรุนแรงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนแล้วมักจะพยากรณ์โรคเลว ร้ายกว่า ผู้ปุวยเด็ก โดยเชื้อไวรัสจะทาให้มีอาการไข้สูง ถ้ามีไข้เพียงอย่างเดียวจะเรียกว่าไข้เดงก่ี แต่ถ้าตรวจเลือดพบ ภาวะเกล็ดเลือดต่า มีความเส่ียงท่ีจะเกิดภาวะเลือดออกง่ายและมีการรั่วของพลาสมา จะเรียกว่าไข้เลือดออก เดงกี่ ทง้ั น้ีความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกเดงก่อี าจมีนอ้ ยมากคือมีไข้เพียงอย่าง เดียว หรืออาจรุนแรงมากจน
~8~ เกดิ ภาวะชอ็ กและเสียชีวิตได้ ปัจจบุ นั ยังไมม่ ยี าหรอื วคั ซีนปอู งกนั ไวรสั น้ี การรักษาจงึ เน้นที่อาการและเฝูาระวัง ไมใ่ หเ้ กดิ ภาวะแทรกซอ้ นจากโรคนี้ 2.2.2 ไข้สมองอกั เสบ เจ อี (Japanese Encephalitis) โรคไข้สมองอักเสบ เจ อี เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Japanese encephalitis virus (JEV) ท่ี ได้ช่ือน้ีเนื่องจากพบรายงานผู้ปุวยครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุนเมื่อ พ.ศ. 2476 และพบผู้ปุวยโรคนี้ในประเทศไทย ครั้งแรกท่ีจังหวัดเชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยมียุงราคาญ เป็นพาหะนาโรค ยุงราคาญมีสีน้าตาลหรือดา เพาะพนั ธใ์ุ น แหลง่ น้าขังน่ิงจะเปน็ น้าสะอาดหรือสกปรกก็ได้ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการทานาร่วมกับการทาปศุ สัตว์ ยุงชนิดนี้พบชุกชมท่ีภาคเหนือถึงร้อยละ 80 ระยะฟักตัวจนกระท่ังเป็นตัวเต็มวัยนาน 9-13 วัน ยุง ราคาญมักจะออกหากินในเวลากลางคืน ผู้ติดเชื้อไวรัสไข้สมองอักเสบ เจ อี เป็นได้ทุกช่วงอายุแต่พบมากใน เด็กแรกเกิดถึง14 ปี โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน เชื้อไวรัสจะทาให้สมองเกิดการอักเสบ มีโอกาสสมองพิการ และเสียชีวิตได้มาก ความสาคัญจึงอยู่ท่ีการปูองกันไม่ให้เป็นโรคนี้ ซึ่งนอกจากจะต้องระวังไม่ให้ยุงกัดแล้ว ปัจจุบันมีการฉีดวัคซีนปูองกันโรคตั้งแต่เด็กอายุ 1 ปี สาหรับผู้ที่ติดเชื้อน้ีแล้ว ไม่มียารักษาเฉพาะ การรักษา สว่ นใหญ่เปน็ การให้ยาตามอาการและการระวังไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน เม่ือปุวยเป็นโรคน้ีแล้วพบว่าอัตราการ เสียชีวติ สูงถึงร้อยละ 50 2.2.3 โรคมาลาเรยี (Malaria) โรคมาลาเรีย หรือ ไข้จับส่ัน หรือ ไข้ปุา เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัวพลาสโมเดียม (Plasmodium spp.) ที่ก่อโรคในมนุษย์มีอยู่ 5 ชนิด ได้แก่ P. falciparum, P. vivax, P. malariae, P. ovale และ P. knowlesi โรคน้ีมีประวัติการระบาดมายาวนานกว่า 1,500 ปี จนเมื่อปีพ.ศ. 2423 แพทย์ ทหารชาวฝรั่งเศสชื่อ Charles-Louis-Alphonse Laveran ได้ตรวจพบเช้ือพลาสโมเดียมในเม็ดเลือดแดงของ ผู้ปุวยโรคมาลาเรีย ยุงท่ีเป็นพาหะนาโรคน้ีคือ ยุงก้นปล่อง ในสกุล Anopheles ซึ่งเป็นยุงท่ีมีขนาดใหญ่ สี น้าตาลหรือดา จุดสังเกตคือเวลาเกาะแล้วดูดเลือดจะยกก้นข้ึนทามุมกับผิวหนังประมาณ 45 องศา พบชุกชุม มากในฤดูฝน ช่วงฟักตัวจนถึงตัวเต็มวัย ใช้เวลาระยะเวลานาน 9-12 วันโดยยุงก้นปล่องสายพันธ์ุ dirus จะ พบในปาุ ทึบโดยใช้ แอง่ นา้ ขงั นิ่ง นา้ สะอาด เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และมักจะออกมาดูดเลือดคนในเวลากลางคืน ส่วนยงุ ก้นปลอ่ งสายพนั ธ์ุ minimus พบบริเวณชายปุา มแี หลง่ เพาะพันธุ์คือลาธารท่ีมีน้าสะอาดไหลเอ่ือยๆ ยุง สายพันธหุ์ ลังน้จี ะออกมากัดคนในช่วงเวลาหัวค่าจนถึงดึก เด็กทไ่ี ด้รับเช้ือจะอาการหนักกวา่ ผใู้ หญ่ ปัจจุบันมียา ฆ่าเชื้อพลาสโมเดียมเฉพาะ แต่พบว่าเชื้อดื้อยาค่อนข้างมาก ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่ดีสาหรับปูองกันโรค มาเลเรีย Natcha.kk. (2565). โรคติดต่อที่เกิดจากยุง [ระบบออนไลน์]. สืบค้น กุมภาพันธ์, 13 2565 จาก https://bangkokhospitalphitsanulok.com/infectious-diseases-caused-by-mosquitoes-2/
~9~ 2.3 สมนุ ไพรไทยไล่ยุง 2.3.1 ตะไครห้ อม ตะไคร้หอม สมุนไพรท่ีมีกลิ่นเฉพาะตัว เหง้าอยู่ใต้ดิน ลาต้นแตกเป็นกอ ใบยาว สาก หนา และคม มี น้ามันหอมระเหยชนิด Citronella, Citronellol และ Geraniol เป็นส่วนประกอบ ช่วยไล่ยุงลายได้ เพียงแค่ นามาปลูกโดยใช้แกลบ หิน หรือใบไม้แห้ง รองก้นกระถาง แล้วตามด้วยดินผสมปุ๋ยคอก เท่าน้ีก็จะทาให้กลิ่น ของนา้ มันหอมระเหยชว่ ยไล่ยงุ ออกจากบ้าน หรือไม่เช่นน้ันนาตะไคร้หอมประมาณ 4-5 ต้น มาทุบ แล้ววางไว้ ในห้องมืด ๆ อับ ๆ กล่ินของน้ามันหอมระเหยก็จะช่วยกาจัดยุงออกไปเอง นอกเหนือจากนี้เรายังสามารถนา ตะไคร้หอมไปสกดั ทาเป็นครมี ทาตัวหรือสเปรย์ฉดี ยงุ ได้อีกดว้ ย 2.3.2 มะกรดู ไลย่ ุงไม่ใหว้ างไข่ มะกรูด พืชยืนตน้ มีหนาม มีนา้ มันหอมระเหยทีส่ ามารถจัดการไดท้ ้งั ยงุ ลาย ยงุ เสอื ยุงก้นปล่อง และยุง ราคาญ โดยจะใช้วิธีปลูกด้วยการเพาะเมล็ดลงดินท่ีมีปุ๋ยคอก แล้วรอจนต้นโตเพ่ือให้น้ามันหอมระเหยส่งกลิ่น ไล่ยุงก็ได้ จะนาใบหรือผิวมะกรูดมาบีบให้กล่ินน้ามันหอมระเหยฟูุงเพื่อกาจัดยุงก็ดี นอกจากนี้ยังนาไปสกัด ร่วมกับตะไคร้หอมเป็นสเปรย์ฉีดยุงก็เด่น ที่สาคัญถ้าหากนาลูกมะกรูดใส่ไว้ในตุ่มหรือแขวนไว้ใกล้ปากตุ่ม ยัง ช่วยปอู งกันลูกนา้ ยงุ ลาย และช่วยไม่ใหย้ ุงมาวางไข่ได้อกี ต่างหาก
~ 10 ~ 2.3.3 โหระพา โหระพา สมุนไพรกลนิ่ หอมค่คู รัวไทย สามารถปลกู เพอ่ื ไลย่ ุงออกจากบ้านได้ โดยวิธีที่นิยมมากที่สุดคือ การปักชา เพราะเพียงแค่เตรียมดินให้ลึก 20-25 เซนติเมตร แล้วนาก้านโหระพาปักลงไป ใช้ฟางคลุมและรด น้าเล็กน้อย ก็จะได้ต้นโหระพาที่มีกล่ินฉุนและน้ามันหอมระเหยมาช่วยไล่ยุงได้ไม่ยากแล้ว หรือถ้าหากใครไม่ อยากปลูก จะนาใบโหระพามาขย้ีจนมีกล่ินฟูุง แล้วนาไปวางในบริเวณที่มียุงชุมหรือหน้าพัดลมก็ได้ รับรองยุง รีบบนิ หนีหายแน่ ย่งิ ไปกว่าน้ันถ้าหากนาใบโหระพามาต้มน้าเปล่า 110 มิลลิลิตร ประมาณ 2-3 ชั่วโมง พร้อม เตมิ วอดกา้ 110 มิลลลิ ิตร ลงไป ก็จะชว่ ยให้เรามีสเปรย์ไว้ฉีดตามตัว ช่วยไล่ยุงเวลาออกไปข้างนอกแลว้ 2.3.4 สะระแหน่ สะระแหน่ อกี หน่งึ สมุนไพรไล่ยุงยอดฮิต มีน้ามันหอมระเหย เช่น P-Cymene, B-Pinene, Ocimene และ Limonene เป็นส่วนประกอบ จึงปลูกกันยุงได้ โดยส่วนใหญ่นิยมปักชาด้วยการตัดยอดให้เหลือใบอ่อน ประมาณ 5-6 ใบ แล้วนามาปักลงดินท่ีผสมปุ๋ยคอกและกาบมะพร้าวสับ ไม่เช่นน้ันก็สามารถนาใบสะระแหน่ มาบดขย้ีให้กลิ่นของน้ามันหอมระเหยกระจายออกมา แล้วทาลงบนผิวได้โดยตรงสาหรับผู้ที่ไม่แพ้ หรือจะ นาไปวางไว้ในบรเิ วณทย่ี ุงชุม หนา้ พัดลม หรอื ปดั ใหท้ วั่ บ้านเลยก็ยังได้
~ 11 ~ 2.3.5 มะนาว มะนาว พืชตระกูลส้ม สีเหลืองสวย รสเปรี้ยวจี๊ด มีน้ามันหอมระเหยที่สามารถไล่ยุงก้นปล่องได้เป็น สว่ นประกอบ บอกเลยแค่นาเปลือกมะนาวมาบีบจนกลิ่นและน้ามันหอมระเหยกระจายออกมา เท่าน้ีก็จะช่วย ไล่ยุงในบา้ นของเราไดแ้ ล้ว 2.3.6 สม้ ส้ม ผลไม้รสเปรี้ยวหวานสุดโปรดของใครหลายคน ก็เป็นสมุนไพรไล่ยุงอีกหน่ึงชนิด เพราะในผิวส้มมี น้ามันหอมระเหยที่ช่วยไล่ยุงได้เพียบ ไม่ว่าจะเป็น P-Cymene, B-Pinene, Ocimene, Citral และ Limonene ดังนั้น กินเสร็จแล้วอย่าเผลอทิ้งเปลือกไปเฉย ๆ นามาบีบ ๆ ขย้ี ๆ ให้น้ามันหอมระเหยกระจาย ออกมาก่อน จะได้ช่วยไลย่ งุ ให้หมดไปจากบา้ นดว้ ยน่นั เอง 2.3.7 ยคู าลิปตสั
~ 12 ~ ยคู าลิปตสั ไมย้ นื ตน้ ทรงพุ่มหนา ใบยาวรูปหอก สีเขียวหม่น เส้นกลางใบชัด มีน้ามันหอมระเหยชนิด พิเศษทมี่ สี รรพคุณช่วยไล่ยุงและแมลง เพียงแค่นาใบสดประมาณ 1 กามือ มาขยี้ให้กลิ่นของน้ามันหอมระเหย กระจายออกมา แล้วนาไปวางไว้ตามมุมห้อง กจ็ ะช่วยกาจดั หรอื ฆ่ายงุ หรอื แมลงได้ง่าย ๆ แลว้ 7 สมุนไพรไล่ยุง วธิ ีกาจดั ยุงในบา้ นด้วยธรรมชาติ ไร้สารเคมี. (2565). [ระบบออนไลน์]. สืบคน้ กุมภาพนั ธ์, 13 2565 จาก https://home.kapook.com/view214926.html 2.4 เทียนหอม เทยี นหอม คือ เนอ้ื เทยี นท่นี ามาเพิ่มน้ามันหอมระเหย และแต่งแต้มสีสันให้สวยงาม เมื่อจุดแล้วจะให้ กลิ่นหอมของอโรม่า ปัจจุบันนอกจากนิยมใช้ในวงการสปาแล้ว ยังนามาใช้จุดในบ้านเพ่ือเพ่ิมความหอม และ สรา้ งบรรยากาศผ่อนคลายให้แก่ผู้อาศัยอกี ดว้ ย 2.4.1 ประวตั ิเทยี นหอม เครื่องหอมที่ใหม้ ากกว่าแสงสวา่ ง เทียนหอมท่ีเราคุ้นเคยกันดีในปัจจุบันนี้ มีประวัติความเป็นมาที่พัฒนามาจาก \"เทียน\" อุปกรณ์ให้แสงสว่าง ซ่ึงแต่เดิมมักมีความเชื่อมโยงกับความเชื่อทางศาสนา และพิธีกรรมต่าง ๆ โดยเมื่อราว 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวอียิปต์และชาวโรมันรู้จักนาไขมันสัตว์มาประดิษฐ์เป็นเทียน โดยใช้ต้นกกเป็นไส้ เทยี น และพฒั นามาเปน็ เทียนข้ผี ้ึง ซึ่งสามารถให้แสงสว่างได้ยาวนานกว่าการใช้ไม้เสียดสีกันเพื่อให้เกิดการเผา ไหม้ ตอ่ มามีเม่ือมีกระดาษใช้ มนุษย์ใช้กระดาษม้วนเป็นรูปทรงยาวสาหรับข้ึนรูปเทียน จุดให้เกิด แสงสว่าง หลังจากนั้นแตล่ ะวัฒนธรรมก็ประยกุ ต์การผลิตเทียนด้วยการใช้ถ่ัว อบเชย หรือไม้ที่มีกลิ่นหอมแทน การใช้ไขมันสัตว์ โดยมาผสมใส่ไว้ในเทียน เม่ือจุดแล้วจะส่งกล่ินหอม ซ่ึงได้กลายเป็น \"เทียนหอม\" ในเวลา ต่อมานนั่ เอง ปจั จบุ ันเทยี นหอมมหี ลายชนดิ มกี ารใชแ้ มพ่ ิมพเ์ พอ่ื ขึน้ รปู ทรงตา่ งๆ ที่มลี วดลายสวยงาม เติม สี เติมน้าหอมกล่ินที่หลากหลาย จนได้รับความนิยมในการฐานะผลิตภัณฑ์เคร่ืองหอมชนิดหนึ่ง นามาจุด ร่วมกับอโรมา่ เพอ่ื ให้กลิ่นหอมที่ผ่อนคลายในสปา ก่อนจะนามาใช้อย่างแพร่หลายในบ้านเรือน ซึ่งมีขนาดและ ราคาแตกต่างกนั ออกไป ตั้งแต่แบรนด์ดงั ราคาแพง ไปจนถงึ เทยี นหอมประดิษฐ์เองที่สามารถทาใช้เองได้ง่าย ๆ ภายในบ้าน 2.4.2 วธิ ที าเทียนหอมใช้เองท่ีบ้าน มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง? เทยี นหอมทาเองไม่ไดม้ ขี ั้นตอนยงุ่ ยากอยา่ งท่ีคิด เพียงแต่ต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม เพ่ือให้ เหมาะสมกับการทาเทียนหอมแต่ละประเภท เช่น เทียมหอมอโรม่า เทียนหอมแฟนตาซี เทียนหอมสปา เทียน
~ 13 ~ หอมสมุนไพร เป็นต้น เม่ือฝึกทาไปนาน ๆ ก็จะเร่ิมชานาญในการพลิกแพลงส่วนผสม สร้างไอเดียใหม่ ๆ ให้ เทยี นหอมมคี วามสวยงาม ซงึ่ อาจนาไปสูก่ ารสรา้ งรายได้เสริมในยุคนี้ สาหรบั วิธีทาเทียนหอม ควรเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมก่อนเริ่มทา ซ่ึงวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ น้ี สามารถหาซื้อได้ ตามร้านจาหน่ายอุปกรณส์ าหรับทาเทียนหอม หรอื จะสง่ั ซือ้ ผา่ นช่องทางออนไลนก์ ไ็ ดเ้ ชน่ กนั 2.4.3 อปุ กรณส์ าหรบั ทาเทยี นหอม - ไขถว่ั เหลือง (Soy Wax) หรอื ใชเ้ นยขาวทท่ี าจากพืชแทนกไ็ ด้ - นา้ มันหอมระเหยกล่ินต่าง ๆ - สีเทียน หรอื สยี ้อมเทยี น (สาหรับเพ่มิ สีสนั ให้เทยี นหอม) - เชือกฝาู ย (ควรเลอื กแบบ 100% สาหรับทาไส้เทียน ให้เผาไหม้ได้นาน) - ภาชนะบรรจุเทยี น หรือแมพ่ มิ พล์ วดลายตา่ งๆ - แทง่ ไม้ - ตลบั เทียนหอม (ใชก้ ระปกุ ตามขนาดทีต่ ้องการแทนได้) - หมอ้ ต้ม - แหวนสกรู 2.4.4 ข้นั ตอนและวิธที าเทียนหอม 1. นาไขถั่วเหลืองมาใส่กระปุกที่ทนความร้อน หลังจากน้ันนาไปใส่ไมโครเวฟ เพื่อให้ไขถ่ัว เหลอื งละลายกลายเป็นน้าเหลว ๆ ซง่ึ กค็ อื สิง่ ท่เี ราจะใชเ้ ปน็ เนอ้ื เทยี นนั่นเอง 2. เมือ่ นาออกมาจากไมโครเวฟแล้ว คนให้เขา้ กนั และเติมสีสนั ตา่ ง ๆ ลงไปตามต้องการ ด้วย การหักสีเทียนเป็นช้ินเล็กๆ และใส่เข้าไมโครเวฟ ก่อนจะเทสีเทียนที่ละลายน้ันใส่ผสมกับเนื้อเทียน คนจน กลายเป็นสีทต่ี อ้ งการ 3. หยดน้าหอม หรอื น้ามันหอมระเหยกล่นิ ท่ีต้องการลงไปในกระปุก ในขั้นตอนนี้เป็นข้ันตอน สาคัญในการเพ่ิมกลิ่นหอม ๆ ใหเ้ ทยี น 4. นาเชือกฝูายมาตัดให้ได้ขนาดท่ีต้องการ พอเหมาะกับขนาดของเทียนหอม และผูกไว้กับ แหวนสกรู หยอ่ นลงไปใหต้ ิดกับกน้ ของกระปุก เพอ่ื ทาเปน็ ไสเ้ ทียน 5. นาปลายอีกด้านของเชือกฝูายผูกไว้กับแท่งไม้ โดยวางแท่งไม้พาดไว้เหนือกระปุกเพ่ือใช้ เปน็ ตวั ยึดไส้เทียนใหต้ ้งั ตรงกลางกระปุก 6. รอจนกระท่ังส่วนผสมเนื้อเทียนเริ่มแข็ง หลังจากนั้นนาไปแช่ช่องแข็งในตู้เย็นประมาณ 1 ชั่วโมง เพ่ือให้เทยี นขึน้ รปู ได้อยา่ งเตม็ ท่ี 7. นาออกมาจากตู้เย็น ใช้กรรไกรตัดเชือกที่ผูกไว้ แต่ให้เหลือปลายไส้เทียนเล็กน้อย เพ่ือให้ สามารถจุดเทียนได้เมอ่ื ต้องการใชง้ าน เพยี งเท่านก้ี เ็ สรจ็ เรียบรอ้ ย 2.4.5 ประโยชนข์ องเทียนหอม นอกจากจะให้แสงสว่าง ทาให้ผ่อนคลาย และช่วยดับกล่ินไม่พึงประสงค์แล้ว ยังสามารถใช้ ตกแต่งสถานท่ีต่างๆ ให้สวยงาม ในปัจจุบันเทียนหอมยังเป็นสินค้าท่ีได้รับความนิยม ทุกคนสามารถฝึกทา เทียนหอมใช้เอง และหากมีความชานาญ ก็อาจนาไปสู่การสร้างอาชีพเพ่ือเพ่ิมรายได้สาหรับขายผ่านช่องทาง ออนไลน์ตา่ ง ๆ ได้อกี ด้วย ไทยรฐั ออนไลน์. (2564). ประวตั ินา่ รขู้ อง \"เทียนหอม\" และวิธีทาใชเ้ องท่ีบา้ นแบบง่าย ๆ [ระบบออนไลน์]. สืบค้น กมุ ภาพนั ธ,์ 13 2565 จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2115306
~ 14 ~ บทที่ 3 อุปกรณแ์ ละวธิ ดี าเนินการทดลอง 3.1 วสั ดุ อุปกรณ์ 3.1.1 พาราฟิน 3.1.2 นา้ มันหอมระเหยกล่ินสมนุ ไพร ไดแ้ ก่ กลนิ่ ตะไคร้หอม และกลิน่ ยูคาลิปตสั 3.1.3 สียอ้ มเทยี น (สาหรับเพ่มิ สีสนั ใหเ้ ทยี นหอม) 3.1.4 เชือกฝาู ย 3.1.5 ภาชนะบรรจเุ ทียน 3.1.6 หมอ้ ต้ม 3.1.7 แหวนสกรู 3.2 วธิ ีดาเนนิ การทดลอง 3.2.1 ตม้ พาราฟินแว็กพร้อมสีย้อมเทยี น จนหลอมเหลวหมด ทิ้งไว้ 3-5 นาที 3.2.2 ยกลง ท้ิงไว้ 3-5 นาที หรือรอจนเทียนมีอุณหภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซยี ส 3.2.3 ใส่นา้ มันหอมระเหยกลนิ่ สมนุ ไพร ลงไปพร้อมคนจนท่วั 3.2.4 เทใสภ่ าชนะ หรอื พมิ พ์บล็อกเทียนพร้อมไส้ วางท้ิงไว้จนเยน็
~ 15 ~ บทท่ี 4 ผลการทดลอง จากผลการดาเนินงานโครงงาน เรื่อง เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง คณะผู้จัดทาได้ประดิษฐ์เทียนหอม สมนุ ไพรไลย่ ุง และใหผ้ ้ทู ส่ี นใจนาเทยี นหอมสมนุ ไพรไล่ยุงไปทดลองใช้ และศึกษาความพึงพอใจของเทียนหอม สมนุ ไพรไลย่ งุ ไดผ้ ลการทดลอง ดงั น้ี 4.1 เพือ่ ศึกษาขอ้ มลู สรรพคุณของสมนุ ไพรในการป้องกันยุง จากการศึกษาข้อมูลสรรพคุณของสมุนไพรในการปูองกันยุง พบว่า สมุนไพรในประเทศไทยที่สามารถ ปูองกันยุงจะมีกลิ่นจากน้ามันหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้หอม มะกรูด มะนาว เปลือกส้ม โหระพา สะระแหน่ และยคู าลิปตัส ซ่งึ คณะผ้จู ัดทาเลือกกลิ่นสมุนไพร 2 ชนิด คือ กล่นิ ตะไครห้ อม และกลนิ่ ยูคาลิปตสั 4.2 เพ่อื ประดิษฐ์เทียนหอมสมุนไพรท่ีสามารถนาไปใชใ้ นครวั เรือนได้จริง จากการประดิษฐเ์ ทยี นหอมสมนุ ไพรกล่นิ ตะไคร้หอม และกล่ินยคู าลปิ ตัส ได้ผลการดังภาพ เทียนหอมสมุนไพรกลน่ิ ตะไคร้หอม และกลิ่นยคู าลปิ ตสั 4.3 เพ่อื ศกึ ษาความพึงพอใจท่ีมีต่อเทียนหอมสมนุ ไพรไล่ยุง จากการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง พบว่า ผู้ทดลองใช้มีความพึงพอใจต่อกลิ่น ของเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง อยู่ในระดับมาก ดังบทให้สัมภาษณ์ ดังนี้“เทียนเมื่อจุดแล้วมีความหอม ยุงรบกวน น้อยลง” ส่วนความพึงพอใจในด้านระยะเวลาในการเผาไหม้ของเทียนอยู่ในระดับน้อย ดังบทให้สัมภาษณ์ ดงั นี้ “ขนาดของไสเ้ ทียนนอ้ ยไป ไส้เทยี นหมดกอ่ นเนอ้ื เทยี น อยากให้ปรบั ปรุงใหเ้ ทียนมขี นาดเลก็ ลง”
~ 16 ~ บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศกึ ษา 5.1.1 เพอื่ ศกึ ษาขอ้ มูลสรรพคณุ ของสมุนไพรในการปูองกนั ยงุ สมุนไพรในประเทศไทยท่ีสามารถปูองกันยุงจะมีกลิ่นจากน้ามันหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้ หอม มะกรูด มะนาว เปลือกส้ม โหระพา สะระแหน่ และยูคาลิปตัส และคณะผู้จัดทาเลือกกลิ่นสมุนไพร 2 ชนิด คือ กลนิ่ ตะไคร้หอม และกลิ่นยูคาลิปตสั 5.1.2 เพือ่ ประดษิ ฐ์เทยี นหอมสมนุ ไพรทส่ี ามารถนาไปใชใ้ นครัวเรือนได้จรงิ คณะผ้จู ดั ทาประดษิ ฐเ์ ทยี นหอมสมนุ ไพรกลน่ิ ตะไคร้หอม และกล่ินยคู าลปิ ตสั 5.1.3 เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อเทียนหอมสมนุ ไพรไลย่ ุง ผู้ทดลองใช้มีความพึงพอใจต่อกล่ินของเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงอยู่ในระดับมาก ส่วน ความพึงพอใจในดา้ นระยะเวลาในการเผาไหม้ของเทยี นอยู่ในระดบั น้อย 5.2 อภปิ รายผลการศึกษา 5.2.1 สมุนไพรในประเทศไทยทสี่ ามารถปอู งกันยุงจะมีกล่ินจากน้ามันหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้หอม มะกรูด มะนาว เปลือกส้ม โหระพา สะระแหน่ และยูคาลิปตัส และคณะผู้จัดทาเลือกกลิ่นสมุนไพร 2 ชนิด คอื กล่นิ ตะไครห้ อม และกลน่ิ ยคู าลิปตสั เนื่องจาก 5.2.2 เทียนหอมสมุนไพรกล่ินตะไคร้หอม และกลิ่นยูคาลิปตัส สามารถนาไปใช้ไล่ยุงได้ เน่ืองจากมี ส่วนผสมของน้ามันหอมระเหยกลิ่นตะไคร้หอม และกล่ินยูคาลิปตัส ซ่ึงมีส่วนช่วยในการไล่ยุงในเน้ือเทียน เม่ือ จดุ แล้วเทยี นจะคอ่ ย ๆ ละลาย และให้กลิ่นทไี่ ม่ฉุนหรือแรงจนเกินไปจงึ ง่ายตอ่ การใช้ในครัวเรือน แต่ต้องใช้ใน หอ้ งท่มี อี ากาศถา่ ยเท เพราะ การจุดเทยี นมกี ารเผาไหม้ ทาใหไ้ ด้แกส๊ คาร์บอนไดออกไซต์ที่เป็นอันตรายหากอยู่ ในบรเิ วณทไ่ี ม่มีอากาศถา่ ยเท 5.2.3 ความพึงพอใจต่อกล่ินของเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงอยู่ในระดับมาก เนื่องจาก กล่ินของตะไคร้ หอม และกล่ินยูคาลิปตัส เป็นกลิ่นสมุนไพรไทยที่มีสรรพคุณช่วยไล่ยุง และเป็นกล่ินหอมท่ีความรู้สึกผ่อน คลาย ส่วนความพึงพอใจในด้านระยะเวลาในการเผาไหม้ของเทียนอยู่ในระดับน้อย เนื่องจาก เน้ือเทียนมี ปริมาณมาก ไมเ่ หมาะสมกับขนาดของไสเ้ ทยี น เมื่อจดุ เทยี นแล้วไสเ้ ทียนจึงหมดกอ่ นเนือ้ เทยี น 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 ควรใช้ภาชนะใส่เทียนให้มีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับขนาดของไส้เทียน เพื่อดึงกล่ินหอมที่ผสม ในเนอ้ื เทียนในระหว่างการเผาไหม้ 5.3.2 ควรลองใช้กล่ินของสมนุ ไพรชนิดอน่ื ๆ เชน่ กล่นิ มะกรูด กล่ินสม้ 5.3.3 หากต้องการต่อยอดจากโครงงานน้ี ควรเปรียบเทียบประสิทธิภาพการไล่ยุงของเทียนหอม กลน่ิ ตะไครห้ อมกับกลน่ิ ยคู าลปิ ตสั
~ 17 ~ บรรณานุกรม 7 สมนุ ไพรไล่ยงุ วิธกี าจัดยุงในบา้ นด้วยธรรมชาติ ไร้สารเคมี. (2565). [ระบบออนไลน์]. สืบคน้ กุมภาพนั ธ,์ 13 2565 จาก https://home.kapook.com/view214926.html Natcha.kk. (2565). โรคติดต่อที่เกิดจากยุง [ระบบออนไลน์]. สืบค้น กุมภาพันธ์, 13 2565 จาก https://bangkokhospitalphitsanulok.com/infectious-diseases-caused-by-mosquitoes-2/ ความรเู้ กย่ี วกบั เร่อื งของยุง. (2565). [ระบบออนไลน์]. สบื คน้ กุมภาพันธ,์ 13 2565 จาก https://www.cheminpestcontrol.com/products/product-38 ไทยรัฐออนไลน์. (2564). ประวตั ิน่ารู้ของ \"เทยี นหอม\" และวิธที าใชเ้ องที่บ้านแบบง่าย ๆ [ระบบออนไลน์]. สบื ค้น กมุ ภาพนั ธ,์ 13 2565 จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2115306
~ 18 ~ ภาคผนวก วัสดุอุปกรณ์ เตาให้ความร้อน ภาชนะคน หม้อ ภาชนะใส่เทยี น
~ 19 ~ ผงสีเทยี น ไส้เทยี น
~ 20 ~ นา้ มันหอมระเหยกลิ่นสมนุ ไพร พาราฟิน
~ 21 ~ P.E. Wax ผลงาน เทยี นหอมสมุนไพรไลย่ งุ
~ 22 ~ ข้อมลู ผู้จดั ทา ชอื่ นายนนั ทพงษ์ คาหง อายุ 21 ปี ที่อยู่ 3/11 ม.9 ต.บางระจัน อ.ค่ายบางระจนั จ.สิงหบ์ รุ ี 16150 เบอรโ์ ทรศัพท์ 090-2742031 ชอื่ นายสุรศกั ด์ิ มณนี พรตั น์สุดา อายุ 32 ปี ที่อยู่ 206 สขุ าภิบาล 2 ซอย 15 แยก1-3 เขตประเวศ แขวงประเวศ จ.กรุงเทพฯ 10210 เบอรโ์ ทรศัพท์ 063-5415997 ช่ือ นางสาวดวงพร พรมแดง อายุ 22 ปี ทอ่ี ยู่ 5 ม.7 ต.บา้ นพราน อ.แสวงหา จ.อา่ งทอง 14150 เบอร์โทรศัพท์ 062-4131894 ชือ่ นายพฤตนิ ยั ชมแสงรัตน์ อายุ 19 ปี ที่อยู่ ต.จาลอง อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 14150 เบอร์โทรศัพท์ 094-9268596 ชอ่ื นางสาววิมพว์ พิ า ด่านแพ อายุ 18 ปี ทอ่ี ยู่ 5/1 ม.11 ต.สบี ัวทอง อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 14150 เบอรโ์ ทรศัพท์ 096-6421042 ชอ่ื นายรุ่งสุริยา ยคุ ลงั อายุ 23 ปี ทอี่ ยู่ 109 ม. 6 ต.สบี วั ทอง อ.แสวงหา จ.อา่ งทอง 14150 เบอร์โทรศัพท์ 061-2161849
~ 23 ~
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: