รายงานการประเมินหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน จานวน 6 ช่ัวโมง ประจาปีงบประมาณ 2564 หลกั สตู รการปลกู พชื แบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพรปอ้ งกนั โรค COVID-19 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอแสวงหา สานักงาน กศน.จังหวัดอ่างทอง สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
~ก~ คานา รายงานการประเมินหลักสูตรฝึกอบรมประชาชน การปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและ การทาสมนุ ไพรปูองกนั โรค COVID-19 ฉบับนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ได้ดาเนินการประเมินโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผล การใช้หลักสูตรฝึกอบรมประชาชน การปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพรปูองกัน โรค COVID-19 โดยมกี รอบการประเมิน ๓ ประเด็น คือ กระบวนการพัฒนา การนาหลักสูตรไปใช้ และผลการใช้หลกั สตู ร ซงึ่ สถานศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลผลการประเมินจากผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และผู้เรียน ในปีงบประมาณ 2564 ในการประเมินหลักสูตรคร้ังน้ี สถานศึกษาได้รับ ความร่วมมือย่างดียิ่งจากบุคลากรของสถานศึกษา ผู้สอน และผู้เรียน จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ งานวิจัยและพฒั นาหลกั สูตร ส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี กศน.อาเภอแสวงหา จงั หวัดอ่างทอง กนั ยายน พ.ศ. 2564
~ข~ บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา ได้ดาเนินการ ประเมินหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองตามกรอบการประเมิน ๓ ประเด็น คือ กระบวนการพัฒนา การนาหลกั สตู รไปใช้ และผลการใชห้ ลกั สูตร เพอื่ ให้การจัดการศึกษาต่อเน่ืองมีคุณภาพ สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และความต้องการของผู้เรียน โดยสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินหลักสูตร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิจัยและพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี หวั หน้างานแผนงานและโครงการ หวั หนา้ งานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หัวหน้างานการศึกษาตามอัธยาศัย และหัวหนา้ งานการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ซึ่งไดด้ าเนนิ การประเมินหลกั สตู รประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สาเร็จลุล่วงจานวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพร ปูองกนั โรค COVID-19 จานวน 6 ชว่ั โมง มีผลการประเมนิ หลกั สูตรตามกรอบแนวคิด ดงั น้ี ด้านกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ผลการประเมินอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๕๐ มสี ิง่ ท่คี วรพัฒนา คอื ควรวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของหลักสตู รจากผู้เชีย่ วชาญด้านหลกั สตู รการศึกษา ตอ่ เนอ่ื ง ดา้ นการนาหลักสูตรไปใช้ ผลการประเมินอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 86.67 โดยสิ่งที่ ควรพฒั นา ได้แก่ การประชาสัมพนั ธ์หลกั สตู ร วิทยากรควรจดั ทาแผนการสอน และการวัดประเมินผล ควรวัดทั้งด้านทฤษฎแี ละดา้ นปฏิบัติ ซง่ึ ในหลกั สูตรดาเนินการวัดผลดา้ นปฏบิ ตั ิเพยี งอย่างเดยี ว ดา้ นผลการใชห้ ลักสูตร ประเมนิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และความพึงพอใจของผเู้ รียน โดย ทกั ษะของผเู้ รียน ผลการประเมินอยูใ่ นระดบั ดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ผูเ้ รยี นทกุ คนมีผลกาประเมิน ทกั ษะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านทุกคน และความพึงพอใจของผู้เรียน ผลการประเมินอยู่ใน ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ผู้เรียนทุกคนพึงพอใจต่อหลักสูตรท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน ส่ิงที่ควร พฒั นา คอื สถานศึกษาควรจดั ประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รยี น เชน่ ใชแ้ บบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรยี น ท้ังนี้ สถานศึกษาจะนาผลการประเมินหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่อง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียน และสภาวการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ และทักษะที่ได้ไป ประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
~ค~ หนา้ ก สารบญั ข ค คานา บทสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร 1 สารบญั 1 1 บทท่ี 1 บทนา 1 ความเปน็ มาและหลกั การ 2 วัตถปุ ระสงค์ 2 ขอบเขตการประเมนิ นิยามศพั ท์ 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั 3 3 บทท่ี 2 วธิ กี ารประเมนิ หลกั สตู ร 6 กรอบแนวคิดการประเมนิ หลักสตู ร กรอบการประเมนิ หลกั สูตร 7 การรวบรวมข้อมลู 7 7 บทท่ี 3 ผลประเมนิ หลกั สูตร 7 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของผ้ใู ห้ข้อมลู 9 ผลการประเมินตามกรอบความคิดการประเมินหลักสตู ร ๓ ดา้ น 11 ด้านกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร ด้านการนาหลักสตู รไปใช้ 13 ด้านผลการใช้หลกั สูตร 23 ภาคผนวก คณะผูจ้ ดั ทา
~1~ บทท่ี ๑ บทนา ความเป็นมาและหลกั การ สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มภี ารกิจในการจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อย่างมีคุณภาพ ยึดหลักการจดั การเรยี นรโู้ ดยยึดผเู้ รียนเปน็ สาคัญ เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการจาเป็นของผู้เรียน จึงต้อง จดั ทาหลักสตู รให้เพยี งพอต่อความต้องการของผเู้ รียนท้งั หลักสูตรแกนกลาง หลกั สูตรต่อเน่อื งตา่ ง ๆ การประเมินหลักสตู รเปน็ กระบวนการทางานอย่างหน่งึ ทีป่ ระกอบไปดว้ ยขัน้ ตอนต่าง ๆ หลาย ข้นั ตอน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ได้มาซ่ึงข้อมูลที่จะนาไปใช้พิจารณาคุณค่าของหลักสูตร ซ่ึงข้ันตอน การประเมนิ หลักสูตร ได้แก่ การกาหนดวตั ถุประสงค์ของการประเมิน การเลือกเครื่องมือที่จะนาไปใช้ ในการประเมินใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ การสร้างและตรวจสอบเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุปผล ตลอดจนถึงการนาเสนอขอ้ มลู ต่อผ้เู กย่ี วข้องเพอื่ รว่ มกันพิจารณาตัดสิน คุณค่าของหลักสูตร รวมถึงการนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอีก ทั้ง เพือ่ ตอบสนองระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง เล็งเห็น ความสาคญั ของการพัฒนาหลักสูตร เพอ่ื เป็นเปูาหมายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มีคุณภพ สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของผู้เรียน จึงได้ดาเนินการประเมินหลักสูตรการศึกษา ต่อเน่ือง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน จานวน 1 หลักสตู ร คอื หลกั สตู รการปลกู พืชแบบเกษตรธรรมชาติ และการทาสมุนไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ช่ัวโมง ซึ่งดาเนินการจัดกิจกรรมแล้วเสร็จ ในวนั ท่ี 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 โดยมี นายเดชา อ่อนจิต และนางสงัด พรหมเมศ เป็นวิทยากร ใหค้ วามรู้ ในทนี่ ีส่ ถานศึกษาดาเนินการประเมนิ หลกั สตู รตามความพร้อมดา้ นการจดั เตรยี มการประเมิน และดาเนินการประเมนิ จนสาเรจ็ ลลุ ว่ ง รวมท้ังไดร้ ายงานผลการประเมนิ ดงั เอกสารฉบบั น้ี วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ประเมินกระบวนการพฒั นาหลักสตู ร 2. เพือ่ ประเมินการใชห้ ลักสูตร 3. เพอื่ ประเมนิ ผลการใช้หลักสูตร ขอบเขตของการประเมิน 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ประกอบด้วย กระบวนการใช้หลกั สตู ร การใช้หลักสูตร และผลการใช้ หลักสูตร 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 3. ขอบเขตด้านพน้ื ท่ี กศน.อาเภอแสวงหา สานกั งาน กศน.จังหวัดอ่างทอง
~2~ นยิ ามศพั ท์ หลักสูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง หมายถงึ แผน หรอื แนวทางหรอื ขอ้ กาหนดของการจัดการศึกษา ที่ในรปู แบบการศึกษานอกระบบทีเ่ ปน็ หลกั สตู รระยะสนั้ ท่ีจดั ตามความต้องการของกลุ่มเปูาหมายที่มี เน้ือหาเก่ียวกับอาชีพ ทักษะชีวิต การพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งรวมถึงการจัดการเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการใช้เทคโนโลยี ซงึ่ นาไปสูก่ ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ วทิ ยากร หมายถึง บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกและแต่งตั้งจากสถานศึกษาให้ทาหน้าที่จัดการ เรยี นรตู้ ามกจิ กรรมของการจัดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ผู้เรยี น หมายถงึ ผู้ทไ่ี ดส้ มคั รเข้ารบั การศึกษาตอ่ เนื่องในสถานศึกษา กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร หมายถึง การนาหลักสูตรที่มีอยู่ มาปรับ ขยาย หรือการสร้าง หลกั สตู รย่อยขนึ้ มา มอี งค์ประกอบครบถว้ นสอดคลอ้ งกบั สภาพความเป็นจริง ปัญหา และความตอ้ งการ ของท้องถิ่น เพื่อผู้เรียนจะได้นาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตจริง หรือเป็นประโยชน์ใน ชวี ิตประจาวัน การใช้หลักสูตร หมายถึง การนาหลักสูตรไปใช้อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยการ ประชาสัมพันธ์หลักสตู ร การพฒั นาบคุ ลากร การจดั แผนการสอน และการจดั กระบวนการเรยี นรขู้ องครู การใช้สือ่ วสั ดุอุปกรณ์ และการประเมนิ ผล ผลการใช้หลักสูตร หมายถงึ ผลทเี่ กิดจากการจดั กระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ ความรู้ ทักษะและ ความพึงพอใจของผู้เรียน ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ ับ 1. มหี ลักสูตรทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รียน 2. ผูเ้ รยี นไดร้ ับการพัฒนาความรู้ และทักษะอย่างเปน็ ระบบและมคี วามตอ่ เนอ่ื ง
~3~ บทที่ ๒ วิธกี ารประเมินหลักสูตร กรอบแนวคิดการประเมินหลกั สูตร การ ปร ะเมิ นห ลักสูตร การป ลูกพืชแบบ เกษตร ธรร มชาติและการท าสมุ นไพร ปูอง กันโร ค COVID-19 จานวน 6 ช่ัวโมง ดาเนินการโดยมีกรอบแนวคดิ การประเมนิ ดงั น้ี กระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร การใช้หลกั สูตร หลักสตู รที่มคี ุณภาพ ผลการใช้หลกั สูตร กรอบการประเมนิ หลักสูตร จากการศึกษากรอบแนวคิดการประเมินหลักสูตร ท้ัง ๓ ด้าน คณะผู้ประเมินได้จัดทา รายละเอียดขอ้ มูลทจี่ ะตอ้ งประเมิน เพื่อจัดทากรอบการประเมนิ ประเด็น ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ แหล่งข้อมลู เครอื่ งมือ มี/ไม่มี คณะกรรมการ แบบตรวจสอบ กระบวนการพฒั นา ๑. การสารวจสภาพ แบบสารวจ รายการ หลกั สตู ร ปญั หา/ความต้องการ สรปุ ผลการสารวจ ของผู้เรยี น/ชมุ ชน สภาพปญั หาและ แบบตรวจสอบ ความต้องการของ รายการ ๒. หลกั สตู รสอดคล้อง สอดคล้อง/ไม่ ผู้เรยี น/ชุมชน กับสภาพปัญหาความ สอดคลอ้ ง คณะกรรมการ แบบตรวจสอบ ต้องการของผเู้ รยี น/ เอกสารหลักสูตร รายการ ชมุ ชน มีครบทุกหัวข้อ/มีไม่ แบบตรวจสอบ ครบทกุ หัวข้อ คณะกรรมการ รายการ ๓. หลักสตู รมี มีคา่ เฉลย่ี ของความ เอกสารหลักสตู ร องค์ประกอบครบ สอดคลอ้ งตั้งแต่ ๐.๕ คณะกรรมการ แบบสอบถาม ขึ้นไป เอกสารหลักสตู ร ๔. หลกั สตู รมี ผู้เรยี นร้อยละ ๘๐ แบบ IOC องค์ประกอบสอดคล้อง เห็นว่าเน้ือหา ผเู้ รียน กัน เหมาะสมกับเวลา เรียน ๕. เนือ้ หาเหมาะสมกบั ระยะเวลาเรยี น
~4~ ประเดน็ ตวั บ่งช้ี เกณฑ์ แหลง่ ขอ้ มูล เคร่ืองมอื การใช้หลักสูตร ๖. เนอื้ หาเหมาะสมกับ ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๐ ผู้เรียน แบบสอบถาม ผู้เรยี น เหน็ วา่ เน้ือหา เหมาะสมกบั ผู้เรยี น -คณะกรรมการ แบบตรวจสอบ ๗. หลกั สูตรผ่านความ ผ่าน/ไม่ผา่ น -บนั ทึกความ รายการ เหน็ ชอบคณะกรรมการ เห็นชอบ สถานศึกษา ม/ี ไม่มี -รายงานการประชุม แบบตรวจสอบ คณะกรรมการ รายการ ๘. การประเมนิ ผลการ ม/ี ไมม่ ี สถานศึกษา ใช้เหลักสตู ร -คณะกรรมการ แบบตรวจสอบ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๘๐ -รายงานผลการ รายการ ๙. การประชาสัมพนั ธ์ เหน็ วา่ หลักสตู ร ประเมินหลกั สูตร แบบสอบถาม หลกั สตู ร สอดคล้องกบั เนื้อหา -แบบประเมินผล ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ ๘๐ -รายงานการประชมุ แบบสอบถาม ๑๐. ส่อื ประกอบ เห็นว่าหลักสตู ร -แบบทดสอบ หลักสตู รมคี วาม เหมาะสมกบั ผูเ้ รียน -คณะกรรมการ แบบสอบถาม สอดคล้องกับเน้ือหา ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๐ -แผ่นพับ/แผน่ ปลิว ๑๑. ส่อื ประกอบ เหน็ ว่าวัสดุ อุปกรณ์มี -Website แบบตรวจสอบ หลักสตู รมีความ เพยี งพอ -ผู้เรยี น รายการ เหมาะสมกับผเู้ รยี น ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๐ -ครู แบบสอบถาม ๑๒. วัสดุ อปุ กรณ์ เห็นวา่ ส่ือ อุปกรณ์ -สื่อ สามารถใชง้ านได้ดี -ผเู้ รียน แบบสอบถาม ๑๓. การใช้แหล่งเรียนรู้ ม/ี ไม่มี -ครู -ส่อื ทะเบยี นสอื่ /วัสดุ ครภุ ัณฑ์ คณะกรรมการ ๑๔. การเขา้ ถึงแหล่ง ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ ผู้เรยี น เรียนรู้ เห็นว่าสามารถเขา้ ถึง ผูเ้ รยี น แหลง่ เรยี นรไู้ ด้สะดวก ๑๕. แสงสวา่ งใน ห้องเรยี น ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๐ เหน็ ว่าห้องเรียนสว่าง พอ
~5~ ประเดน็ ตวั บ่งช้ี เกณฑ์ แหล่งข้อมูล เครื่องมอื ผลการใชห้ ลกั สตู ร ๑๖. สภาพสถานท่ี แบบสอบถาม ผเู้ รียน ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๐ ผู้เรียน เห็นวา่ สภาพห้องเรยี น แบบตรวจสอบ ๑๗. ครมู แี ผนการสอน เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ รายการ แบบสอบถาม มี/ไมม่ ี -คณะกรรมการ แบบสอบถาม ๑๘. ครมู เี ทคนิคการ ผู้เรยี นร้อยละ ๘๐ พงึ ผเู้ รียน ถา่ ยทอดความรู้ พอใจการถ่ายทอด แบบตรวจสอบ ความร้ขู องครู ผ้เู รียน รายการ ๑๙. ผู้เรยี นมสี ่วนร่วม ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๐ มี แบบประเมิน ในกิจกรรมการเรียน สว่ นร่วมในกจิ กรรม แบบบนั ทกึ หลงสอน แบบตรวจสอบ การสอน การเรียนการสอน ผู้เรยี น รายการ ๒๐. ผเู้ รียนมสี ่วนร่วม ผูเ้ รยี นร้อยละ ๘๐ มี แบบประเมิน ในการวัดผลประเมินผล ส่วนร่วมในการวัดผล แบบบันทกึ หลงสอน แบบตรวจสอบ ประเมนิ ผล -คณะกรรมการ รายการ ๒๑. การประเมินผล ม/ี ไมม่ ี -แบบทดสอบ ผู้เรียน -ผลการทดสอบ แบบตรวจสอบ ใช/้ ไมใช้ ผู้เรยี น รายการ ๒๒. การนาผลการ -ชน้ิ งาน ประเมินผเู้ รยี นมาใช้ มี/ไมม่ ี -ผลการจดั กิจกรรม แบบตรวจสอบ ปรบั ปรุง -ภาพถ่าย รายการ ๒๓. การนเิ ทศติดตาม ผเู้ รียนร้อยละ ๘๐ มี -รายงานการประชมุ ผู้เรียน คะแนนเฉลยี่ ผลการ -ท่ีมาของหลักสตู ร แบบวเิ คราะหร์ อ้ ย ทดสอบหลังเรียนไม่ ละของผู้เรยี นทม่ี ี ๒๔. ความรูผ้ ูเ้ รียน นอ้ ยกว่าร้อยละ ๗๕ -คณะกรรมการ คะแนนทดสอบ ผเู้ รียนร้อยละ ๘๐ มี -แบบนิเทศ/รายงาน ทักษะหลังเรยี น ๒๕. ทักษะผเู้ รยี น ทกั ษะตาม ผลการนิเทศ แบบสอบถาม วัตถปุ ระสงคข์ อง ผู้เรยี น ๒๖. ความพงึ พอใจของ หลกั สตู ร รายงานผลการเรียน ผเู้ รยี น ผเู้ รียนร้อยละ ๘๐ มี ความพงึ พอใจตอ่ ผู้เรียน หลักสตู ร ผลงาน/ช้ินงาน/ รายงานผลการเรียน ผู้เรียน
~6~ การรวบรวมขอ้ มูล ๑. ผูใ้ ห้ข้อมูล ดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากผู้เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร การปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพรปูองกนั โรค COVID-19 จานวน 6 ชว่ั โมง 1.1 วิทยากร จานวน 2 คน 1.2 ผู้เรยี นตามหลักสตู ร จานวน 15 คน 1.3 คณะกรรมการประเมินหลกั สูตร 5 คน 1.4 เอกสาร ส่ือ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั หลักสตู ร ๒. เครอ่ื งมือการประเมนิ หลกั สตู ร ๒.๑ แบบตรวจสอบรายการ ๒.๒ แบบสอบถามการประเมนิ หลักสตู ร ๒.๓ แบบวิเคราะหร์ ้อยละของผูเ้ รยี น ๓. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล รวบรวมข้อมูลจากแบบตรวจสอบรายการจากวิทยากร แบบสอบถามผู้เรียน ในวนั ที่ 25 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2564 ๔. การวเิ คราะห์ข้อมลู ๔.๑ ข้อมูลดา้ นกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร วิเคราะหข์ ้อมลู โดยใช้คา่ รอ้ ยละ ๔.๒ ขอ้ มูลด้านการใช้หลักสูตร วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใชค้ า่ รอ้ ยละ ๔.๓ ขอ้ มลู ด้านผลการใช้หลักสตู ร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คา่ รอ้ ยละ สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล และแปลผลตามเกณฑ์ ดงั น้ี หมายถงึ ดีมาก หมายถงึ ดี ผลการประเมินมีตามเกณฑ์ ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป หมายถึง ปานกลาง ผลการประเมินมีตามเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐-๘๙ ผลการประเมนิ มีตามเกณฑ์ ร้อยละ ๖๕-๗๙ หมายถึง พอใช้ หมายถงึ ต้องปรบั ปรงุ ผลการประเมินมีตามเกณฑ์ รอ้ ยละ ๕๐-๖๔ ผลการประเมนิ มตี ามเกณฑ์ ต่ากวา่ รอ้ ยละ ๕๐
~7~ บทที่ ๓ ผลการประเมนิ หลักสูตร การประเมนิ หลกั สตู รการศกึ ษา หลักสตู รการปลูกพชื แบบเกษตรธรรมชาตแิ ละการทาสมนุ ไพร ปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ช่วั โมง นาเสนอผลการประเมนิ ตามลาดบั ดังนี้ ๑. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของผ้ใู หข้ ้อมลู ๒. ผลการประเมนิ ตามกรอบความคดิ การประเมนิ หลักสตู ร ๓ ดา้ น คอื ๒.๑ ดา้ นกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร ๒.๒ ดา้ นการใช้หลักสูตร ๒.๓ ดา้ นผลการใชห้ ลกั สตู ร ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้ใหข้ อ้ มูล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา ดาเนินการประเมิน หลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ชว่ั โมง โดยมผี บู้ ริหารสถานศกึ ษา บุคลากรท่ีไดร้ บั แตง่ ต้งั และผ้เู รยี นทเี่ ขา้ เรียนรู้หลักสูตร ดังตาราง 1 ตาราง ๑ จานวนผใู้ ห้ข้อมูล จานวน (คน) 5 ผู้ใหข้ อ้ มลู 15 กรรมการประเมินหลักสตู ร ผู้เรียน จากตาราง ๑ แสดงจานวนผ้ใู ห้ข้อมูลการประเมินหลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติ และการทาสมุนไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ชั่วโมง โดยมีคณะกรรมการประเมินหลักสูตร จานวน 5 คน และผู้เรยี นจาก 7 ตาบล ในอาเภอแสวงหาท่ีเข้าเรยี นในหลักสูตร จานวน 15 คน ผลการประเมินตามกรอบความคดิ การประเมินหลกั สตู ร ๓ ดา้ น ๒.๑ ด้านกระบวนการพฒั นาหลักสตู ร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา ดาเนินการพัฒนา หลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ชั่วโมง โดยเร่ิมจากการเก็บข้อมูลในแตล่ ะตาบลเพอ่ื นามาวิเคราะหข์ ้อมูลพนื้ ฐานในเขตอาเภอแสวงหา ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของคนในชุมชน แล้วนามากาหนดจุดมุ่งหมายของ หลกั สตู ร จดั สรรเนื้อหา กาหนดการวัดและประเมินผล กระท่งั ได้หลักสตู รท่ีนาไปใชใ้ นการจดั การศกึ ษา ต่อเน่ือง รวมทั้งประเมินการใช้หลักสูตรเพื่อพัฒนาและปรับปรุงแก้ไข โดยมีผลการประเมินด้าน กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร ดังตาราง 2
~8~ ตาราง ๒ ด้านกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ที่ รายการ ผลการตรวจสอบ จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา มี ไมม่ ี ๑ การสารวจสภาพปัญหาและความต้องการของ ครู กศน.ตาบล ลง ควรใชแ้ บบสารวจที่ ผเู้ รียน/ชมุ ชน พืน้ ทสี่ ารวจความ เป็นรปู ธรรม ต้องการของผู้เรียน ในชุมชน โดยการ สมั ภาษณ์ ๒ หลักสตู รสอดคล้องกับสภาพปัญหา/ความต้องการ หลกั สูตรสอดคล้อง - ของผูเ้ รียน/ชมุ ชน กับความตอ้ งการ ของผูเ้ รียนและ สถานการณใ์ น ปัจจบุ นั ๓ หลักสตู รมีองค์ประกอบครบ ไดแ้ ก่ ทมี่ าของ องคป์ ระกอบของ - หลักสูตร จุดระสงค์ เน้ือหา กจิ กรรมการเรียนรู้ หลกั สูตรครบถว้ น สื่อ วสั ดกุ ารเรียน การวัดผลประเมนิ ผล สมบูรณ์ ๔ หลกั สตู รมอี งค์ประกอบสอดคล้องกัน - ควรตรวจหาความ สอดคลอ้ งในดา้ น จุดประสงค์ เนื้อหา และการวัด ประเมนิ ผล โดย ผ้เู ชยี่ วชาญ ๕ หลกั สูตรผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ หลกั สูตรผ่านความ - สถานศึกษา เห็นชอบกอ่ น นาไปใช้ ๖ มกี ารประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตร มีการเก็บข้อมูล - ประเมินการใช้ หลักสตู รจาก คณะกรรมการและ ผู้เรียน ๗ เนื้อหามีความเหมาะสมกบั ระยะเวลาเรยี น ได้รับการประเมิน - จากผูเ้ รียนโดยตรง หลงั จบหลักสูตร ๘ เนื้อหาเหมาะสมกบั ผู้เรยี น ไดร้ ับการประเมนิ - จากผู้เรยี นโดยตรง หลงั จบหลักสตู ร สรปุ ผลการประเมนิ “มี” จานวน ๗ ข้อ คิดเปน็ ร้อยละ ๘๗.๕๐ . จากตาราง ๒ พบว่า ผลการประเมินดา้ นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตร ธรรมชาตแิ ละการทาสมุนไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ช่ัวโมง อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๕๐ โดยสิ่งที่ควรพัฒนา คือ ควรวิเคราะห์ความสอดคล้องของหลักสูตรจากผู้เช่ียวชาญด้าน หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง
~9~ ๒.๒ ดา้ นการใช้หลักสตู ร ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแสวงหา ดาเนินการนา หลักสูตรการปลกู พืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมนุ ไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ชว่ั โมง มาใช้กบั ผเู้ รยี นในอาเภอแสวงหา จานวน 15 คน และไดร้ ับการประเมนิ โดยคณะกรรมการ ประเมินหลักสตู รทีส่ ถานศกึ ษาแตง่ ตงั้ ขึน้ จานวน 5 ราย ไดผ้ ลการประเมินดงั ตาราง 3 ตาราง ๓ ดา้ นการใช้หลกั สตู ร ผลการตรวจสอบ จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา มี ไมม่ ี ที่ รายการ - ผู้รบั ผิดชอบ ๑ การประชาสมั พันธห์ ลักสตู ร หลักสูตรควร สื่อสอดคลอ้ งกับ ประชาสมั พนั ธผ์ ่าน ๒ สอื่ ประกอบหลกั สตู รมคี วามสอดคล้องกับเน้ือหา เนื้อหาในหลกั สตู ร ช่องทาง ติดตอ่ สอ่ื สารตา่ ง ๆ ๓ สื่อประกอบหลักสูตรมีความเหมาะสมกบั ผเู้ รียน ผเู้ รียนไดใ้ ชส้ ือ่ ควรเผยแพร่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ประชาสัมพันธผ์ า่ น ๔ วัสดุอปุ กรณเ์ พยี งพอ ให้เกิดความเข้าใจ ชอ่ งทาง ไดด้ ียิ่งข้นึ ตดิ ตอ่ สื่อสารต่าง ๆ ๕ มีแหล่งเรียนรู้ สถานทจ่ี ัดกิจกรรม สาหรับผู้ทสี่ นใจ ๖ แหล่งเรียนรเู้ ข้าถงึ ได้สะดวก เตรยี มวสั ดทุ า ๗ แสงสว่างในห้องเรียนเหมาะสม กิจกรรมเพียงพอ - ต่อผู้เรียน ๘ สภาพสถานท่เี รยี นเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ สถานท่ีจัดกจิ กรรม - ๙ วทิ ยากรมแี ผนการเรยี นการสอน เปน็ แหล่งเรียนรู้ท่ี ได้รับความนิยม - แหลง่ เรยี นรู้ได้รับ ความนิยมจากคน - ในท้องถน่ิ บรเิ วณสถานท่ีอยู่ - ใตร้ ม่ ไม้ มอี ากาศ ถา่ ยเท แสงว่าง - เพยี งพอ สถานท่ีจดั กิจกรรม ควรมแี ผนการสอน มจี ดุ ใหค้ วามรู้ เพ่ือใหส้ ถานศึกษา หลายจุด ท่ีสนใจนาหลักสูตร วทิ ยากรมีความ ไปใชต้ ามบริบท ชานาญในการ ท้องถน่ิ ได้ บรรยายใหค้ วามรู้
~ 10 ~ ตาราง ๓ ด้านการใชห้ ลักสูตร (ตอ่ ) ท่ี รายการ ผลการตรวจสอบ จุดเดน่ จุดควรพัฒนา มี ไม่มี ๑๐ วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดความรู้ วทิ ยากรถ่ายทอด - ความรเู้ ป็นลาดับ ขัน้ ตอน เข้าใจงา่ ย ๑๑ ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มกี ิจกรรมให้ผู้เรยี น - ไดล้ งมอื ปฏิบัติ ได้แก่ การผสมดิน การปลกู ฟาู ทะลาย โจร การทาแคปซูล สมนุ ไพร ๑๒ มีการประเมินผลผเู้ รยี น ประเมินผูเ้ รยี นดา้ น ควรประเมนิ ความรู้ ปฏิบตั ิ (ทักษะ) ความเขา้ ใจผ้เู รียน เนน้ การนาไปใชใ้ น โดยใช้แบบทดสอบ ชีวติ ประจาวัน ก่อน-หลงั เรยี น ๑๓ ผเู้ รียนมสี ่วนรว่ มในการวัดผลประเมนิ ผล ผเู้ รยี นกาหนด - วิธกี ารวัดและ ประเมินผล ๑๔ มีการนาผลการประเมินไปใช้ปรบั ปรงุ สถานศึกษานาผล - การประเมนิ มาเปน็ แนวทางในการ พัฒนาหลกั สตู รใน ปงี บประมาณ 2565 ๑๕ มกี ารนิเทศ ติดตามผล คณะกรรมการ - นิเทศภายใน สถานศกึ ษา ดาเนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตาม และให้ คาแนะนา การจัด กิจกรรมอยา่ ง ใกล้ชิด สรปุ ผลการประเมิน “มี” จานวน 13 ขอ้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 86.67 . จากตาราง ๓ พบว่า ผลการประเมินด้านกระบวนการใช้หลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตร ธรรมชาตแิ ละการทาสมนุ ไพรปอู งกนั โรค COVID-19 จานวน 6 ชั่วโมง อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 86.67 โดยสิง่ ท่ีควรพฒั นา ได้แก่ การประชาสัมพันธ์หลักสูตร วิทยากรควรจัดทาแผนการสอน และ การวัดประเมินผลควรวดั ทงั้ ด้านทฤษฎีและด้านปฏิบัติ ซงึ่ ในหลกั สูตรดาเนนิ การวัดผลด้านปฏิบัติเพียง อยา่ งเดยี ว
~ 11 ~ ๒.๓ ด้านผลการใชห้ ลักสูตร การประเมนิ หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน หลักสูตรการ ปลูกพชื แบบเกษตรธรรมชาตแิ ละการทาสมนุ ไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ชว่ั โมง จาเป็นต้อง ประเมินด้านผลการใช้หลักสูตร เพ่ือเป็นข้อมูลหลังจากการนาหลักสูตรไปใช้ โดยวิเคราะห์ผล การประเมินความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีได้รับการเรียนรู้จากหลักสูตร เพื่ อ เป็ น แน วทาง ให้ ส ถาน ศึ กษา ปรั บ ปรุ ง แล ะ พั ฒน า หลั ก สูตร ให้ เ กิดป ร ะโ ย ชน์ ต่อผู้ เ รีย น อย่ าง มี ประสิทธิภาพ 2.3.1 ความรู้ ความเขา้ ใจของผ้เู รยี น ผูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพร ปอู งกนั โรค COVID-19 จานวน 6 ช่วั โมง ไมไ่ ดด้ าเนนิ การจดั ทาแบบทดสอบเพ่ือวัดความรู้ ความเขา้ ใจ ของผเู้ รยี น ทั้งก่อนเรยี น และหลงั เรียน 2.3.2 ทกั ษะผเู้ รยี น ตาราง 4 ร้อยละของผเู้ รยี นทม่ี ที ักษะตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ท่ี ชอื่ - สกลุ ผลการประเมนิ ทักษะตามวตั ถุประสงค์ ผา่ น ไมผ่ ่าน ๑ นางแก้วใจ มะลทิ อง ๒ นางสาวจาปี จรรยารตั น์ ๓ นางสาววรรณิดา พันธล์ุ ูกฟัก ๔ นางสมหมาย ปานทอง ๕ นางนา้ ออ้ ย อรุณ ๖ นางรัชบู ยอมดี 7 นางวเิ ชยี ร พงึ่ แยม้ 8 นายสวน ปานทอง 9 นายสนิท บัวอาจ 10 นางสาวถวลิ นุชอยู่ 11 นางทัศนีย์ บัวศรี 12 นางสาวกาญจมาศ ฝุายไทย 13 นางสงวน เปรมปรี 14 นางบุญธรรม บุญปถมั ภ์ 15 นายชาญ สุกใส สรปุ จานวนผูม้ ีทกั ษะตามวัตถุประสงค์ จานวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ จากตาราง 4 พบวา่ ผลการใช้หลกั สูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพร ปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ชั่วโมง การพัฒนาทักษะผู้เรียนความรู้ผู้เรียน อยู่ในระดับดีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ผู้เรียนทุกคนมผี ลกาประเมินทักษะตามวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตรผา่ นทุกคน
~ 12 ~ ๒.๓.๓ ความพงึ พอใจของผูเ้ รยี น ตาราง 5 ความพงึ พอใจของผเู้ รยี นต่อหลักสตู ร ท่ี รายการ จานวน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑ จานวนผู้เรียนที่มคี วามพึงพอใจตอ่ หลักสูตร 15 ๑๐๐ ๒ จานวนผูเ้ รียนทไ่ี ม่พึงพอใจตอ่ หลักสตู ร ๐ ๐ จากตาราง 5 พบว่า ผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้เรียนหลักสูตรการปลกู พืชแบบเกษตร ธรรมชาติและการทาสมุนไพรปูองกันโรค COVID-19 จานวน 6 ช่ัวโมง อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐ ผเู้ รยี นทุกคนพึงพอใจต่อหลกั สตู รท่ีสถานศึกษาจดั ข้ึน
~ 13 ~ ภาคผนวก
~ 14 ~ เครอ่ื งมอื การประเมินหลักสูตร 1. สาหรับคณะกรรมการประเมินหลักสตู ร 2. สาหรบั ผูเ้ รยี น 3. สาหรับผ้สู อน
~ 15 ~ แบบ ตน. ๑.1 สาหรบั คณะกรรมการ แบบตรวจสอบรายการเพอ่ื ประเมนิ หลักสูตร ด้านกระบวนการพัฒนาหลักสตู ร หลักสตู ร..............................................................................................................จานวน.................ช่ัวโมง คาช้ีแจง แบบตรวจสอบรายการสาหรับคณะกรรมการประเมินหลักสูตร เพื่อประเมินหลักสูตรด้าน กระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร โดยใชเ้ ครื่องหมาย ลงในชอ่ งให้ตรงกบั ความเป็นจริง รวมท้ังบรรยาย จดุ เด่นและจุดท่คี วรพัฒนา ตามประเด็นทพี่ บ ท่ี รายการ ผลการตรวจสอบ จดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนา มี ไม่มี ๑ การสารวจสภาพปัญหาและความต้องการของ ผเู้ รยี น/ชุมชน ๒ หลักสูตรสอดคล้องกบั สภาพปญั หา/ความต้องการ ของผูเ้ รยี น/ชมุ ชน ๓ หลักสตู รมอี งคป์ ระกอบครบ ไดแ้ ก่ ทมี่ าของ หลกั สตู ร จุดระสงค์ เนอื้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื วสั ดกุ ารเรียน การวดั ผลประเมนิ ผล ๔ หลักสูตรมีองค์ประกอบสอดคล้องกนั ๕ หลักสตู รผา่ นความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษา ๖ มกี ารประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สูตร ๗ เน้อื หามคี วามเหมาะสมกบั ระยะเวลาเรยี น ๘ เน้อื หาเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น สรุปผลการประเมนิ มีจานวน..............ข้อ คดิ เป็นรอ้ ยละ............... ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………
~ 16 ~ แบบ ตน. ๑.2 สาหรับคณะกรรมการ แบบตรวจสอบรายการเพอื่ ประเมนิ หลักสูตร ด้านการนาหลักสูตรไปใช้ หลักสูตร..............................................................................................................จานวน.................ชัว่ โมง คาชี้แจง แบบตรวจสอบรายการสาหรับคณะกรรมการประเมินหลักสูตร เพ่ือประเมินหลักสูตรด้าน การนาหลกั สูตรไปใช้ โดยใช้เครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งใหต้ รงกบั ความเปน็ จริง รวมทั้งบรรยายจุดเด่น และจุดทค่ี วรพฒั นา ตามประเด็นทพี่ บ ที่ รายการ ผลการตรวจสอบ จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา มี ไมม่ ี ๑ การประชาสมั พันธ์หลกั สูตร ๒ สอื่ ประกอบหลกั สูตรมีความสอดคล้องกับเนือ้ หา ๓ ส่อื ประกอบหลักสูตรมคี วามเหมาะสมกับผเู้ รยี น ๔ วัสดุอุปกรณเ์ พียงพอ ๕ มแี หลง่ เรยี นรู้ ๖ แหลง่ เรียนรเู้ ขา้ ถงึ ได้สะดวก ๗ แสงสว่างในห้องเรียนเหมาะสม ๘ สภาพสถานทเ่ี รียนเอื้อตอ่ การเรียนรู้ ๙ ครูมแี ผนการเรยี นการสอน ๑๐ ครมู ีเทคนคิ การถา่ ยทอดความรู้ ๑๑ ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑๒ มีการประเมนิ ผลผเู้ รียน ๑๓ ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการวดั ผลประเมนิ ผล ๑๔ มีการนาผลการประเมนิ ไปใช้ปรับปรุง ๑๕ มีการนิเทศ ติดตามผล สรปุ ผลการประเมนิ มีจานวน...........ขอ้ คิดเป็นรอ้ ยละ.............. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………
~ 17 ~ แบบ ตน. 3.1 สาหรบั ผเู้ รยี น แบบสอบถามความคิดเห็นเกยี่ วกับการเรยี นการสอนหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง ชื่อหลักสตู ร............................................................................................................จานวน...............ชั่วโมง คาชี้แจง ข้อมูลแบบสอบถามนี้จะนาไปเพ่ือการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรเท่านั้นกรุณาตอบ แบบสอบถามตรงตามความเปน็ จรงิ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม เพศ ชาย หญิง อายุ..................ปี อาชีพ รับจ้าง ธรุ กิจส่วนตัว เกษตรกร รบั ราชการ อนื่ ๆ ตอนท่ี ๒ รายการ ข้อเสนอแนะ ๑. ท่านไดร้ บั ขา่ วสารอยา่ งไร แผน่ พบั ประชาสัมพันธ์ ครู/เจา้ หนา้ ที่ กศน. อ่ืน ๆ........................ ๒. เน้ือหาของหลักสตู รเหมาะสมกับเวลาหรือไม่ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ๓. เน้อื หาของหลกั สตู รเหมาะสมกบั ตัวท่านหรอื ไม่ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ๔. มสี อื่ ประกอบในการเรยี น มี ไมม่ ี ๕. มวี ัสดุอปุ กรณ์ประกอบพอเพยี ง พอเพียง ไม่พอเพยี ง ๖. มวี สั ดุอุปกรณ์ใช้งานได้ดี ใช้งานไดด้ ี พอใช้ได้ ๗. ท่านสามารถเข้าถึงแหลง่ เรยี นรเู้ ก่ียวกับหลักสตู รน้ี สะดวกหรือไม่ สะดวก ไมส่ ะดวก ๘. แสงสว่างในหอ้ งเรยี น เพียงพอหรือไม่ พอเพียง ไมพ่ อเพยี ง ๙. สภาพสถานท่เี รียน เอ้ือตอ่ การเรยี นรหู้ รือไม่ เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ไมเ่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ ๑๐. ท่านมคี วามพึงพอใจต่อเทคนิควิธีการถา่ ยทอดความรขู้ องครู/วิทยากรหรอื ไม่ พงึ พอใจ ไม่พึงพอใจ ๑๑. ทา่ นมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอนหรือไม่ มสี ่วนรว่ ม ไม่มสี ว่ นร่วม ๑๒. ทา่ นมสี ่วนร่วมในการวดั ประเมนิ ผลหรือไม่ มีส่วนรว่ ม ไมม่ สี ว่ นร่วม ๑๓. ท่านมคี วามพึงพอใจต่อการเรียนหลักสูตรนห้ี รือไม่ พงึ พอใจ ไมพ่ งึ พอใจ ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………
~ 18 ~ แบบ ตน. ๓.๒ สาหรับผู้สอน แบบวิเคราะหร์ อ้ ยละของผเู้ รยี น ด้านความรู้ (จากแบบทดสอบหลังเรยี น) ท่ี ชื่อ - สกุล คะแนนเต็ม.........คะแนน คะแนนท่ีได้ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑ ๒ .................. คน ๓ ..................... ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ จานวนผู้ทไี่ ด้คะแนนตั้งแต่ ร้อยละ 60 คิดเปน็ ร้อยละ ลงชอ่ื ....................................................ผสู้ อน (...................................................) ตาแหน่ง........................................................
~ 19 ~ แบบ ตน. ๓.๓ สาหรับผูส้ อน แบบวิเคราะห์รอ้ ยละของผูเ้ รียน ไม่ผา่ น ดา้ นทกั ษะ (จากผลงาน/ชิ้นงาน) .................... คน ท่ี ชือ่ - สกุล ผา่ น ---------------- ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ จานวนผ้ทู ่มี ผี ลงาน/ช้นิ งาน ผา่ นเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ ลงช่ือ....................................................ผสู้ อน (...................................................) ตาแหน่ง........................................................
~ 20 ~ หลกั สูตรท่ีไดร้ บั ประเมิน การปลกู พชื แบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพรปอู งกนั โรค COVID-19 จานวน 6 ชว่ั โมง
~ 21 ~ หลกั สตู รการปลูกพชื แบบเกษตรธรรมชาติ และการทาสมนุ ไพรป้องกันโรคโควิด-19 จานวน 6 ชั่วโมง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแสวงหา สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั อ่างทอง ความเปน็ มา เน่ืองจากสถานการณ์โลกปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) เป็น จานวนมากสง่ ผลให้คนในประเทศไทยตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนาเป็นวงกวา้ ง ทวั่ ทั้งประเทศไทย ดงั นน้ั จงึ ตอ้ ง มีมาตรการเพอ่ื ชว่ ยในการปอู งกันดแู ลให้กับกลุ่มเส่ียงโดยท่ัวไป ซ่ึงมาตรการท่ีสถานศึกษา ได้ทาการ ส่งเสริมคอื การปลูกพชื สมนุ ไพรและการแปรรปู สมนุ ไพรเบอ้ื งตน้ เพอ่ื ปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโค วดิ -19 โดยการดาเนนิ การใหค้ วามรู้ กับประชาชนและนาความรู้ไปใชใ้ นการปูองกันปัญหาดังกล่าวใน เบอ้ื งตน้ กศน.อาเภอแสวงหา จึงได้จัดทาหลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทา สมุนไพรปูองกันโรคโควิด-19 จานวน 6 ชัว่ โมง เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้รับความรู้ คาแนะนา ในการปลูก พชื สมนุ ไพรในระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรปู สมุนไพรเบื้องต้นเพื่อใช้ปูองกันโรคโควิด-19 ได้ อย่างถกู ตอ้ ง และสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปเผยแพร่ ให้คนในครอบครวั และชมุ ชนต่อไป หลักการของหลักสูตร ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองการปูองกันโรคโควิด-19 โดยการปลูกพืชสมุนไพรด้วย ระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรูปสมุนไพร มงุ่ เนน้ การนาความรู้ ไปปฏิบัตจิ ริงใน ด้วยการปลูกพืชสมุนไพรด้วยระบบเกษตรธรรมชาติและการแปร รูปสมุนไพรในเบ้ืองตน้ จุดมุง่ หมาย 1. เพ่ือให้ประขาขนมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองการปูองกันโรคโควิด 19 โดยการปลูกพืช สมุนไพรด้วยระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรูปสมนุ ไพร 2. เพ่ือให้ประชาขนนาความรู้ ไปปฏิบัติจริงใน ด้วยการปลูกพืชสมุนไพรด้วยระบบเกษตร ธรรมชาติและการแปรรปู สมนุ ไพรเบอ้ื งตน้ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนท่ัวไปในพนื้ ท่ี ระยะเวลา จานวน 6 ชัว่ โมง - ภาคทฤษฎี จานวน 3 ชวั่ โมง - ภาคปฏบิ ัติ จานวน 3 ช่วั โมง
~ 22 ~ โครงสรา้ งหลกั สตู ร เรอื่ ง หวั เรอ่ื ง จดุ ประสงคก์ าร เนื้อหา การจัดกระบวนการ เวลา (ช่วั โมง) ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 การปูองกนั เพ่อื ให้ผ้เู รียนมี 1. การปูองกันโรค บรรยายให้ความรู้ 3 -3 โรคโควิด- ความรู้ความเข้าใจ โควิด 19 ด้วย 19 โดย เรือ่ งการปูองกัน สมุนไพร การปลูก โรคโควิด 19 โดย 2. การปลูกพืช พืช การปลกู พืช สมนุ ไพรด้วยระบบ สมนุ ไพร สมุนไพรดว้ ยระบบ เกษตรธรรมชาติ ด้วยระบบ เกษตรธรรมชาติ 3. การแปรรูป เกษตร และการแปรูป สมุนไพรเบื้องตน้ ธรรมชาติ สมุนไพร และการแป รูปสมุนไพร 2 การปลูก เพือ่ ให้ผเู้ รยี นฝกึ 1. การปลูก การฝึกปฏบิ ัตติ ิ - 33 พชื ปฏบิ ัตจิ ริง โดยการ สมนุ ไพรดว้ ยระบบ สมุนไพร ปลูกพชื สมุนไพร เกษตรธรรมชาติ ดว้ ยระบบ ดว้ ยระบบเกษตร 2. การแปรรูป เกษตร ธรรมชาตแิ ละการ สมนุ ไพรในรปู แบบ ธรรมชาติ แปรรูปสมนุ ไพร ผง และบรรจแุ คป็ และการ เบ้อื งต้น ซลู แปรรปู สมุนไพร รวม 3 3 6 สื่อการเรียนรู้ - แผ่นพับให้ความรู้เร่ืองการปูองกันโรคโควิด 19 ,การปลูกสมุนไพรด้วยระบบเกษตร ธรรมชาติ , การแปรรูปสมนุ ไพรเบอ้ื งตน้ - วัสดุ/อปุ กรณ์การปลูกสมุนไพรดว้ ยระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรปู สมุนไพร การวดั และประเมินผล 1. แบบทดสอบ 2. การซกั ถามและการตอบคาถาม 3. ชนิ้ งาน เง่ือนไขการจบหลักสตู ร 1. รอ้ ยละ 80 ผู้เรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลกั สตู รฯ 2. รอ้ ยละ 80 ผู้เรยี นผา่ นกจิ กรรมตามหลักสตู รฯ เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่จะไดร้ บั หลังจากจบหลักสตู ร วุฒบิ ัตรผู้ผา่ นการอบรมตามหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11)
~ 23 ~ ทปี่ รึกษา คณะผู้จัดทา พ.จ.อ.พัฒน์ ผดงุ ญาติ นายอาไพ ข่าขนั มะลี ผอู้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวัดอา่ งทอง นางสาวอญั ชลี พงษพ์ านชิ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวดั อ่างทอง ศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.จงั หวัดอ่างทอง คณะทางาน นางจริ ัชยา เฟ่อื งฟูรัตน์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสามโก้ รกั ษาการในตาแหนง่ นางสาวณตั ฐิ ิญา พรหมทอง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอแสวงหา นายชัยธวชั สมนกึ ครผู ชู้ ว่ ย นายสมบตั ิ เกตุถาวร ครูผู้ชว่ ย นางกฤษณา จัน่ ศรี ครูอาสาสมคั ร กศน. นางสาวรัตนาภรณ์ สมบญุ ครู กศน.ตาบลแสวงหา นางนพวรรณ ศรีเคลอื บ ครู กศน.ตาบลวังน้าเย็น นางธดิ าสวรรค์ แมลงภู่ ครู กศน.ตาบลสีบัวทอง นายณฐั พงษ์ วารนชุ ครู กศน.ตาบลบ้านพราน นายพิชชานันท์ ชยั สุวรรณ์ ครู กศน.ตาบลศรพี ราน นายศุภโชค บุตรตะวงศ์ ครู กศน.ตาบลห้วยไผ่ นางจฑุ ารตั น์ ไพรสิทธิ์ ครู กศน.ตาบลจาลอง นางสาวบุญสม อันประนิตย์ ครผู สู้ อนคนพกิ าร บรรณารักษ์ บรรณาธกิ าร นายชยั ธวัช สมนึก ครูผ้ชู ่วย จดั พิมพ์ตน้ ฉบับและจดั ทารปู เลม่ ครผู ชู้ ่วย นายชัยธวัช สมนึก
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: