คำนำ รายงานผลการดำเนนิ งานการจัดกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC ) จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกลุ่ม “PLC BNA”เพ่ือแก้ไขปัญหา เร่ือง การจดั การเรยี นการสอนในชน้ั เรยี น นกั เรยี นไมบ่ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ตัวชีว้ ัดในวิชาทเี่ รยี น และเป็นการ สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปฏบิ ัตดิ ้วยกระบวนการ PLC เพ่ือแก้ไขปญั หาด้านพฤติกรรม รวมทัง้ แลกเปล่ยี น เรยี นรู้ การติดตามและประเมนิ ผลในการดำเนินงานของโรงเรยี นบา้ นน้อยพัฒนาของครูผู้สอนใน โรงเรยี น หวังเปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าเอกสารเลม่ นี้ จะเกิดประโยชน์ตอ่ ผู้ครูผู้สอน ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาและบุคลากร ทางการ ศึกษา รวมท้งั ผู้สนใจทว่ั ไป ในการนำไปใช้เพื่อศกึ ษาเรยี นรูส้ รา้ งความเขา้ ใจและปฏิบตั ิตามแนวทาง ดังกลา่ ว ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
ผลการดำเนินกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ 1. หลกั การและเหตุผล ชุมชนแห่งการเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลมุ่ กันของครผู ูส้ อนและบุคลากรทางการศกึ ษา ในลกั ษณะของชุมชนเชงิ วิชาการท่มี ีเปา้ หมาย เพอื่ พัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิ การถอดบทเรียน และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ รว่ มกนั อยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สรุ พล ธรรมร่มดี (2553) ยนื ยันว่าการดำเนนิ การในรูปแบบ PLC นำไปสู่ การเปลี่ยนแปลง เชิงคณุ ภาพทั้งดา้ นวิชาชพี และผลสมั ฤทธข์ิ องนักเรยี น โดย มีผลดที งั้ ต่อครผู สู้ อนและนกั เรียน ในแง่ผลดีต่อ ครผู ู้สอน พบวา่ PLC สง่ ผลต่อครผู ้สู อนกล่าวคอื ลดความรู้สกึ โดดเด่ยี วในงานสอนของครู เพม่ิ ความรูส้ กึ ผูกพัน ตอ่ พนั ธกจิ และเปา้ หมายของโรงเรียนมากขน้ึ โดยเพิม่ ความกระตือรือรน้ ทจ่ี ะปฏิบัตใิ หบ้ รรลุพันธกจิ อย่างแขง็ ขัน จนเกดิ ความรสู้ ึกว่า ต้องการรว่ มกนั เรียนรูแ้ ละรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรยี น ถือเป็นพลงั การเรยี นรูซ้ ึ่งส่งผลให้การปฏิบัตกิ ารสอนในชน้ั เรียนให้มีผลดยี งิ่ ข้ึน รวมทั้งเข้าใจบทบาทและพฤติกรรมการ สอนทจี่ ะชว่ ยให้นกั เรยี นเกดิ การเรียนรู้ได้ดที ่สี ดุ ซงึ่ จะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใสใ่ จในแง่ของผลดตี อ่ ผู้เรียน พบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซำ้ ชน้ั และจำนวนชน้ั เรยี นทต่ี ้องเลื่อนหรือชะลอการจัดการเรยี นร้ใู ห้ น้อยลง อัตราการขาดเรยี นลดลงมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนในวชิ าวิทยาศาสตร์ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวชิ าการอา่ น ท่สี ูงข้ึนอย่างเด่นชดั สุดทา้ ยคอื มีความแตกตา่ งด้านผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรยี นท่ีมภี ูมหิ ลงั ไม่ เหมอื นกันลดลงอยา่ งชดั เจน จากการศึกษาประโยชนข์ องกระบวนการดังกล่าว ผจู้ ัดทำจงึ เกิดความคิดทจ่ี ะนำกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพื่อเปน็ การปรับปรงุ แก้ปัญหาการจดั กิจกรรมการเรียนรูร้ ่วมกันและ รว่ มกันพัฒนานวัตกรรมทใี่ ชใ้ นการแกป้ ัญหาเกยี่ วกบั การจัดการเรยี นร้แู กน่ ักเรียนในแต่ละกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตลอดจนพฒั นาทักษะทางดา้ นคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรยี นใหด้ ยี งิ่ ข้นึ โดยได้เริม่ ดำเนินกจิ กรรมกบั นกั เรยี นระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 เพื่อแก้ไขปญั หาท่เี กิดขึ้นจริงในหอ้ งเรยี น คือ “นักเรยี นไมบ่ รรลุ วตั ถุประสงค์ตัวชี้วัดในวชิ าทเี่ รยี น” เน่ืองจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) จำเปน็ ต้องมีการเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม มีการแบง่ กล่มุ นักเรียน แบง่ เวลาเรยี น ทำให้เวลาเรยี น ในห้องเรยี นน้อยลง ส่งผลใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการฟังและเห็นคณุ คา่ ของการเป็นผูฟ้ ังทีด่ ี 2. เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในระดับที่สูงขึ้น
3. เพิ่มโอกาสในการเขา้ ถึงเน้ือหาการเรียนได้จากอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครอื่ งคอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มือถือ ผา่ นทางระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ 4. มีนวตั กรรมหรอื คู่มือการใช้ที่มีความเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผู้เรียน 3. วิธกี ารดำเนนิ งาน ➢แนวทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการสร้างชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี (PLC) 1. แบง่ กลุ่มยอ่ ย ตามความเหมาะสม 2. ให้แตล่ ะกลุ่มคิดแนวทางแกไ้ ขปัญหา 1 เรือ่ งจากประเด็นต่อไปนี้ 2.1 ปญั หาการเรยี นรูข้ องนักเรยี น 1 เรื่อง/กล่มุ 2.2 ปัญหาด้านการจดั การเรียนการสอนของครู หรอื เทคนคิ วธิ กี ารสอนทค่ี รูควรพัฒนา จำนวน 1 เรอื่ ง/กล่มุ 3. จดั ทำโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ➢ กระบวนการของ PLC ขัน้ ตอนท่ี 1 Community สร้างทมี ครู ขน้ั ตอนที่ 2 Practice จดั การเรียนรู้ เช่นการวเิ คราะหห์ น่วยการเรยี นรู้ ร่วมกนั ออกแบบกจิ กรรม การเรยี นรู้ ในการจดั ทำแผนการเรยี นรู้ เพอ่ื แก้ปัญหา หรือพัฒนา และนำสกู่ ารปฏบิ ัติ โดยมีการเปิดห้องเรยี น เพ่ือการ สงั เกตการณส์ อน เครือ่ งมือในการประเมนิ - แบบนิเทศ 01 แบบสังเกตการณจ์ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ขนั้ ตอนท่ี 3 Reflection สะท้อนคิดเพื่อการพฒั นาการปฏิบัติ ขนั้ ตอนที่ 4 Evaluation ประเมินเพอื่ พัฒนาสมรรถนะครู ขั้นตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครอื ขา่ ยการพฒั นา ➢ บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิกกลมุ่ ตามกระบวนการ PLC - Model Teacher หมายถึง ครผู ้รู ับการนเิ ทศ หรือ ครผู ู้สอน - Buddy Teacher หมายถึง ครูคู่นเิ ทศ หรอื ครูรว่ มเรียนรู้ - Mentor หมายถึง หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ - Expert หมายถึง ผูเ้ ชี่ยวชาญ เชน่ ครู คศ.3 นักวชิ าการ อาจารย์มหาวิทยาลยั ศึกษานิเทศก์ - Administrator หมายถงึ ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน - Recorder หมายถงึ ผูบ้ นั ทึกรายงานการประชมุ 4. วนั เวลา สถานที่ ในการดำเนินงาน ระยะเวลา : ต้งั แต่ วนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 – 30 กันยายน พ.ศ. 2565 สถานท่ี : โรงเรยี นบ้านนอ้ ยพัฒนา
5. สรุปผลการดำเนินงาน ➢ ประเด็นดา้ นผเู้ รยี น - นักเรยี นมีแรงจงู ใจในการเรียนและสามารถศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองจากสื่อการสอน บทเรยี น ออนไลน์ และจากเวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ ท่คี รูแนะนำ ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนครอบคลุมตามเน้ือหาการเรยี นรู้ - นกั เรยี นมีความรบั ผดิ ชอบ มคี วามกระตือรอื ร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝห่ าความรู้ ใหม่ๆ ตรงกับระบบการเรียนรทู้ เ่ี น้นผ้เู รียนเป็นศูนย์กลาง โดยมีผูส้ อนเป็นเพยี งผูแ้ นะนำ ทป่ี รกึ ษา และแนะนำ แหล่งความรใู้ หม่ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการเรยี นผู้เรียนสามารถทราบผลยอ้ นกลบั ของการเรียน - ส่งเสริมให้นักเรยี นเกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์และเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ในทางที่เหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคมุ้ กันให้กับตวั นักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตวั กรองที่คอยช่วยให้นกั เรียน สามารถแยกแยะขา่ วสารหรือข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วให้รบั รูไ้ ด้อยา่ งมคี ุณภาพ - นักเรียนมีแรงจงู ใจในการเรียนและศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง เรยี นอยา่ งมคี วามสุขและมปี ฏิสัมพันธ์ ระหว่างครกู บั นักเรยี น และนักเรยี นกับนักเรียนด้วยกนั เองเพม่ิ มากขึ้น - นกั เรียนมีพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงคห์ ลายประการ เช่น ได้พูดคยุ ถกเถยี ง อยา่ งมเี หตุผล และยอมรับ ฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่นมากข้ึน ➢ประเดน็ ด้านกิจกรรม - ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนผา่ นสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรยี นรู้จากแหล่งเรยี นรูน้ อกชัน้ เรยี นท่ีทำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรียนร้ไู ด้ทกุ ทีท่ ุกเวลา - - ครแู ละผู้เรยี นมีปฏสิ ัมพนั ธ/์ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ทำให้บรรยากาศการเรยี นสอนดำเนินไป โดยเน้น ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรู้ ➢ประเด็นดา้ นครู - ครูจะทำหน้าเป็นผู้อำนวยที่คอยให้ความชว่ ยเหลือ คำปรึกษา และดงึ ศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถ เรยี นรไู้ ดด้ ้วยตนเอง สร้างแรงจงู ใจและแรงบันดาลใจในการเรยี น ➢ประเดน็ สอื่ การสอน - ส่ือกจิ กรรมและแหลง่ การเรียนรมู้ คี วามถูกตอ้ งเหมาะสมมีประสิทธิภาพ (ด้านคุณภาพ) - สื่อมคี วามเพียงพอเหมาะสม (ดา้ นปรมิ าณ) - นกั เรยี นได้ใช้เครื่องมือท่ีตนถนดั คือ เทคโนโลยกี ารส่ือสารสมัยใหม่ เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ตและสงั คม ออนไลน์ เมือ่ ได้ใชห้ รือทำอะไรท่ีตนชอบหรือถนดั จงึ ทำให้ผเู้ รียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อยา่ ง อัตโนมัติ ผู้เรยี นเกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมเปน็ ไปตามท่คี รตู ้องการใหเ้ กิดขน้ึ ในตวั ผูเ้ รียน ➢ประเด็นด้านบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรยี นแบบออนไลน์ เป็นสิ่งทีส่ ำคญั ทจี่ ะทำให้ผูเ้ รียนให้ความสนใจใคร่รู้และ พรอ้ มที่จะรว่ มพดู คุยแลกเปล่ียนเรียนร้อู ย่างมีสว่ นร่วมมากข้นึ
6. อภิปรายผลการดำเนนิ งาน 6.1 ผลลัพธท์ เ่ี กดิ จากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเดน็ ความรทู้ ่ีนา่ สนใจ ทเี่ กดิ ขึน้ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของสมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชนก์ บั ครู และครสู ามารถนำไปใช้ในการพฒั นาให้เกดิ ประโยชน์กับผูเ้ รียน ได้ อยา่ งเปน็ รูปธรรม (สมาชิกเครอื ข่ายมีการนำไปใช้ได้อยา่ งชัดเจน) 2) มีรอ่ งรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวตั กรรม และประเดน็ ความรทู้ น่ี า่ สนใจ ท่ี เกิดขนึ้ ของสมาชิกเครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทีด่ ำเนินโครงการทุกครัง้ ท่ีมีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้โดยสมาชกิ ทุก คน 3) ผู้สอนหลกั และสมาชิกในกลุม่ PLC สามารถนำผลการปฏบิ ัติการจดั กิจกรรมการเรียนรูม้ า อภปิ รายเพ่ือแลกเปลย่ี นความคดิ โดยมคี รผู ้สู อนหลักเปน็ ผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสำเรจ็ จดุ เด่นและ จดุ ที่ต้องพัฒนาในการจัดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.2 ผลลัพธ์ที่เกิดกับผ้เู รียน / ครู / สมาชิกทเี่ ข้าร่วมเครือข่าย PLC 1) ผู้เรียนได้การเรียนรู้ตามเป้าหมาย และวตั ถุประสงค์ท่กี ำหนดไว้ทกุ ประการ และมีความ ชดั เจน ทัง้ เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รยี นดขี นึ้ และทำใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นาและเกิดคุณลักษณะ อย่างชดั เจน 3) ผูส้ อนไดร้ ับความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นประโยชนต์ ่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จัดการเรยี นรู้ และผสู้ อนไดร้ ับนวตั กรรมและเร่ิมวางแผนจัดทำวจิ ยั ปฏิบัติการในช้ันเรียน 4) ผูส้ อนสามารถนำความรูแ้ ละประสบการณท์ ี่ไดร้ บั จากการจดั กิจกรรมการเรียนรไู้ ป ประยุกตใ์ ช้ ในการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรูท้ ่ีได้รบั จากการทำวิจัย ปฏิบัตกิ าร ในช้นั เรยี นไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ 6.3 คุณคา่ ทเ่ี กิดตอ่ วงการศึกษา 1) มเี ครือข่ายทช่ี ดั เจน และการขยายเครือข่ายแล้วและมคี วามชดั เจน เป็นรปู ธรรมและมี แนวโน้ม การเกิดเครือข่ายเพิ่มขนึ้ 2) การร่วมกนั รับผิดชอบต่อการเรยี นรขู้ องนักเรียน ใหผ้ ลการเรยี นรู้ทต่ี อ้ งการใหเ้ กิดขึน้ ในตัว นกั เรยี น โดยครูทเ่ี ปน็ สมาชิกในชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพทกุ คนวางเป้าหมายร่วมกนั 7. ผลที่เกดิ จากการดำเนนิ งาน 7.1 ไดน้ วัตกรรมในการแก้ไขปญั หา 7.2 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นดีขึน้ หรอื เป็นไปตามเกณฑ์ทต่ี กลงกนั ไว้ 7.3 พฤติกรรมของนักเรียนที่มปี ัญหาเปลย่ี นไปในทางท่ีดีขึ้นตามข้อตกลงท่ตี ง้ั ไว้ 7.4 นำไปสกู่ ารอบรมคปู องพัฒนาครู และรวบรวมสง่ เพ่ือเก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงาน ตอ่ ไป 8. รอ่ งรอย/หลักฐาน 8.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ พรอ้ มบนั ทึกหลังการสอน 8.2 ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากับสมาชกิ กลมุ่ PLC 8.3 ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน 8.4 แบบสงั เกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 9. บทเรยี นท่ไี ดจ้ ากการดำเนนิ งาน ครูผูส้ อนได้เล็งเหน็ ถึงปัญหาที่หลากหลายในหอ้ งเรยี น และพฤติกรรมของนักเรยี นทแ่ี ตกตา่ งกัน ในแต่ ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรทู้ ่ีจะหาแนวทางในการแก้ปญั หาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันผ่านการอภิปรายร่วมกัน กับเพื่อนครแู ละนกั เรยี น ชมุ ชนการเรยี นรวู้ ิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการท่มี ปี ระโยชน์และ คมุ้ คา่ สะทอ้ นผลเชิงวิชาชพี โดยการพูดคุยสนทนากนั ระหว่างสมาชิกในชมุ ชนการเรียนรู้ ทจี่ ะก่อให้เกดิ ผล ทางบวกต่อการเรยี นการสอนและคณุ ภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรอื ช่วยพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ และส่งผลให้นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ขน้ึ 10. ส่ิงทีจ่ ะดำเนนิ การต่อไป การจัดการเรยี นการสอนออนไลนม์ าใชใ้ นการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจดั การเรียนการ สอน เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหผ้ สู้ อนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสือ่ การเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย นา่ สนใจ โดย พัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ แบบ distance learning การเรียนการสอนทางไกล ใช้ สอ่ื การเรียนออนไลน์ เชน่ Google Site, แอพพลเิ คชั่นตา่ งๆ มาชว่ ยเพมิ่ เตมิ จากการเรยี นในห้องเรยี นปกติ และทำให้ผูเ้ รียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลงั ได้และยังเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นเข้าถึงแหล่งเรียนรไู้ ดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา จึงตอ้ งการเผยแพร่เทคนคิ ในการดูแลและบรหิ ารช้ันเรียนใหก้ บั เพ่ือนครูในชน้ั เรียนอน่ื ๆ และผทู้ ่ีสนใจ ตอ่ ไป 11. ปัญหา /อุปสรรค การพบปะพูดคยุ ระหว่างครูผู้สอนประจำวชิ าไม่ค่อยต่อเนื่องเท่าทีค่ วร เนื่องดว้ ยคาบสอนตรงกันและ ในบางคร้งั ครผู ูส้ อนมีภาระนอกเหนอื งานสอนมาก จึงไมส่ ะดวกในการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ 12. ข้อเสนอแนะ ควรมีเครอื ข่ายออนไลนเ์ ปน็ ส่อื กลางในการติดต่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหวา่ งครูทท่ี ำงานร่วมกนั เช่น กลมุ่ Line หรือ Facebook และควรมกี ารวิจัยเพื่อหารปู แบบของบทเรียนออนไลน์ ที่เหมาะสมกับการ เรยี นการสอนในระดับชน้ั ตา่ ง ๆ เพ่อื รองรบั การเรียนการสอน เพราะผูเ้ รียนแตล่ ะช่วงวยั มดี ้านความร้แู ละ ทักษะ ทแ่ี ตกตา่ งกนั
บันทึกการจดั กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรเู้ ชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community) โรงเรยี นบ้านนอ้ ยพัฒนา ครั้งท่ี 1 การค้นหาหาปัญหาและสาเหตุของปัญหา วันท่ี 16 พฤศจิกายน 2564 เวลา 14.30 – 16.30 น. จำนวน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 สถานท่ี ห้องประชุมโรงเรยี นบ้านนอ้ ยพัฒนา สมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรม ที่ ชือ่ - สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื 1 นายผิน มุง่ ป่ันกลาง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 2 นายสมเกยี รติ รักษาทรัพย์ ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ 3 นายสมบตั ิ มะเดื่อชุมพร ครูผสู้ อน 4 นางเพยี งพทิ ยั เรืองเดช ครูผู้ร่วมเรียนรู้ 5 นางเสาวภา ภพู ชิ ติ ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ 6 น.ส.อารีย์ มกิ ขุนทด ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ 7 น.ส.ขวัญฤทยั เงนิ ดี ครผู รู้ ว่ มเรยี นรู้ 8 นางแพรวพรรณ จีรังโคกกรวาด ครผู ู้รว่ มเรยี นรู้ 9 นายต้นตระการ เขม็ ทิศ ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ 10 นายสุภัทรชยั เข็มแก้ว ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ 11 น.ส.ชลุ พี ร สายธนู ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ 1. นำเสนอประเดน็ ปญั หาที่จะพัฒนา 1.1 ปญั หานกั เรยี นไม่ทกั ทายครเู ม่ือเจอครู 1.2 ปัญหานักเรียนจำพยัญชนะและสระไทยไม่ได้ 1.3 ปญั หานักเรียนไม่กลา้ แสดงออก 1.4 ปัญหานกั เรยี นบวกลบเลข 1 หลกั ไมค่ ล่อง 1.5 ปัญหานักเรียนเขียนหนังสอื ช้า 1.6 ปัญหานกั เรียนเขียนสระไม่ถูกตามหลักการเขียน 1.7 ปญั หานกั เรียนเขยี นหนงั สอื ไม่สวย 2. เลอื กปญั หาทีจ่ ะนำมาแก้ไขปัญหารว่ มกนั จำนวน 1 ปญั หา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 สมาชกิ เลอื กปัญหานักเรียนบวกลบเลข 1 หลกั ไม่คล่อง 3. วเิ คราะห์สาเหตุของปญั หา นกั เรียนบวกลบเลข 1 หลกั ไมค่ ล่องเนื่องจาก นักเรียนไม่ได้ฝกึ การบวกลบถูกวิธี 4. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม สมาชิก ไปศกึ ษาแนวทางการแก้ไขปัญหา จากงานวิจัย รูปแบบทม่ี ผี ู้พัฒนาแล้ว เปน็ ต้น แล้วนำ มาร่วมประชุมครั้งตอ่ ไป
ลงช่อื ...........................................ผ้บู ันทึก ลงช่อื .............................................ผูร้ บั รอง (นาย ตน้ ตระการ เขม็ ทิศ) (นายสมเกยี รติ รักษาทรัพย์) ครู หวั หน้าฝา่ ยวชิ าการ ลงชอ่ื ............................................. (นายผนิ มุ่งปัน่ กลาง) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นน้อยพัฒนา
ภาพกิจกรรม
บันทึกการจดั กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวชิ าชีพ (Professional Learning Community) โรงเรยี นบา้ นน้อยพฒั นา คร้งั ท่ี 2 แนวทางแก้ปัญหาและการออกแบบกจิ กรรม วันที่ 23 พฤศจกิ ายน 2564 เวลา 14.30 – 16.30 น. จำนวน 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 สถานที่ ห้องประชุมโรงเรียนบา้ นน้อยพัฒนา ................................................................................................................................................................... สมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรม ท่ี ชอื่ - สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1 นายผนิ ม่งุ ป่ันกลาง ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2 นายสมเกยี รติ รักษาทรัพย์ ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ 3 นายสมบัติ มะเด่ือชมุ พร ครูผสู้ อน 4 นางเพยี งพทิ ยั เรอื งเดช ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ 5 นางเสาวภา ภพู ิชิต ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ 6 น.ส.อารยี ์ มกิ ขุนทด ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ 7 น.ส.ขวญั ฤทยั เงินดี ครูผู้ร่วมเรียนรู้ 8 นางแพรวพรรณ จรี งั โคกกรวาด ครผู ูร้ ่วมเรยี นรู้ 9 นายตน้ ตระการ เข็มทิศ ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ 10 นายสุภัทรชยั เข็มแกว้ ครูผู้รว่ มเรียนรู้ 11 น.ส.ชลุ ีพร สายธนู ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ 1. นำเสนอแนวทางแก้ปัญหา แนวทางแก้ปัญหา 1. ใชส้ ื่อทีจ่ ับต้องได้ เชน่ ก้อนหิน , ใบไม้ , สีไม้ 2. ใชเ้ พลงหรือเกมเพื่อกระตนุ้ การบวกลบเลข 3. สอนซ่อมเสริมเพื่อพฒั นาการบวกลบเลขให้ดขี ึน้ 2. ออกแบบกจิ กรรมในการแก้ไขปญั หา 1. นำส่อื ก้อนหิน มาให้นักเรยี น บวกลบเลข โดยครูกำกับการปฏบิ ัตขิ องนักเรยี น 2. นำโจทย์อยา่ งงา่ ย เพื่อใหน้ ักเรียนบวกลบเลข โดยใชก้ อ้ นหนิ ทลี ะขน้ั ตอน 3. เขียนคะแนน แบบประเมนิ เพอ่ื บนั ทึกผล ตดิ ตามการพัฒนาการของนกั เรยี นทกุ ระดับความงา่ ยไป ยาก 3. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม สมาชิก นดั หมายเพื่อไปสังเกตการสอนของครูผ้สู อนในการพัฒนาแก้ไขปัญหาและนำผลท่ไี ด้จากการ จดั กจิ กรรมมาอภปิ รายและสรุปผลรว่ มกนั เพ่อื หาแนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนาต่อไป
ลงช่อื ...........................................ผ้บู ันทึก ลงช่อื .............................................ผูร้ บั รอง (นาย ตน้ ตระการ เขม็ ทิศ) (นายสมเกยี รติ รักษาทรัพย์) ครู หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ ลงชอ่ื ............................................. (นายผนิ มุ่งปัน่ กลาง) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นน้อยพัฒนา
ภาพกิจกรรม
บนั ทึกการจัดกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรเู้ ชงิ วิชาชีพ (Professional Learning Community) โรงเรยี นบา้ นน้อยพฒั นา ครงั้ ที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบกจิ กรรม/สังเกตการสอน วนั ท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2564 เวลา 14.30 – 16.30 น. จำนวน 2 ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 สถานท่ี ห้องประชุมโรงเรยี นบ้านนอ้ ยพัฒนา ................................................................................................................................................................... สมาชกิ ทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ที่ ชือ่ - สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1 นายต้นตระการ เขม็ ทิศ ครูผสู้ อน 2 นายสมเกยี รติ รกั ษาทรัพย์ ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ 3 นางแพรวพรรณ จรี ังโคกกรวาด ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ 4 นายสภุ ทั รชยั เขม็ แก้ว ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ 5 น.ส.ขวญั ฤทยั เงนิ ดี ครูผูร้ ่วมเรียนรู้ 1. ผลการสังเกต 1.1 ข้อดี 1) นกั เรยี นฝึกบวกลบเลขคณิตศาสตร์ 1 หลกั จากแบบฝึก ทำให้นักเรยี นบวกลบเลขได้ คลอ่ งขนึ้ 2) นกั เรียนบวกลบเลข 1 หลักอยา่ งถูกวธิ ี 1.2 ข้อควรปรับปรงุ 1) แบบฝึกหดั ควรเพ่ิมความยากข้ึนไปเร่อื ยๆเพ่ือให้เกิดผลลพั ธ์ทด่ี ี 2) ควรฝกึ บวกลบเลขบ่อยๆ และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน ลงชอ่ื ...........................................ผู้บนั ทกึ ลงชือ่ .............................................ผูร้ ับรอง (นาย ต้นตระการ เข็มทิศ) (นายสมเกยี รติ รกั ษาทรัพย์) ครู หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ลงชอื่ ............................................. (นายผิน มุ่งป่ันกลาง) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านนอ้ ยพัฒนา
ภาพกิจกรรม
บันทกึ การจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูเ้ ชิงวชิ าชีพ (Professional Learning Community) โรงเรียนบา้ นน้อยพัฒนา ครั้งท่ี 4 สะท้อนการทดลองใชร้ ปู แบบกจิ กรรมแก้ปัญหา วนั ท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2564 เวลา 14.30 – 16.30 น. จำนวน 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 สถานที่ ห้องประชุมโรงเรียนบา้ นนอ้ ยพัฒนา ................................................................................................................................................................... สมาชิกที่เขา้ รว่ มกิจกรรม ท่ี ชอื่ - สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอื่ 1 นายผิน มุ่งปัน่ กลาง ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 2 นายสมเกยี รติ รกั ษาทรัพย์ ครผู ้รู ่วมเรยี นรู้ 3 นายสมบตั ิ มะเดื่อชมุ พร ครผู ู้สอน 4 นางเพียงพิทยั เรอื งเดช ครูผู้ร่วมเรียนรู้ 5 นางเสาวภา ภพู ิชิต ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ 6 น.ส.อารีย์ มกิ ขนุ ทด ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ 7 น.ส.ขวญั ฤทัย เงินดี ครูผูร้ ่วมเรียนรู้ 8 นางแพรวพรรณ จรี ังโคกกรวาด ครผู ูร้ ่วมเรียนรู้ 9 นายต้นตระการ เข็มทิศ ครูผูร้ ว่ มเรียนรู้ 10 นายสุภัทรชัย เขม็ แกว้ ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ 11 น.ส.ชลุ ีพร สายธนู ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ 1. ครูร่วมเรยี นรู้นำกจิ กรรมไปทดลองใช้แสดงความคดิ เหน็ จากการท่ีนำแบบฝึกการบวกลบเลข 1 หลกั ของครูผสู้ อนหลกั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ไปทดลองใช้ กับนกั เรยี นชน้ั เรียนของตนเอง ผลการฝกึ นักเรยี นบวกลบเลข 1 หลักไดค้ ล่องมากขนึ้ 2. สมาชกิ ร่วมกันสะทอ้ นผลการทดลองของสมาชิกทีน่ ำกจิ กรรมไปทดลองใช้ 1.1 ข้อดี 1) นกั เรยี นฝึกบวกลบเลขคณิตศาสตร์ 1 หลกั จากแบบฝึก ทำใหน้ ักเรยี นบวกลบเลขได้ คลอ่ งขึน้ 2) นกั เรียนบวกลบเลข 1 หลักอย่างถกู วิธี 1.2 ขอ้ ควรปรบั ปรุง 1) แบบฝกึ หัดควรเพม่ิ ความยากขึ้นไปเรอ่ื ย ๆเพ่ือให้เกดิ ผลลพั ธท์ ดี่ ี 2) ควรฝึกบวกลบเลขบ่อยๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั 2. ผลทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรม สมาชิก นดั หมาย นำกจิ กรรมทีป่ รบั ปรุงแล้วไปทดลองใช้
ลงช่อื ...........................................ผ้บู ันทึก ลงช่อื .............................................ผูร้ บั รอง (นาย ตน้ ตระการ เขม็ ทิศ) (นายสมเกยี รติ รักษาทรัพย์) ครู หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ ลงชอ่ื ............................................. (นายผนิ มุ่งปัน่ กลาง) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นน้อยพัฒนา
ภาพกิจกรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: