ผักสมุนไพร รวบรวมโดย บุษราคัม อดุ มศกั ด์ิ สมนุ ไพรไทยนม้ี คี า มาก พระเจา อยหู วั ทรงฝากใหร กั ษา แตป ยู า ตายายใชก นั มา ควรลกู หลานรรู กั ษาใชส บื ไป เปน เอกลกั ษณข องชาตคิ วรศกึ ษา วิจัยยาประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสมยั รูป ระโยชนร โู ทษสมนุ ไพร เพอ่ื คนไทยอยรู อดตลอดกาล พระราชนพิ นธส มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี
ผกั สมนุ ไพร 2 คาํ นาํ สมุนไพรเปนตํารบั ยาพน้ื บา นทค่ี นไทยรจู กั และใชก นั มานานตง้ั แตส มยั ปูยาตายาย ซึ่งการรักษาทางการแพทยแผนใหมยังไมพัฒนา คนไทยโดยเฉพาะใน ชนบทไดร จู กั นําเอาของทม่ี อี ยใู กลต วั มาใชร กั ษาโรคภยั ไขเ จบ็ โดยเริม่ จากประสบการณ การลองผิดลองถูกและไดมีการบอกเลาตอๆกัน และไดม กี ารรวบรวมเปน ตําราเกดิ ขน้ึ จนกระทั่งถึงยุคการแพทยกาวหนาสมุนไพรดูจะหางหายไปจากชีวิตประจําวันของคน ไทย การรกั ษาโดยยาทเ่ี ปน สารสงั เคราะหต า งๆ ไดเขามามีบทบาทแทน จะหลงเหลือ อยูบางก็เฉพาะชนบทที่หางไกลเทานั้น แตในปจจุบันคนทั่วไปรวมถึงวงการแพทย เรม่ิ ตระหนักถึงพิษภัยการรักษาดวยยาท่ีเปนสารสังเคราะหทางเคมีวามีการตกคางและ ผลขางเคียงในอันที่จะกอใหเกิดโรคอื่นตามมาสมุนไพรจึงกลับมาไดรับความสนใจ อีกคร้ัง เชนเมื่อไมนานน้ีทางองคการเภสัชก็ไดผลิตขมิ้นชันเปนยาแคปซูลเพื่อรักษา โรคระบบกระเพาะอาหารขึน้ จาํ หนายแลว ในการรวบรวมผักท่ีเปนสมุนไพรขึ้นมานี้ก็เพื่อใหเห็นประโยชนของผัก ตางๆ นอกจากคณุ คา ทางอาหารทม่ี ปี ระโยชนแ ลว ผักหลายชนิดก็ยังมีสรรพคุณทางยา อีกดวย ถึงแมวาบางครั้งอาจจะไมชวยรักษาใหหายโดยเฉียบพลัน แตอยางนอ ยก็ชวย บรรเทาอาการลงได และเปน สง่ิ ซง่ึ มใี กลต วั อยแู ลว เนอ่ื งจากเปน อาหารในชวี ติ ประจํา วัน อยางนอ ยกเ็ พอ่ื บาํ รงุ สขุ ภาพ อกี ทง้ั ไมก อ ใหเ กดิ อนั ตรายใดๆ ถารูจักเลอื กใชใ หเปน ประโยชน ❦กระเจย๊ี บ ❦ตาํ ลงึ ❦มะเขอื เทศ ❦กระชาย ❦แตงกวา ❦มะเขอื พวง ❦กระเทียม ❦ถ่ัวฝก ยาว ❦มะนาว ❦กระเพรา ❦บัวบก ❦มะระ ❦ขมิ้นชัน ❦ผักชี ❦มะละกอ ❦ขา วโพด ❦ผกั บงุ ❦แมงลัก ❦ขงิ ❦พริกขี้หนู ❦สะระแหน ❦แครอท ❦ฟก ❦ผักสมุนไพรอื่นๆ ❦คื่นไฉ ❦ฟก ทอง ❦ตะไคร ❦มะกรูด ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 3 บทนํา ผักเปนพชื ทม่ี คี ณุ คา ทางอาหารมากมาย ผกั เกอื บทกุ ชนดิ มสี ารอาหาร ท่ีมีประโยชน หลายชนดิ มวี ติ ามนิ ทม่ี ปี ระโยชนส งู เชน ผักบุง ตาํ ลงึ หรือ ผักที่มีใบ สีเขียว บางชนดิ มโี ปรตนี สงู ถงึ 30% เชน ผกั ตระกลู ถว่ั หรอื ในผกั พน้ื บา น เชน มะรมุ มีโปรตนี สงู ถงึ 26.8% ของนา้ํ หนักแหง วติ ามนิ เอ 45,200 หนวยสากล (IU) วติ ามนิ ซี 440 มลิ ลกิ รมั แคลเซียม 1,760 มิลลิกรมั บางชนดิ นอกจากมสี ารอาหารตา งๆ แลวยังมีสารประกอบอื่นที่มีสรรพคุณทางยา เชน มะระมสี าร โพลีเปปไทด-พี ซง่ึ มคี ณุ สมบัติคลายอนิ ซลู นิ ซง่ึ ชว ยลดนา้ํ ตาลในคนทเ่ี ปน โรคเบาหวานได หรือในผักที่รสเปรี้ยว เชน มะนาว ซง่ึ อดุ มไปดว ยวติ ามนิ ซกี ช็ ว ยบรรเทาอาการจาก ไขหวัดไดเชนกัน จากสารอาหารตางๆในผักนั่นเองท่ีมีคุณสมบัติในการรักษาโรคได หลายชนิดโดยทเ่ี มอ่ื รา งกายไดร บั สารอาหารทม่ี ปี ระโยชน เชน วติ ามนิ เขา ไปกเ็ ปน การ ชวยเสริมสรา งใหร า งกายแขง็ แรง หรอื บางชนดิ มสี รรพคณุ รกั ษาโรคไดโ ดยตรง ซง่ึ ใน การรักษาโรคน้ันก็อาจจะไดจากท่ีเราได รับประทานเปนอาหารในชวี ติ ประจาํ วนั หรอื ปรุงแตง รว มกบั อาหารอน่ื เชน นา้ํ ผึ้ง เกลอื นา้ํ มะนาว หรือ สกดั เอานา้ํ คน้ั มาถทู าตรง สว นที่เกดิ โรค เปน ตน กระเจย๊ี บ Ladies’ fingers กระเจย๊ี บ ชื่อวิทยาศาสตร Abelmoschus esculentus (L.) ลกั ษณะ เปนพืชลมลุก ใบมขี น ดอกมี กลบี สเี หลอื ง โคนกลีบดานในสีมวงแดง ปลายผลแหลม แกจัดผลจะแตก มเี มลด็ จํานวนมาก สวนที่ใช ผล ประโยชนทางอาหาร ผลสดรับประทานเปนผักสดหรือตมจ้ิมนํ้า พริก สรรพคุณทางยา แกผลในกระเพาะ วิธีใช 1. ผลแหงน้ํามาปนผสมกับนํ้ารับประทาน แกแผลในกระเพาะ 2. รับประทานผลสดซึ่งมีสารเมือกจะไป ชว ยเคลอื บกระเพาะ ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 4 กระชาย ชื่อวิทยาศาสตร Kaempferia pandurata Roxb. สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนไมล ม ลกุ ลงหัว ใบยาวคลา ยใบขา ดอกสมี ว ง สรรพคุณทางยา แดงลาํ ตน อยใู ตด นิ เรียกวา เหงา มสี เี หลอื ง วิธีใช เหงา (หัว) เปนเครอ่ื งปรงุ เชน เครอ่ื งแกง แกป ากเปอ ย ปากเปน แผลขก้ี ลาก บาํ รงุ กาํ ลงั 1. นําเหงาฝนกับนํ้าฝนใหขน ๆ ทาแผลในปาก หรือบรเิ วณทเ่ี ปน กลาก 2. เหงา สด นาํ มาปง ใหส กุ ตําละเอยี ดใสน า้ํ ปนู ใส ครึ่งแกวรับประทานแกปวดทืองเหงา สดตม กบั นาํ้ รวมกบั หญา ขดั มอญ ดม่ื บาํ รงุ กําลงั กระเทียม ชื่อวิทยาศาสตร Allium sativum Linn. สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร ใบสีเขียว แขง็ ยาว หวั อยใู ตด นิ มกี ลบี เกาะกนั มเี ยอ่ื สรรพคุณทางยา บางๆหุม หวั เปน ชน้ั ๆ ดอกเปน ชอ สขี าว วิธีใช หัว ใบ ตน ใบ หัวตน ประกอบเปน อาหารหรอื เปน ผกั สด ขับลม ขบั เสมหะ ขบั เหงอ่ื ขบั ปส สาวะ ลดไข ขบั พยาธเิ สน ดา ย คออกั เสบ แกหืด อมั พาต จุกแนน ปวดสะโพก ทาแก โรคเกลอ้ื นโรคผิวหนงั 1 . หัวกระเทียม 2 ชอนโตะทุบใหแตก แช ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 5 แอลกอฮอล 80% 10 ชอ นโตะ ทิ้งไว 7 วัน รบั ประทานครง่ึ ชอ นโตะ ทุก 3 ชั่วโมง แกไขตัว รอ นจดั 2. กระเทยี มแหง 1-2 หัว โขลกกบั นมสดหรอื กะทิ สด 10 ชอ นโตะ กรองเอานา้ํ มาดม่ื ชา ๆ อาทติ ย ละ 3-4 ครง้ั ชว ยขับพยาธิเสน ดาย 3. หวั กระเทียม 1-2 หวั โขลกกบั น้ําสม 1 ชอ นโตะ กวาดในคอเปน ยาสมานแกเ จบ็ คอ 4. โขลกกระเทียมละเอียด ขยี้ผมหลังสระผม 5. รับประทานหัวกระเทียมบอยๆ ชวยรักษาโรค ปอดบวม แกฟกชํ้า ปวดมวนทอ ง 6. หัวกระเทียมสด ทารกั ษาโรคเกลอ้ื นบางชนดิ ให หายได กระเพรา ชื่อวิทยาศาสตร Ocimum sanctum L. สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนพมุ เตย้ี ใบสแี ดงคลา ยสะระแหน ตน สแี ดง ดอก สรรพคุณทางยา เปนชอคลายโหระพาถาเขียว ใบเขียว เรียก วิธีใช กระเพราขาว ใบ ใบใชป รงุ อาหาร เชน ผดั กบั เนอ้ื หมู ไก แกป วดทอ ง ทอ งขน้ึ จุกเสียด 1. กระเพราสด 3 ใบ ผสมเกลอื เลก็ นอ ยใหล ะเอยี ด ละลายดวยน้ําสุกหรือนํ้าผึ้งรับประทานแกปวด ทอง ทอ งอดื 2. ใบนํามาแกงเลียงรับประทานหลังคลอดชวย ขบั ลม บาํ รงุ ธาตุ หืด ไอ แกฝพุพอง ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 6 ขมิ้นชัน สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Curcuma lonnga linn. ลกั ษณะ สรรพคุณทางยา เปนพืชลมลุก มีเหงาอยูใตด นิ สเี หลอื งฤดแู ลง ใบจะ แหง ตาย แตจะแตกใหมเมื่อฝนตกชุก วิธีใช เหงา เหงาใชแ ตง สอี าหาร เชน ขาวหมกไก แกงเหลอื ง แกงกะหรี่ แกท อ งอดื เฟอ ลดการจุกเสียด แนนทอง ทองผูก ปวดศรีษะ แกโรคผิวหนัง ผน่ื คนั 1. ขมิ้นชันแกจัดนํามารับประทานเปนผักสดชวย ขับลม แกทองอืดเฟอ จุกเสียดแนนทอง 2. เหงาขมิ้นชนั ตากแหง ปน เปน ผง ทาแกโรคผิว หนัง 3 . ปจจุบันองคการเภสัชผลิตเปนแคปซูล รับ ประทานครง้ั ละ 2 แคปซูล วนั ละ 4 ครง้ั หลงั อาหารและกอนนอน บรรเทาอาการทองอืด ทองเฟอ จุกเสียด ขา วโพด ชื่อวิทยาศาสตร Zea may L. ลกั ษณะ เปนพืชไรล ม ลุก ลาํ ตน ตง้ั ตรง เปน ขอ ๆ ใบยาวเรียว มีขน ผลออกระหวา งกานใบ ผลมเี ปลอื กสเี ขยี วหมุ เปนช้ันๆ สว นปลายมเี สน ไหมสแี ดงอมมว ง เมลด็ เรียงเปน แถวสขี าว สเี หลอื ง ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
สวนที่ใช ผกั สมนุ ไพร 7 ประโยชนทางอาหาร ผลที่เรียกฝก ไหม สรรพคุณทางยา ผลหรอื ฝก ออ นรบั ประทานเปน ผกั ฝกแกตม วิธีใช รับประทานหรอื ปรงุ เปน ขนม บรรเทาโรคไตอักเสบ กระเพาะปสสาวะ อักเสบ ความดนั โลหติ สงู ลดคลอเลสเตอรอล 1. รับประทานเปนประจําแกโรคความดันโลหิตสูง และชว ยลดคลอเรสเตอรอล 2. ไหมขาวโพดแหง 1 หยิบมือชงกับน้ําเดือด ดม่ื แทนน้าํ ชาชวยบรรเทาโรคไต 3. ซังนํามาตมกับน้ําใสเกลือเล็กนอย ใหเด็กด่ืม แกปสสาวะ รดทน่ี อน ขิง ชื่อวิทยาศาสตร Zingiber officinale roscoe สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนพืชอายุหลายป มลี ําตน ใตด นิ เรยี กวา เหงา มี สรรพคุณทางยา กลิ่นหอมฉุน ใบออกสลบั กนั ดอกออกเปน ชอ จาก วิธีใช ลาํ ตน ใตด นิ มสี เี หลอื ง เหงา ใบ เหงาสดใชปรุงอาหาร หรอื รบั ประทานสด แกอาเจียน ไขหวัดใหญ ไอ จุกแนน หนา อก ปวด ขอ ทองอดื 1. เหงา สดคน้ั เอานา้ํ 1-2 ชอ นโตะ ผสมน้ําผึ้ง กินหรอื เหงา สดตม ดม่ื แทนนา้ํ ชา แกไขหวัด 2. เหงาสดตมกับน้ําสมสายชู รินเอาแตน้ําด่ืม แกอาเจียน 3. เหงาสดตําละเอียด เคี่ยวใหขนทาทองอุนๆ แกท องอดื ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 8 แครอท ชื่อวิทยาศาสตร Daucus carota Linn. สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปน พชื ลม ลกุ อายุ 1-2 ป มรี ากใตด นิ ทเ่ี รยี กวา หวั สรรพคุณทางยา มีสีสม ลกั ษณะยาวเรยี ว ใบเปน ฝอย วิธีใช ราก (หัว) เมลด็ ปรุงเปนแกงจืด หรือเปนผักสด เชน สลัดหรือ แตง หนา อาหาร บาํ รงุ สายตา บาํ รงุ ผวิ ยอ ยอาหาร 1. รบั ประทานเปน ประจาํ ชวยบํารงุ สายตา แกโรค ตาฟาง ขบั ปส สาวะ ยอ ยอาหาร 2. น้ําคั้นจากหัวแครอทผสมกับนํ้ามะนาวทาผิว หนาชวยลบรอยเหี่ยวยน คื่นไฉ ชื่อวิทยาศาสตร Apium graveolens Linn. ลกั ษณะ เปนพชื ลม ลกุ อายุ 2 ป ใบยอ ย เปน รปู ลม่ิ ขอบใบ หยักแบบซี่ฟน ดอกสขี าว ชอ ดอกเปน แบบซร่ี ม ซอ น ผลมีขนาดเลก็ เปน เสน สนี า้ํ ตาล ทง้ั ตน มกี ลน่ิ หอม สวนที่ใช ลาํ ตน ใบ และเมล็ดแก ประโยชนทางอาหาร ท้ังตนและใบรบั ประทานเปน ผกั สด เชน เปน ผกั โรย หนา อาหารพวกยาํ ตา งๆ หรือ ใสแกงจืด สรรพคุณทางยา ขับปส สาวะ ขบั ลม ไขขอ อกั เสบ วิธีใช 1. รับประทานบอยๆ ชวยเจริญอาหาร ชวยขับ ปส สาวะ ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 9 2. น้ําค้ันจากลําตน รับประทานแกอ าการบวมน้าํ ปวดขอ จากอาการไขขอ อกั เสบ ตระไคร ชื่อวิทยาศาสตร Cymbopogon citratus (DC.) สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนพืชลมลุกขึ้นอยูเปนกอ ใบยาวแคบและคาย สรรพคุณทางยา มีหัวอยูที่ผิวดิน เรียกวา หนอ มกี ลน่ิ หอมแรง วิธีใช ทง้ั ตน ลาํ ตน นํามาปรงุ เปน เครอ่ื งแกง พลา ตม ยาํ ขับลม ขบั เหงอ่ื แกป วดเมอ่ื ย แนนทอง ลดไข แก ประจาํ เดอื นไมป กติ 1. รับประทานสด หรือนํามาตน กบั นา้ํ สดู ดมชว ย ขับลม ขบั เหงอ่ื ลดไข แนนทอง 2. คน้ั นา้ํ ทาแกปวดเม่ือย 3. โคนตน (ที่เรียกหัว) ผสมกับพลิกไทยดํารับ ประทานแก ประจาํ เดอื นไมป กติ ตําลึง สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร Cocinia grandis (L.) Voig ลกั ษณะ เปนไมเ ถาเลอ้ื ย ใบมี 2 ชนิด ชนิดแรกใบจกั เวา ลกึ เกือบถึงโคนเรียกตําลึงตัวผู อีกชนิดหนึ่งใบเวาเล็ก นอย เรียกตาํ ลงึ ตวั เมยี ดอกสขี าว หาแฉก ผลออ นสี เขียว เมอ่ื แกม สี แี ดง ยอด ใบ เถา ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ประโยชนทางอาหาร ผกั สมนุ ไพร 10 สรรพคุณทางยา วิธีใช ใบ ยอดปรงุ เปน อาหาร ลมพิษ แกตาแดง บาํ รงุ สายตา 1. ใบนํามาตําใหละเอียดผสมน้ําเล็กนอย ดื่มหรือ เอานํ้ามาทาบริเวณท่ีเปนลมพิษ ถูกขนบุงหรือ อาการแพตางๆ 2. เถาตําลงึ นํามาตดั 2 ขา ง คลงึ ใหบ วม แลว เปา ฟองออกมาหยอดตา แกตาแดง ตาแฉะ 3. รบั ประทานเปน อาหารประจาํ ชวยบาํ รงุ สายตา แตงกวา ชื่อวิทยาศาสตร Cucunis sativus L. สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนพชื เถาเลอ้ื ย อายุ 1 ป ตน มขี นหยาบ ใบออก สรรพคุณทางยา สลับกับทรงสามเหลี่ยม เวา เขา ขอบใบหยกั ดอกมี วิธีใช สีเหลือง ผลออ นสเี ขยี ว ผลแกสีเหลือง เมลด็ รแี บน สขี าว ผล ใบ เถา และราก ผลสดรบั ประทานเปน ผกั สด หรอื ตม จดื ขับปส สาวะ แกไข คอเจบ็ ตาแดง ไฟลวก ผน่ื คนั บิด บวม 1. รับประทานผลสดเปนประจําชวยขับปสสาวะ แกไข คอเจบ็ 2. ใบสดตม หรอื คน้ั เอานา้ํ กนิ แกท องเสีย บิด 3. เถาสด 30-60 กรมั ตม นา้ํ พอก แกโรคผิวหนัง 4. รากตํามาพอกแกบ วมอกั เสบ ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 11 ถั่วฝกยาว ชื่อวิทยาศาสตร Vigna sinensis Savi สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนไมเ ถา ใบเปน ใบประกอบ มใี บยอ ย 3 ใบ ชอ สรรพคุณทางยา ดอกสน้ั กวา ใบ มดี อกยอ ย 2-3 ดอก กลบี ดอก วิธีใช มีลักษณะคลายผีเสื้อสีมวงออน สขี าวหรอื เหลอื ง มีฝกยาว 20-60 ซม. หอยลงมา ราก ใบ เมลด็ ฝก ฝกสดนาํ มาปรงุ อาหารหรอื รบั ประทานสด เปน ผักแกลม บาํ รงุ มา ม ไต แกบิด อาเจียน ระงบั ปวด แกบวม แกห นองใน ทําใหเจริญอาหาร 1. ฝกสดรบั ประทานแกท อ งอดื 2. ฝก สดตม ผสมเกลอื กินทุกวัน บาํ รงุ ไต 3 . เ ม ล็ ด นํ า ม า ตุ น กั บ เ นื้ อ ไ ก แ ล ะ ผั ก บุ ง รับประทานลดระดขู าว บัวบก ชื่อวิทยาศาสตร Centella asiatica (Linn.) Urban ลกั ษณะ เปนพืชเลอ้ื ยตามดนิ แฉะๆ มรี ากงอกตามขอ ของลําตน ใบคลายไต ปลายใบกลม กา นยาว ขอบใบหยัก ดอก สีมว งแดง สวนที่ใช ทง้ั ตน ประโยชนทางอาหาร รับประทานเปน ผกั สด หรอื ตม นา้ํ ดม่ื สรรพคุณทางยา ยาบาํ รงุ กระตนุ ความจาํ โรคเรอ้ื น วณั โรค ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 12 วิธีใช นําใบมารับประทานเปนผักสด หรือค้ันนํ้าทําเปน เครอ่ื งดม่ื ใชเ ปน ยาบาํ รงุ กระตนุ ความจาํ บาํ บดั โรค เรอ้ื นและวณั โรค ผักชี ชื่อวิทยาศาสตร Coriandrum sativum L. สวนที่ใช ลกั ษณะ ประโยชนทางอาหาร เปนพืชปเดียว ลําตนตั้งตรงมีรากฝอยมาก ใบมี สรรพคุณทางยา กานยาวใบยอย 2 ชั้น ขอบใบหยัก ดอกออกเปน ชอ วิธีใช สีขาวหรือชมพู ผลกลมออกดอก ฤดรู อ น ออกผลฤดู หนาว ทั้งตนและผล ใบใสโรยอาหารเพม่ิ ความหอม และดบั กลน่ิ คาวปลา และเนอ้ื ขับเหงอ่ื ขบั ลม แกผื่นหัด ทอ งอดื ละลายเสมหะ ผกั ชสี ด 60-150 กรมั ตม หรอื คน้ั นา้ํ กไ็ ด นาํ นา้ํ มา ด่ืม ชวยขับเหงื่อ ขบั ลม ทองอดื หรือ ทาแกผื่นหัด (ถาผลใหใช 6-12 กรัม ตม นา้ํ หรือ บดเปน ผง) ผกั บุง ชื่อวิทยาศาสตร Ipomoea aquatica Forsk ลกั ษณะ เปนพืชเล้ือยตามโคลนหรือลอยอยูในน้ําจืด ใบมี กานยาว ปลายแหลม ฐานใบเปน รปู ลกู ศร หรอื กลม ขอบใบเรียบหรือเปนเหล่ียม ดอกสขี าวหรอื มว งแดง ขอลางๆ จะมรี ากงอก สวนที่ใช ยอดออ น ใบ ดอกตมู ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ประโยชนทางอาหาร ผกั สมนุ ไพร 13 สรรพคุณทางยา วิธีใช เปน ผกั สดหรอื ตม สกุ หรือนํามาปรงุ อาหาร ยาระบาย บาํ รงุ สายตา รดิ สดี วงทวาร กลากเกลอ้ื น 1. รับประทานประจําชวยบํารงุ สายตา และเปนยา ระบาย 2. ตาํ ผักบุงใหละเอียด พอกรักษาโรคสีดวงทวาร 3. น้ําคั้นจากดอกตูมชวยรักษา โรคกลากเกลอ้ื น พรกิ ขี้หนู สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Capsicum frutescens L. สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ เปนพืชปเดียวใบยาวรี ปลายใบแหลม ดอกสขี าวออก วิธีใช ตามงาม ผลกลมยาวปลายแหลม สีเขียวเม่ือแกมี สีแดง กา นผลยาว เมลด็ มจี ํานวนมากลกั ษณะกลม แบนสเี หลอื งออ น ผล รากและตน ใชปรงุ หรอื ประกอบอาหารเพอ่ื เพม่ิ รสเผด็ ชวยเจริญอาหาร ชวยยอย บดิ ทอ งเสยี ไตและอัณฑะ บวม 1. บิด ทอ งเสยี ใชพริก 1 ผล บด เปน ผงสอดใน เตาหูรับประทาน 2. รับประทานเปนอาหารชวย เจริญอาหาร และ ชวยยอย 3 . ไตแ ละอัณฑะบวมใชรากแ ละเน้ือหมูตม รับประทาน ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 14 ฟก สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Benincasa hispida Cogn. สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ วิธีใช เปน ไมเ ลอ้ื ยอายุ 1 ป ลาํ ตน และใบมขี น ลกั ษณะ กลมชอบใบเปนแฉก ดอกมี 5 กลบี สเี หลอื ง ผลออ น มีขนมากลักษณะยาวหัวทายมน เมื่อแกขนจะหลุด ไปเมลด็ แบนรลี บิ ผล เมลด็ ใบและเถา ปรุงเปน อาหาร เชน ตม จดื แกไ ข กระหายนํา้ รดิ สดี วง ผดผน่ื คนั ได 1. เดก็ อายุ 1-5 เดอื นมไี ขใ หก นิ น้าํ ตม ฟก บอยๆ 2. ริดสีดวงทวาร คน้ั เอานา้ํ จากผลมาชะลา ง 3. เปนผด ผน่ื คนั หั่นผลฟกเปนแผน ถูทาบริเวณที่ คนั 4. ไอ ใชเปลือกผลแหง 15 กรมั ผสมนา้ํ ผง้ึ กรองนา้ํ มาดม่ื 5. ฝา หรือจดุ ดา งดําบนผวิ หนงั ใชน า้ํ คน้ั จากไสใ น ผลสด ทาบอยๆ ฟก ทอง ชื่อวิทยาศาสตร Cucurbita maxima Duchesne ลกั ษณะ เปนไมเ ถาขนาดยาวมาก ใบมี 5 หยัก สากมอื ดอกสี เหลืองรูปกระดง่ิ ผลมขี นาดใหญเ ปน พเู ปลอื กผลคอ น ขางแขง็ บางชนดิ มสี เี ขยี ว บางชนดิ สนี า้ํ ตาลแดง สวนที่ใช ผล ดอก ยอดออ น ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ประโยชนทางอาหาร ผกั สมนุ ไพร 15 สรรพคุณทางยา วิธีใช ใชป รงุ อาหาร หรือทาํ ขนมหวาน บาํ รงุ สายตา โรคพยาธิตัวตืด 1. รบั ประทานเปน ประจําชวยบาํ รงุ สายตา 2. เมล็ดมนี า้ํ มนั ใชถ า ยพยาธติ วั ตดื โดยใชเ มลด็ ฟก ทอง 60 กรัม ปน ใหล ะเอยี ดผสม นา้ํ ตาล เลก็ นอย เตมิ นมครง่ึ ลติ ร ดม่ื 3 ครง้ั ทกุ 2 ชั่วโมง แลว ดม่ื นา้ํ มนั ละหงุ เพอ่ื ถา ยออก มะกรดู สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Citrus hustrix D.C. สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ เปนไมยืนตนขนาดเล็กลําตนและกิ่งมีหนามใบเรียว วิธีใช หนาคอด กว่ิ ตรงกลางใบ ดอกสขี าวเกสรสเี หลอื ง ผล โตกวา มะนาว ผวิ ขรขุ ระ มกี ลน่ิ หอม ใบ ผล ราก ใบปรงุ อาหารดบั กลน่ิ คาว เชน ตม ยาํ ผิวมะกรดู ผสมเปน เครอ่ื งแกง ขับลม แกจุกเสียด เลอื ดออกไรฟน แกลม วิงเวียน 1. น้ํามะกรดู ใชถูฟน แกเ ลอื ดออกตามไรฟน 2. ผลนํามาดองเปรย้ี ว รบั ประทานขบั ลม ขบั ระดู 3. เปลือกผล ฝานบางๆ ชงนาํ้ เดอื ดใสก าระบเู ลก็ นอยรับประทานแกลมวิงเวียน มะเขอื เทศ ชื่อวิทยาศาสตร Lycopersicon esculentum Mill. ลกั ษณะ เปนพชื ปเดยี ว ลาํ ตน ตง้ั ตรงสงู 1-2 เมตร ใบรปู ขนน ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
สวนที่ใช ผกั สมนุ ไพร 16 ประโยชนทางอาหาร สรรพคุณทางยา กออกสลบั กัน ขอบใบหยัก ดอกสเี หลอื ง ผลมหี ลาย ลักษณะ เชน กลม กลมรี ผิวเรียบ เปน มนั สีแดงหรือ วิธีใช สีเหลอื ง เนอ้ื ผลฉา่ํ นา้ํ ภายในมเี มลด็ มาก ผล รับประทานสด เชน สลดั ปรงุ ยาระบายออ นๆ แกกระหายนํ้า เบอ่ื อาหาร ปวดฟน ลางแผลจากถูกความเย็น บาํ รงุ กระเพาะอาหาร ไต ลาํ ไส ขบั สารพิษ 1 . ผลรับปะทานสดหรือตมน้ํ า ชวยบํ ารุงไต กระเพาะ ลาํ ไส และขบั สารพิษ 2. ใบบดละเอยี ด ใชทาแกผิวหนังถูกแดดเผา 3. ราก ลาํ ตน และใบแก ตม นา้ํ รบั ประทาน แกปวด ฟน และลางแผลท่เี กิดจากความเย็น มะเขอื พวง สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Solanum torvum Swartz สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ เปนไมพ มุ ขนาดเลก็ สูง 1-3 เมตร ใบรปู ไขด อกสี วิธีใช ขาว ผลออ นสเี ขยี วออกเปน พวง ผลแกม สี เี หลอื งปน สม ผล ราก รับประทานเปน ผกั จ้ิม ใสแกง ขับเสมหะ ขบั ปส สาวะ ชวยยอยอาหาร หา มเลอื ด แกปวดฟน แกเทาแตกเปนแผล 1. ผลนาํ มาตม รบั ประทานขบั เสมหะ แกไอ 2. ตน ผล ราก ตม รบั ประทาน ชว ยยอ ยอาหารและ หา มเลอื ด 3. ควันจากเมล็ดทเ่ี ผาใชสูดดมแกปวดฟน 4. รากตําพอกแกเทาแตกเปนแผล ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 17 มะนาว สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Citrus aurantifolia Swing สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ เปนไมพุม ตน มหี นามแหลมคลา ยมะกรดู แตเ ลก็ และ วิธีใช ส้ันกวาดอกสขี าวอมเหลอื ง ผลกลม เปลอื ก บาง ผิว เรียบ รสเปรี้ยวจัด ผล ใบ ราก น้ํามะนาวประกอบอาหาร เครอ่ื งดม่ื ผลดอง เปน มะนาวดอง หรือทาํ เปนอาหารแหง แกไอ เสียงแหง แกบวม ทาฝ แกปวด 1. น้ํามะนาวละลายดนิ สอพอง พอกแกบวม 2. นา้ํ มะนาวผสมกบั นา้ํ ผง้ึ อยา งละ 1 ชอนชา แก เจ็บคอ 3. มะนาวสดใสน า้ํ ตาล เกลอื ดม่ื ระบายทอ ง 4. ใบหน่ั ฝอยชงดว ยน้ําเดอื ด ดม่ื ลดไข หรือ อมกลว้ั คอฆา เชอ้ื มะระ สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Momordica charantia Linn. สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ วิธีใช เปนไมเ ลอ้ื ย ใบมี 5-7 หยัก ดอกเดย่ี วมสี เี หลอื ง ปล มีรูปรา งขรขุ ระ รสขมมาก ผล ใบ ราก ผลและยอดรับประทานเปนผักตม หรือแกงจืดกับซ่ี โครงหมู แกไขหวัด แกหิด โรคผิวหนัง โรคเบาหวาน ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 18 1. นาํ ผล ใบ ดอก และเถามาอยา งละ 1 กํามอื ตม ใหเดือด 20-30 นาที กนิ ครง้ั ละ ½-1 แกกอน อาหาร ชวยแกไข 2. ผูปวยโรคเบาหวานรับประทานมะระอยางนอย สัปดาหล ะครง้ั จะเปน ผลดี มะละกอ สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Carica papaya L. ลกั ษณะ สรรพคุณทางยา เปนไมเ นอ้ื ออ นยนื ตน ใบหยัก ออกทย่ี อดกา น ใบกลม วิธีใช ยาว ผลดบิ มสี เี ขยี ว แกจัดสีเหลือง ใบ ผล เมลด็ ยอดออ น ราก ผลดิบใชปรุงอาหารเชนแกงสมยางชวยทําใหเน้ือเปอย ผลสกุ เปน ผลไม แกก ระหายน้ํา บาํ รงุ หวั ใจ เปน ยาระบายออ นๆ 1. มะละกอสุกรับประทานชวยยอยอาหาร 2. เมล็ดใชข ับพยาธิ ใบแกบาํ รงุ หวั ใจ 3. รากเปน ยาขบั ปส สาวะ 4. ตนออนตม รบั ประทานขบั ระดขู าว แมงลัก ชื่อวิทยาศาสตร Ocimum sanctum L. ลกั ษณะ เปนพชื ลม ลกุ สงู ประมาณ 1-2 ฟุต ดอกชเู ปน ชน้ั ๆ ขาวเมล็ดเล็ก เมอ่ื แกจ ะมสี นี า้ํ ตาลหรอื สดี าํ แชนํ้าจะ พองเปน เมอื กเยอ่ื ขาว ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
สวนที่ใช ผกั สมนุ ไพร 19 ประโยชนทางอาหาร เมลด็ ใบ สรรพคุณทางยา เมล็ดทําขนม ใบรบั ประทานเปน ผกั ใสข นมจนี หรอื แกง วิธีใช เลยี ง เปน ยาระบาย หา มเลอื กกาํ เดาขบั ลม แกไอ 1. เมล็ดแชน้ํารับประทานกับนํ้าเชื่อมชวยหยุดเลือด กาํ เดา และเปน ยาระบาย 2. ใบรบั ประทานชว ยขบั ลม 3. ตนตม กบั นา้ํ รับประทานแกไอ สะระแหน สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร ประโยชนทางอาหาร Mentha arvensis L. ลกั ษณะ สรรพคุณทางยา เปนตนไมเ ลก็ ๆ เลอ้ื ยตามดนิ ลาํ ตน สเ่ี หลย่ี ม ขอบใบ วิธีใช หยัก มกี ลน่ิ หอมฉนุ ใบ ใบสดรบั ประทานเปน ผกั สด โรยหนาอาหารพวกยาํ พลา ลาบ ใหน า รบั ประทาน ขับลม แกทองอืดเฟอ และปวดทอ ง รับประทานใบสดจากการประกอบอาหารหรือเม่ือ ทองอืดทอ งเฟอชว ยขบั ลดบรรเทาอาการปวดทอ ง ผกั สุมนไพร อื่นๆ ชื่อผักสมุนไพร สรรพคุณ สวนที่ใชประโยชน แค พริกไทย ริดสดี วงจมกู น้าํ คน้ั จากดอกไมห ยอดจมกู ถว่ั เหลอื ง ปวดฟน ผสมกับถ่ัวเขียวกัดไวตรงฟน ซี่ที่ปวด ลดเบาหวาน ลดการอุดตัน เมล็ดนํามารับประทานเปน ของไขมนั ในเสน เลอื ด อาหาร เชน นา้ํ นมถว่ั เหลอื ง ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
ผกั สมนุ ไพร 20 พริกหยวก ชว ยกระตนุ นา้ํ ยอ ย ชวยเจริญ นําผลมาปรงุ เปน อาหาร หัวผักกาด งา อาหาร มะรมุ แกโ รคลกั ปด ลกั เปด ปรุงเปนอาหาร เชนแกงจืด สะเดา หอมหวั แดง แกงสม ขเ้ี หลก็ หอมหวั แดง เปนยาบํารุง ชวยใหรางกาย นําเมล็ดมาปรุงอาหาร เชน ถั่วพู แข็งแรง ชวยใหผิวพรรณผุด ขนม มะพรา ว บัว ผอ ง โหระพา ลดไข บาํ รงุ หวั ใจ ชวยระบาย นาํ ผลมาปรงุ อาหาร เชน แกง ออนๆ สม ชวยเจริญอาหาร ชวยระบาย นํ า ใ บ ห รื อ ช อ ด อ ก ม า รั บ ประทาน ขับปส สาวะ ทอ งอดื ลดไขมนั นํามาปรงุ เปน อาหาร ในเลอื ด แกน อนไมห ลบั ใบออ นลวกจม้ิ นา้ํ พริก ชวยยอย แกบิด ทอ งเสยี หัวหอมปรงุ เปน อาหาร แกอ อ นเพลยี บาํ รงุ กําลงั ฝก ดอก ยอดออ น หัวใตดนิ นํามาปรุงเปนอาหาร เชน ตมจม้ิ นา้ํ พริก สลดั แกงจืด แกงเลยี ง แกโรคผิวหนัง กลากเกล้ือน นา้ํ มนั จากมะพรา ว แผลจากไฟไหม ลดเสมหะ แกไอ บาํ รงุ กาํ ลงั รากบัว(ไหล) นํามาผัดกุง แกงสม ตม ยาํ ขับลม ลดอาการจกุ เสยี ด แก นํ าใบและตนมาปรุงเปน ปวดหัว ชวยเจริญอาหาร อาหาร หรอื รบั ประทานเปน ผักสด หรือผักโรยหนา ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ จดั ทําเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: