รา่ งกายของฉนั ครูชรนิ ทพิ ย์ ศริ ภิ าพ
ประสาทสัมผสั ท้งั 5
คำนำ E-Book เรือ่ ง \"ร่างกายของฉนั ประสาทสมั ผสั ท้งั 5 \" ฉบบั นจ้ี ดั ทำขน้ึ เพือ่ ใช้ประกอบการเรยี นการสอนทกั ษะการพฒั นาด้านสติปัญญา ระดับชน้ั เตรยี ม ความพรอ้ ม ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจำจังหวัดอดุ รธานี ซ่ึงมีเนอื้ หาตรงตาม หลักสูตรสถานศึกษาพทุ ธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) มาตรฐาน การเรียนรู้ 10 มคี วามสามารถในการคดิ เป็นพ้ืนฐานในการเรยี นรตู้ ามศกั ยภาพ เรอื่ งรา่ งกายของฉนั ประสาทสัมผสั ท้ัง 5 นักเรยี นได้รู้จักอวยั วะในรา่ งกายของ ตนเองและการรับรถู้ ึงความรู้สึกดว้ ยประสาทสัมผัสตา่ ง ๆ ผูจ้ ดั ทำหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ E-Book ฉบบั นี้จะเป็นประโยชน์ต่อนกั เรียน ทุกคน ที่กำลงั ศึกษาใน เรือ่ ง \"ร่างกายของฉัน ประสาทสมั ผัสทงั้ 5 \" และจะ สามารถชว่ ยให้นักเรียนบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นร้ตู าม มาตรฐานการเรยี นรู้ ชรนิ ทพิ ย์ ศิริภาพ มถิ ุนายน 5265
สารบัญ หน้าท่ี 14-18 เฉลยคาถามท้ายบทเรยี น
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ร่างกายของฉนั 1 เรอ่ื ง รา่ งกายของฉนั ประสาทสัมผสั ท้งั 5 ตัวบงชี้ท.ี่ 10.1 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ มีความสามารถในการ นกั เรียนสามารถบอก อวยั วะของร่างกายได้ คดิ รวบยอด สาระการเรียนรู้ - รู้จกั ชอ่ื อวยั วะต่างๆของรา่ งกาย เช่น หู ตา จมกู ปาก มือ - ร้จู ักหน้าท่ี เช่น จมกู ใชห้ ายใจ ปากใช้พดู และ รับประทานอาหาร ตาใช้มอง หใู ชฟ้ งั เป็นตน้
2 ประสาทสัมผสั การรบั รู้ คอื การไดส้ ัมผสั ด้วยประสาทสัมผสั ทัง้ ห้า หรืออาจกล่าวไดว้ า่ การ รบั รู้ หมายถงึ กระบวนการทเ่ี ดก็ ไดน้ ำเอาสง่ิ ที่ตนไดย้ นิ ได้เหน็ ได้สัมผสั ไดช้ มิ ได้กลิน่ จากสงิ่ เร้าภายนอกรอบตวั เขา้ มาจดั ระเบยี บและให ี ้ ความหมายเกิดเป็นความรูค้ วามเขา้ ใจข้นึ การรับรจู้ งึ เปน็ กระบวนการของ การตีความตอ่ สิ่งทไี่ ดย้ ิน ไดเ้ หน็ ไดก้ ล่นิ ได้รู้รส และการท่มี คี วามรู้สกึ ดว้ ย ประสาทสัมผสั ต่าง ๆ ในตวั เรากระบวนการรบั รู้มไิ ด้ขนึ้ อยู่กับคณุ สมบตั ิของ สง่ิ ทเ่ี ราจะรับรคู้ ุณสมบตั แิ ละความสมบรู ณข์ องอวยั วะการรบั รขู้ องเราเทา่ น้ัน หากแตย่ งั ขึ้นอยกู่ ับประสบการณใ์ นอดตี ความตอ้ งการ แรงจงู ใจ และ ค่านยิ มของเราอีกดว้ ย
ประสาทสมั ผสั ท้งั 5 3
การมองเห็น 4 มหี น้าที่ การมอง การดู สังเกตสงิ่ ต่าง ๆ รอบตวั เชน่ การดูทีวี การอ่านหนังสอื
การดมกล่นิ 5 มหี น้าท่ี ดมกลนิ่ แยกแยะกลิ่นตา่ ง ๆ
การได้ยนิ 6 มีหนา้ ที่ ในการฟังเสียงตา่ ง ๆ รอบตวั
การรับรส 7 มหี น้าที่ ชิมรส รบั รู้รสชาติต่าง ๆ เผ็ด หวาน เปรยี้ ว เคม็
การสัมผสั 8 มหี นา้ ท่ี หยบิ จับ สงิ่ ของตา่ งๆ
9
อวยั วะใดทำหนา้ ท่ใี นการมอง ? 10
11
อวยั วะใดทำหนา้ ที่ในการฟงั เสยี ง ? 12
13
14
อวยั วะใดทำหนา้ ท่ใี นการมอง ? 15
16
อวยั วะใดทำหนา้ ที่ในการฟงั เสยี ง ? 17
18
แหล่งอ้างองิ 19 หลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2564 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวดั อุดรธานี 5 ประสาทสัมผัสชว่ ยพฒั นาลูกนอ้ ย https://www.planforkids.com การรับรู้และการเรียนร้ขู องเด็กปฐมวัย http://elearning.psru.ac.th
20 ประวัติผู้จดั ทำ น.ส.ชรนิ ทพิ ย์ ศิรภิ ำพ ตำแหน่ ง : ครูผสู้ อน สถำนที่ปฏบิ ัติหน้ ำท่ี ศูนย์กำรศึกษำพิเศษประจำจังหวดั อดุ รธำนี ครู ส้ ม
21
21
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: