รายงานการศกึ ษา บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงานท่มี ีผลตอ่ ความพึงพอใจของพนกั งานราชการ กรณีศกึ ษา: พนกั งานราชการท่ปี ฏิบัตงิ านในสาํ นกั /กอง/หน่วยงานส่วนกลาง กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย จดั ทาํ โดย นายพงศณ์ วรรธน์ ศรีเพช็ ร รหสั ประจาํ ตัวนักศึกษา 16 เอกสารฉบับนเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ในการศึกษาอบรม หลกั สตู รนกั บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุน่ ที่ 10 วทิ ยาลัยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
ก คํานาํ การศึกษาวิจัยเรื่องบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานท่ีมีผลต่อความพึงพอใจของพนักงานราชการ กรณีศึกษา : พนักงานราชการท่ีปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัยส่วนบุคคลหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยโดยเป็นการศึกษาค้นคว้าว่าบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านความมั่นคงและโอกาส ความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ด้านสถานที่ปฏิบัติงาน ด้านระบบงาน และความถนัดในงาน และดา้ นการทาํ งานร่วมกับผอู้ ื่นมผี ลตอ่ ความพึงพอใจของพนักงานราชการมากน้อย เพียงใด เพื่อนําเสนอเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารของกองการเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูล เบอื้ งต้นในการพัฒนาและปรบั ปรุงบริบทแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงานด้านตา่ งๆในโอกาสต่อไป ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ท่ีสนใจจะได้นํารายงานผลการศึกษาครั้งน้ีไปใช้ ประโยชนห์ รือพฒั นาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรมากย่ิงขึ้นอน่ึง หากเอกสารงานวิจัยส่วนบุคคลฉบับนี้มี ขอ้ บกพรอ่ งหรือผิดพลาดประการใด ผ้ศู กึ ษาวิจยั ขอนอ้ มรบั ด้วยความเคารพ พงศ์ณวรรธน์ศรเี พ็ชร นกั ศึกษาหลักสตู ร นบ.ปภ. ร่นุ ที่ 10 มนี าคม2557
ข กิตตกิ รรมประกาศ เอกสารการศึกษาวิจัยส่วนบุคคล เร่ืองบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อความพึงพอใจของ พนกั งานราชการ กรณีศกึ ษา : พนกั งานราชการที่ปฏบิ ตั งิ านในสาํ นัก/กอง/หนว่ ยงานสว่ นกลาง สังกัดกรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฉบับนี้ สําเร็จลุล่วงด้วยดีเพราะได้รับคําแนะนําจากท่านอาจารย์ ดร. ปิยวฒั นข์ นิษฐาบุตร และอาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยนักศึกษา นบ.ปภ. รุ่นที่ 10 อย่างใกล้ชิดและขอกราบขอบคุณผู้บริหารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ กรุณาคัดเลือกให้ผู้วิจัยได้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 นี้ โดยเฉพาะท่านผู้อํานวยการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นางสาวลักขณา มนมิ นากร)ทา่ นรองผู้อาํ นวยการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฝา่ ยฝกึ อบรม (นายวิจารณ์ เหล่า ธรรมยิ่งยง) รวมท้ังเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย (นบ.ปภ.) รุน่ ท่ี 10 ทกุ ท่านจงึ ขอกราบขอบคุณเป็นอยา่ งสงู ณ โอกาสน้ี ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการศึกษาวิจัยฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ หรือ อาจใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไป คุณความดีอันใดที่เกิดจากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาขอ มอบแด่บิดา มารดา คณาจารย์ และผู้ทเี่ กย่ี วขอ้ งที่ได้กรณุ าสนบั สนนุ ผศู้ ึกษาดว้ ยดตี ลอดมา พงศณ์ วรรธน์ศรีเพช็ ร นักศึกษาหลกั สตู ร นบ.ปภ. รุน่ ท่ี 10 มีนาคม2557
ค บทสรุปสาํ หรับผูบรหิ าร ภายหลังการปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการตามการปฏิรูประบบราชการเมื่อ พ.ศ. 2545 สํานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สํานักงาน ก.พ.) ได้กําหนดให้ปรับรูปแบบการจ้างงานในหน่วยงานภาครัฐ โดยให้มีการจ้างงานพนักงานราชการทดแทนอัตราลูกจ้างประจําของส่วนราชการที่เกษียณอายุราชการ แต่เนื่องจากระบบพนักงานราชการเป็นระบบการจ้างงานที่ให้มีการเข้าและออกจากงานตามสัญญาจ้าง โดยไมใ่ ชก่ ารจา้ งงานตลอดชีพซึ่งแตกต่างจากลูกจ้างประจําตามระบบเดิมท่ีจะอยู่กับระบบราชการจนกว่า จะเกษยี ณอายุราชการ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานเป็นองค์ประกอบสําคัญในการเสริมสร้างให้บุคลากรของกรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งพนักงานราชการท่ีต้องปฏิบัติงานตามสัญญาจ้าง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขโดยไม่คิดเปลี่ยนไปปฏิบัติงานที่หน่วยงานอื่น ซ่ึงจะเป็นการรักษา บคุ ลากรที่เกง่ หรือมผี ลการปฏบิ ัติงานดใี หอ้ ยกู่ ับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไปนานๆ ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นที่จะต้องทําการศึกษาค้นคว้าว่า บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ มีผลต่อความพึงพอใจของพนักงานราชการในระดับใด ควรจะต้องปรับปรุงด้านใดหรือไม่ โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือ 1. ศึกษาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานของพนักงานราชการท่ีปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/ หน่วยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 2. ศึกษาความพึงพอใจของพนักงานราชการ ท่ีมตี อ่ บรบิ ทแวดล้อมในการปฏบิ ตั งิ าน สําหรับวธิ กี ารศกึ ษาใช้วิธีการศึกษาเชงิ ปริมาณ อันประกอบไปด้วย การศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง (Documentary Research) การ เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยนําข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาประมวลผล ทําการวิเคราะห์ เชิงพรรณนาตามปรากฏการณ์และเนอื้ หา เพอ่ื ตอบคาํ ถามการวจิ ัยและแสวงหาข้อคน้ พบจากการศึกษาวจิ ยั ผลการศึกษาคร้ังน้ีพบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.04 มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี ร้อยละ 45.36 จบการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ร้อยละ 57.73 สถานภาพโสด ร้อยละ 72.17 และส่วนใหญ่มีรายได้ ระหวา่ ง 15,001 – 20,000 บาท รอ้ ยละ 74.23 2. จากการศึกษาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อความพึงพอใจของพนักงานราชการ กรณศี ึกษา : พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย สรุปได้ว่า ในภาพรวมพนักงานราชการกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อบริบทแวดล้อมในการ ปฏิบัติงานในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.45 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านความม่ันคงและ โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ด้านสถานที่ปฏิบัติงาน ด้าน ระบบงานและความถนัดในงาน และด้านการทํางานร่วมกับผู้อื่น พบว่า บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจสูงท่ีสุด ได้แก่ ด้านการทํางานร่วมกับผู้อ่ืน โดยมีความพึงพอใจ ระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.68 รองลงมา คือ ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ พึงพอใจระดับ มาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.53 และด้านที่มีค่าเฉล่ียของระดับความพึงพอใจตํ่าสุด คือ ด้านความม่ันคงและ โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี พึงพอใจระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22
ง ข้อเสนอแนะในการทาํ วิจัยครั้งต่อไป เสนอแนะให้มีการขยายผลการศึกษาวิจัย โดยควรศึกษาวิจัยเร่ืองบริบทแวดล้อมในการ ปฏิบัติงานท่ีมีผลต่อความพึงพอใจของพนักงานราชการในส่วนท่ีเป็นตัวแทนของผู้ปฏิบัติงานในสํานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดและศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตเพ่ิมเติม เพ่ือให้ได้ ข้อมูลเชิงวิชาการที่ครอบคลุมมากยิ่งข้ึน และควรเพิ่มเติมการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติชั้นสูงมากข้ึนเพ่ือ เปรียบเทยี บความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปรตา่ งๆ โดยมงุ่ หวงั ใหไ้ ดผ้ ลการวิจยั ทน่ี ่าเชอื่ ถอื มากยง่ิ ขึ้น
สารบญั จ คาํ นาํ หน้า กติ ติกรรมประกาศ บทสรุปสําหรับผูบ้ รหิ าร ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค บทท่ี 1บทนาํ จ ช ความสําคญั และทีม่ าของปัญหาวจิ ัย วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา 1 ขอบเขตของการศกึ ษา 1 ประโยชนท์ ี่ใชใ้ นการศกึ ษา 1 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 2 2 บทที่ 2แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง 3 แนวคิดและระเบียบวา่ ด้วยพนกั งานราชการ 3 แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกบั ความพึงพอใจตอ่ บรบิ ทแวดลอ้ มในการทาํ งาน 4 งานวิจัยท่เี กยี่ วข้องกับความพึงพอใจต่อสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน 5 กรอบแนวคดิ 7 บทที่ 3 ระเบียบวิธวี จิ ัย 7 8 ประชากร 8 ตัวอย่าง 9 เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 9 องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม 9 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การแปรผลขอ้ มูล 10 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ 13 บทท่ี 4การวเิ คราะหข์ ้อมลู สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปสว่ นบุคคล ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจของพนกั งานราชการ
บทท่ี 5บทสรปุ และอภิปรายผล ฉ สรปุ ผลการศกึ ษา 23 อภปิ รายผล 24 ขอ้ เสนอแนะในการทาํ วิจยั ครง้ั ต่อไป 25 26 บรรณานกุ รม ภาคผนวก แบบสอบถาม แบบเสนอโครงร่างการศกึ ษาวิจยั ส่วนบุคคล (Proposal) ประวตั ผิ เู้ ขยี น
ช สารบัญตาราง หน้า ตารางท่ี 4.1 แสดงจาํ นวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามเพศ 10 ตารางท่ี 4.1 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จําแนกตามอายุ 11 ตารางท่ี 4.3 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามระดบั การศึกษา 11 ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามสถานภาพ 12 ตารางที่ 4.5 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จําแนกตามรายได้ 12 ตารางที่ 4.6 แสดงระดับความพึงพอใจท่มี ตี อ่ ระบบแวดลอ้ มในการปฏบิ ัตงิ าน 13 ตารางที่ 4.7 (1) แสดงค่าเฉลยี่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานระดบั ความพึงพอใจ 13 ด้านความม่ันคงและโอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ 14 ตารางท่ี 4.7 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉล่ยี ระดบั ความพงึ พอใจ 15 ด้านความมนั่ คงและโอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ตารางท่ี 4.8 (1) แสดงคา่ เฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจ 16 ด้านระบบคา่ ตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชน์ 17 ตารางท่ี 4.8 (2) แสดงจํานวน รอ้ ยละ และค่าเฉลย่ี ระดับความพึงพอใจ 17 ดา้ นระบบคา่ ตอบแทนและสทิ ธิประโยชน์ ตารางที่ 4.9 (1) แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจ 19 ด้านสถานทปี่ ฏิบตั ิงาน 19 ตารางที่ 4.9 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลีย่ ระดับความพงึ พอใจ 21 ด้านสถานทปี่ ฏิบัตงิ าน ตารางท่ี 4.10 (1) แสดงค่าเฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจ 21 ดา้ นระบบงานและความถนัดในงาน ตารางท่ี 4.10 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และคา่ เฉลีย่ ระดบั ความพึงพอใจ ด้านระบบงานและความถนัดในงาน ตารางที่ 4.11 (1) แสดงคา่ เฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจ ด้านการทาํ งานร่วมกับผ้อู น่ื ตารางท่ี 4.11 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และคา่ เฉลย่ี ระดบั ความพึงพอใจ ด้านการทํางานรว่ มกับผู้อน่ื
บทที่ 1 บทนํา ความสาํ คญั และท่มี าของปัญหาวจิ ยั ภายหลังการปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการตามการปฏิรูประบบราชการเม่ือ พ.ศ. 2545 สํานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สํานักงาน ก.พ.) ได้กําหนดให้ปรับรูปแบบการจ้างงานในหน่วยงานภาครัฐ โดยให้มีการจ้างงานพนักงานราชการทดแทนอัตราลูกจ้างประจําของส่วนราชการท่ีเกษียณอายุราชการ แต่เนื่องจากระบบพนักงานราชการเป็นระบบการจ้างงานท่ีให้มีการเข้าและออกจากงานตามสัญญาจ้าง โดยไม่ใช่การจา้ งงานตลอดชีพซึ่งแตกต่างจากลูกจ้างประจําตามระบบเดิมที่จะอยู่กับระบบราชการจนกว่า จะเกษียณอายุราชการ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานเป็นองค์ประกอบสําคัญในการเสริมสร้างให้บุคลากรของกรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งพนักงานราชการท่ีต้องปฏิบัติงานตามสัญญาจ้าง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขโดยไม่คิดเปลี่ยนไปปฏิบัติงานที่หน่วยงานอ่ืน ซ่ึงจะเป็นการรักษา บุคลากรที่เกง่ หรอื มผี ลการปฏิบัตงิ านดใี ห้อยู่กับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไปนานๆ ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นท่ีจะต้องทําการศึกษาค้นคว้าว่า พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในสังกัด กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีความพึงพอใจต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ใน ระดบั ใด ควรจะตอ้ งปรบั ปรุงด้านใดหรอื ไม่ วัตถุประสงคข์ องการศึกษา การศึกษาในครัง้ น้ี มีวตั ถุประสงคด์ ังต่อไปน้คี ือ 1. เพื่อศึกษาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานของพนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/ หนว่ ยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของพนักงานราชการท่มี ีต่อบรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏบิ ัติ ขอบเขตการศึกษา ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณสําหรับการศึกษาในครั้งนี้ โดยเลือกใช้วิธีการสํารวจด้วยแบบสอบถาม ที่สร้างขึ้นและได้กาํ หนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดงั น้ี 1. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาเป็นพนักงานราชการท่ีปฏิบัติงานอยู่ในสํานัก/กอง/หน่วยงาน สว่ นกลางสงั กัดกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 2.ตวั อยา่ งท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาเลอื กจากประชากรโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา และใช้จํานวน 100 คน ดงั น้ี 2.1 จากสํานัก/กอง/หน่วยงานระดับใหญ่ซึ่งมีผู้บังคับบัญชาสูงสุดเป็นระดับอํานวยการสูงหรือเทียบเท่า จาํ นวน 8 หนว่ ยงานๆ ละ 8 คนรวม 64 คน 2.2 จากสํานัก/กอง/หน่วยงานระดับเล็กซ่ึงมีผู้บังคับบัญชาสูงสุดเป็นระดับอํานวยการต้นหรือชํานาญการ พเิ ศษ จาํ นวน6 หน่วยงานๆ ละ 6 คนรวม 64 คน 3. ตวั แปรท่ีเกีย่ วข้องกบั การศกึ ษา ประกอบดว้ ย ตวั แปรตาม คอื ความพึงพอใจของพนกั งานราชการ ตวั แปรอสิ ระ คือ (1) ปจั จยั ส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายได)้ (2) ปจั จัยจากบรบิ ทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน (ด้านความมั่นคงและโอกาส
2 ความก้าวหน้าในอาชีพด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ด้านสถานท่ีปฏิบัติงาน ด้านระบบงาน และความถนัดในงาน ดา้ นการทํางานร่วมกบั ผ้อู ่ืน) 4. สถานท่ีศึกษาที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ สํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลางในสังกัดกรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เฉพาะสํานัก/กอง/หน่วยงานท่ีมีสํานักงานตั้งอยู่ในบริเวณอาคารเลขที่ 3/12 ถนนอทู่ อง เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ รหัสไปรษณยี ์ 10300 5. ระยะเวลาในการศกึ ษาเร่มิ ตง้ั แต่ วนั ท่ี 7 มกราคม 2557 ถงึ วันท่ี 10 เมษายน 2557 ประโยชนท์ ่ีใชใ้ นการศกึ ษา ผลจากการศึกษามีประโยชน์ คือ สามารถนําผลวิจัยเร่ือง “บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่มี ผลต่อความพึงพอใจของพนักงานราชการ กรณีศึกษา : พนักงานราชการท่ีปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/ หน่วยงานสว่ นกลาง สังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย” ไปเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเพ่ือพิจารณาใช้ เปน็ ข้อมูลประกอบการนําเสนอผบู้ รหิ ารเพื่อใหผ้ ู้บรหิ ารมีข้อมลู ประกอบการพจิ ารณาวางแนวทางปรับปรุง บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงานด้านต่างๆ ให้มคี วามเหมาะสมย่งิ ขน้ึ ต่อไป นยิ ามศพั ท์เฉพาะ คาํ นยิ ามศัพท์เฉพาะในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ 1. ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพความต้องการหรือความคาดหวังท่ีพนักงานราชการได้รับ ตอบสนองจากบริบทแวดล้อมในการปฏบิ ัตงิ าน 2. พนกั งานราชการ หมายถึง บุคคลท่ีปฏบิ ัติหน้าที่ราชการสงั กดั กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยปฏบิ ัตงิ านตามสญั ญาจ้างและไดร้ ับค่าตอบแทนของรัฐบาล 3.บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน หมายถึง สภาพการทํางานและสภาพแวดล้อมทั่วๆ ไป ซึ่งมีผล ต่อความพึงพอใจของพนักงานราชการที่สังกัดกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี ระเบยี บ และงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง บทน้ีเป็นการนําเสนอแนวคิด ทฤษฎี ระเบียบ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรของการศึกษา ซึ่งผู้วิจัยได้ทําการสืบค้นจากเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยจากแหล่งต่างๆ โดยแบ่งเนื้อหาของบทน้ี เป็น 3 ส่วน คือ 1. แนวคดิ และระเบยี บว่าด้วยพนกั งานราชการ 2. แนวคิดและทฤษฎเี กีย่ วกับความพงึ พอใจตอ่ สภาพแวดลอ้ มในการทํางาน 3. งานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้องกบั ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิงาน สาระสาํ คญั ในแตล่ ะสว่ นทก่ี ลา่ วมาข้างต้น มดี ังนี้ แนวคดิ และระเบียบว่าด้วยพนกั งานราชการ สํานักงาน ก.พ. (2547 : 2 – 3) กําหนดแนวทางในคู่มือการบริหารงานพนักงานราชการ สรุป สาระสําคัญในส่วนที่เก่ียวขอ้ งได้ดงั น้ี ปรชั ญาของระบบพนักงานราชการ 1) เพ่ือเปน็ ทางเลือกของการจ้างงานภาครฐั ท่ยี ืดหย่นุ และคล่องตวั 2) เนน้ การจ้างบุคลากรตามหลกั สมรรถนะ และหลกั ผลสมั ฤทธ์ิของงาน 3) ใหม้ กี ารเขา้ และออกจากงานตามสัญญาจา้ ง ซงึ่ เป็นไปตามภารกจิ โดยมีการตอ่ สญั ญาได้ 4) ไม่ใช่การจ้างงานตลอดชีพ กล่าวคือต้องมีระยะเวลาส้ินสุดตามนโยบาย แผนงาน หรือ โครงการ 5) ใหค้ วามเปน็ อสิ ระ และยืดหยุ่นแก่สว่ นราชการในการดําเนนิ การ ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 กําหนดไว้ในข้อ 11 สรุปว่าการจ้าง พนักงานราชการให้กระทําเป็นสัญญาจ้างไม่เกินคราวละส่ีปีหรือตามโครงการท่ีมีกําหนดเวลาเร่ิมต้นและ ส้ินสุดไว้โดยอาจมีการต่อสัญญาจ้างได้ตามความเหมาะสมและจําเป็นของแต่ละส่วนราชการ และข้อ 15 สรุปว่าส่วนราชการอาจกําหนดให้พนักงานราชการได้รับสิทธิประโยชน์ตามท่ีส่วนราชการกําหนดเท่าท่ีไม่ขัด หรือแย้งกบั หลกั เกณฑท์ ี่กําหนดเก่ียวกบั การไดร้ บั สิทธินน้ั ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี ดังต่อไปน้ี (1) สิทธิเกี่ยวกับการลา (2) สิทธิในการได้รับค่าตอบแทนระหว่างลา (3) สิทธิในการได้รับ คา่ ตอบแทนการปฏิบตั งิ านนอกเวลางาน (4) ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทาง (5) ค่าเบี้ยประชุม (6) สิทธิในการขอรับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจกําหนดมาตรฐานท่ัวไปเก่ียวกับการกําหนดสิทธิ ประโยชนใ์ หแ้ กพ่ นักงานราชการเพอ่ื ให้ส่วนราชการปฏิบัติกไ็ ด้ แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจตอ่ สภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ธงชัย สนั ตวิ งษแ์ ละชยั ยศ สนั ติวงษ์ (2533 : 48) ให้ความหมายวา่ ความรู้สึกของบุคคลภายในกลุ่ม และฐานะความเปน็ อยขู่ องเขาเหล่านั้น เปน็ เรื่องของการพิจารณาว่าเขาจะได้ความพึงพอใจชนิดไหน อย่างไร เชน่ ดา้ นความพึงพอใจในงานทท่ี าํ อตั ราค่าจ้าง เงินเดือน สภาพแวดล้อมในการทํางาน เป็นต้น สอดคล้องกับ เนตรพัณณา ยาวิราช (2546 : 105) ซึ่งให้ความหมายว่า ความพึงพอใจคือทัศนคติของบุคคลที่มีต่องาน อันเป็นผลมาจากการได้รับส่ิงท่ีดีจากการทํางานและความเหมาะสมพอดีระหว่างบุคคลและองค์การในด้าน สิง่ ที่ได้รบั จากการทาํ งาน และสอดคล้องกับกติ ิมา ปรดี ดี ิลก (2524 อ้างถงึ ใน ศุภชัย คามวลั ย,์ 2544 : 5)
4 ซ่ึงได้กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกชอบหรือพอใจท่ีมีต่อองค์ประกอบและสิ่งจูงใจในด้านต่างๆ ของงานและไดร้ ับการตอบสนองความต้องการของเขาได้ คุเปอร์ (Cooper, 1958 : 31 อ้างถึงใน สุวคนธ์ ย่ีสกุล, 2544 ; 10) กล่าวว่า ความต้องการในการ ทาํ งานทีเ่ ปน็ สิ่งจูงใจใหม้ นุษย์เกดิ ความพงึ พอใจในการทาํ งาน แบง่ ออกเปน็ 7 อย่าง คือ ทาํ งานที่เขาสนใจ มอี ปุ กรณ์ท่ดี สี ําหรับการทาํ งาน มคี ่าจา้ งเงินเดือนที่ยุติธรรม มีโอกาสก้าวหน้าในงานท่ีทํา มีสภาพการทํางาน ที่ดีรวมทั้งชั่วโมงการทํางานและสถานท่ีเหมาะสม มีความสะดวกในการไปกลับ และการทํางานร่วมกับผู้อ่ืน ท้ังผู้บังคับบัญชาและเพ่ือนร่วมงาน สอดคล้องกับพรรณราย ทรัพยะประภา (2529 : 79) ซ่ึงได้กล่าวถึง ทฤษฎีของเฮิร์สเบิร์ก (Herzberg) ว่าสิ่งต่างๆ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจและความพึงพอใจเป็น เกณฑ์ช้ีวัดความสําเร็จอย่างหน่ึงในการปฏิบัติงาน การจูงใจบุคคลในการทํางานเพ่ือให้เกิดความพึงพอใจ จะต้องจัดสภาพแวดล้อมการทํางานและการควบคุมการปฏิบัติงานให้เหมาะสมท้ังทางด้านสถานที่ สวัสดิการ ความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงานและการทํางานร่วมกับผู้อ่ืน และสอดคล้องกับบาร์นาร์ค (Barnard, 1968 : 142 – 149 อ้างถึงใน สุวคนธ์ ย่ีสกุล, 2544 : 14 – 15) ได้กล่าวถึงสิ่งจูงใจที่จะใช้เป็น เครอื่ งกระตุน้ บคุ คลใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจในการทํางานไว้ 8 ประการ โดยส่ิงสําคญั ประการหนึ่ง คือ สิ่งแวดล้อม ในการปฏิบัติงาน ได้แก่ สถานที่ทํางาน เครื่องมือ สิ่งอํานวยความสะดวกในการทํางานต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่ง สําคัญอันอาจก่อใหเ้ กิดความสุขทางกายในการทํางาน งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ความพึงพอใจตอ่ สภาพแวดล้อมในการปฏบิ ตั ิงาน นันทเดช ย้อยนวล พ.ต.ท. ( 2541 : 14 – 15) ได้สรุปแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจว่า ปัจจัยที่ส่งผล ตอ่ ระดบั ความพงึ พอใจซึ่งเกดิ จากภาวะการทาํ งาน ท่ีสําคัญคือ 1) นโยบายและการบริหาร (Policy and Administration) หมายถึง การทํางานซํ้าซ้อนกัน การ แกง่ แย่งอาํ นาจและการดาํ เนนิ การทข่ี าดความเปน็ ธรรม ตลอดจนการบรหิ ารงานทไี่ ร้ประสทิ ธิภาพ 2) วิธีการบังคับบัญชา (Supervision) หมายถึง ผู้บังคับบัญชาขาดความรู้ ความสามารถในการ ปกครอง มีอคติ ไม่ยุติธรรม รวมท้งั ไม่สามารถเป็นผูน้ ําทางวิชาชีพได้ 3) สัมพันธ์ภาพกับผู้บังคับบัญชา (Relationship with Supervisor) หมายถึง ผู้บังคับบัญชาไม่มี มนษุ ยสัมพันธ์ วางตนสูงและไมใ่ หค้ วามสนทิ สนมเปน็ กนั เองผู้รว่ มงาน 4) สัมพันธ์ภาพกับเพื่อนร่วมงาน (Relationship with Peers) หมายถึง การที่ต่างคนต่างทํางาน โดยไม่คาํ นงึ ถงึ มิตรภาพ มีการแขง่ ขันชงิ ดีชงิ เด่นและเอาตัวรอด 5) สภาพการทํางาน (Work Condition) หมายถึง ส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ในการทํางานไม่เหมาะสม เช่น สถานทีต่ ้งั หนว่ ยงานไม่ดี ไมม่ อี ุปกรณอ์ ํานวยความสะดวกในการทํางาน ปรมิ าณงานมีมากหรอื น้อยเกินไป 6) ความก้าวหน้า (Advancement) หมายถึง การได้รับเล่ือนเงินเดือนหรือตําแหน่งให้สูงข้ึน รวมถึงโอกาสที่จะได้เพ่ิมพูนความรู้ ความสามารถในการทํางานเพ่ือความเจริญก้าวหน้าในการทํางานด้วย ปภาวดี ดุลยจินดา (2532 : 530 – 531, อ้างถึงใน ทัศนีพร ศรีวัฒนะ, 2545 : 12) ได้ให้ ความสาํ คัญของความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงานไว้ ดงั น้ี 1) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิต กล่าวคือ การทํางานเป็นสิ่งที่ท้าทาย ความสามารถของบุคคลในขณะเดยี วกนั ชีวติ ในการทํางานจะต้องเป็นชีวิตท่ีมีคุณภาพด้วย ดังนั้น ความพึงพอใจ ในการปฏบิ ัติงานจึงช่วยเสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ
5 2) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานช่วยป้องกันความห่างเหินจากงาน กล่าวคือ ในการทํางาน ความขัดแย้งระหว่างบุคคลเกิดข้ึนได้เสมอ ซึ่งนําไปสู่ความไม่พอใจ และความห่างเหินจากงานได้ ฉะนั้น การเสริมสร้างให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ จีงช่วยป้องกันความห่างเหินจากงานและยังช่วยป้องกันไม่ให้ ผลผลติ ขององคก์ ารลดลงดว้ ย ผลทไี่ ดจ้ ากการศึกษาตามแนวคิด ทฤษฎี ระเบียบ และงานวิจัยที่เก่ียวข้องข้างต้นสรุปได้ว่า รายได้ ความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้า ระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ สถานที่ปฏิบัติงาน ระบบงาน และความถนัดในงาน และการทํางานร่วมกับผู้อ่ืน เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน ซ่ึงการสรุปดังกลา่ วนําไปสกู่ ารกําหนดตวั แปรในการศึกษาเรอื่ งความพงึ พอใจของพนกั งานราชการต่อการ ปฏบิ ัตงิ านในกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดังน้ี ตวั แปรตาม คอื ความพงึ พอใจของพนักงานราชการ ตวั แปรอิสระ คอื (1) ปจั จัยส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ (2) ปัจจัยจากบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ความมั่นคงและโอกาส ความก้าวหน้าในอาชีพ ระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ สถานท่ี ปฏิบัติงาน ระบบงานและความถนัดในงาน การทํางานร่วมกับผู้อ่ืน กรอบแนวคดิ ภาพท่ี 2.1 ความสมั พันธ์ระหวา่ งความพึงพอใจของพนักงานราชการกับปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยจากบริบท แวดล้อมในการปฏบิ ัตงิ านในกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตัวแปรอิสระ ตวั แปรตาม ปจั จยั สว่ นบคุ คล ได้แก่ ความพึงพอใจ 1. เพศ 2. อายุ ของพนกั งานราชการ 3. ระดบั การศกึ ษา 4. สถานภาพสมรส 5. รายได้ ปจั จัยจากบริบทแวดลอ้ ม ในการปฏบิ ตั งิ าน ได้แก่ 1. ความมน่ั คงและโอกาส ความกา้ วหนา้ ในอาชีพ 2. ระบบค่าตอบแทนและ สิทธปิ ระโยชน์ 3. สถานที่ปฏบิ ัติงาน 4.ระบบงานและความถนดั ในงาน 5. การทาํ งานร่วมกับผู้อืน่ รปู ภาพ
6. กรอบแนวคิดขา้ งตน้ แสดงถงึ ความสอดคล้องกบั แนวคิดทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง ดังน้ี 1. แนวคิดและทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วขอ้ งเกีย่ วกับความพึงพอใจต่อสภาพแวดลอ้ มในการทํางานของธงชัย สนั ติวงษแ์ ละชัยยศ สันติวงษ์ (2533 : 48) เนตรพัณณา ยาวิราช (2546 : 105) กิติมา ปรีดีดิลก (2524 อา้ งถงึ ใน ศภุ ชยั คามวลั ย์, 2544 : 5) คเุ ปอร์ (Cooper, 1958 : 31 อา้ งถงึ ใน สวุ คนธ์ ยี่สกุล, 2544 ; 10) พรรณราย ทรัพยะประภา (2529 : 79) บาร์นาร์ค (Barnard, 1968 : 142 – 149 อ้างถึงใน สุวคนธ์ ย่ีสกุล, 2544 : 14 – 15) นันทเดช ย้อยนวล พ.ต.ท. ( 2541 : 14 – 15) และปภาวดี ดุลยจินดา (2532 : 530 – 531, อา้ งถงึ ใน ทศั นพี ร ศรีวัฒนะ, 2545 : 12) 2. แนวคิดและระเบยี บว่าด้วยพนักงานราชการ สํานกั งาน ก.พ. (2547 : 2 – 3)
บทท่ี 3 ระเบยี บวิธีวิจยั เนื้อหาของบทเป็นการอธิบายถึงวิธีการวิจัยสําหรับการศึกษาในครั้งนี้ ซ่ึงใช้การวิจัยเชิงปริมาณ ประกอบดว้ ย ประชากรและตัวอย่าง เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การแปรผลข้อมูล และวธิ กี ารทางสถิติสาํ หรับใช้ในการวิเคราะห์และการทดสอบสมมุติฐานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ที่กําหนดขน้ึ ประชากร ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษา คือ พนักงานราชการสังกดั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตวั อย่าง ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการศกึ ษา คอื พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง ในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (เฉพาะสํานัก/กอง/หน่วยงานที่มีสํานักงานตั้งอยู่ในบริเวณ อาคารเลขท่ี 3/12 ถนนอู่ทอง เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10300) โดยผู้วิจัยได้นําจํานวนประชากร ท่ีมีอยู่ทั้งหมด 184 คน มาสุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Yamane (1967) ที่ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 90 และคา่ ความคลาดเคลือ่ นทรี่ ะดบั รอ้ ยละ ±10 สตู รของ ทาโร ยามาเน่ (Yamane, 1973 อา้ งใน ธรี วุฒิ เอกะกุล, 2543) n= N . 1 + Ne2 n = ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งที่ต้องการ N = ขนาดของประชากร e = ความคลาดเคล่ือนของการสมุ่ ตัวอย่างที่ ยอมรับได้ วธิ กี ารคํานวณสตู รนี้ผู้วิจัยตอ้ งทราบขนาดของประชากรท่ีศึกษา (N) และกําหนดระดับความคลาดเคลื่อน ของการสุ่มตัวอย่างทยี่ อมรับได้ (e) ผู้วจิ ัยได้แทนค่าขนาดของประชากรเท่ากับ 184 คน ยอมรับให้เกิด ความคลาดเคลื่อนจากตัวอย่างได้ 10% ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการจงึ เทา่ กบั n= N . 1 + Ne2 n = 184 . 1 + 184(0.10)2 n = 64.79 ≈ 65 ผทู้ าํ วิจยั ไดด้ ําเนนิ การเกี่ยวกบั การเลอื กตวั อย่าง ดังน้ี 1. หาจาํ นวนของกล่มุ ประชากรทัง้ หมดซ่งึ เป็นพนักงานราชการทีป่ ฏิบัติงานอยใู่ นสํานัก/กอง/ หน่วยงานสว่ นกลางในสังกัดกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ มจี ํานวนท้งั หมด 184 คน 2. คํานวณขนาดตัวอยา่ งจากสตู รการคาํ นวณและไดจ้ าํ นวน 65 คน 3. กาํ หนดขนาดตวั อยา่ งในจํานวนทีม่ ากกวา่ คา่ ตัวเลขท่ไี ด้จากการคํานวณ โดยวธิ ีการสมุ่ ตวั อย่างแบบ โควตา และได้จาํ นวน 100 คน โดยกาํ หนดโควตาประชากรตัวอย่างจาํ แนกตามสํานัก/กอง/หน่วยงาน
8 ส่วนกลางในสงั กัดกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยดังนี้ 3.1 สํานัก/กอง/หน่วยงานระดับใหญ่ซ่ึงมีผู้บังคับบัญชาสูงสุดเป็นระดับอํานวยการสูงหรือ เทยี บเท่า จํานวน 8 หน่วยงานๆ ละ 8 คน รวม 64 คน 3.2 สาํ นกั /กอง/หน่วยงานระดบั เลก็ ซึง่ มีผบู้ งั คบั บัญชาสูงสดุ เป็นระดบั อาํ นวยการตน้ หรอื ชํานาญการพเิ ศษ จํานวน 6 หน่วยงานๆ ละ 6 คน รวม 64 คน เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการศึกษา ผู้วจิ ัยใชแ้ บบสอบถามเป็นเครือ่ งมือเพอื่ เก็บรวบรวมข้อมลู จากตัวอย่าง โดยมีรายละเอียดเก่ียวกับ การสรา้ งแบบสอบถามเป็นข้นั ตอนดังน้ี 1. ศึกษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร งานวิจยั และทฤษฎีทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. สรา้ งแบบสอบถามเพ่ือถามความคดิ เหน็ ในประเด็นตา่ งๆ 2 ประเด็นหลัก คอื (1) ขอ้ มูลทัว่ ไปเกีย่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ (2) ความพึงพอใจต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย บรบิ ทแวดล้อมดา้ นต่างๆ ได้แก่ ความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้า ระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ สถานทป่ี ฏิบตั งิ าน ระบบงานและความถนดั ในงาน การทํางานร่วมกบั ผู้อ่นื 3. นาํ แบบสอบถามที่ได้สร้างขน้ึ มาเสนอต่ออาจารยท์ ป่ี รกึ ษา เพื่อปรับปรุงแก้ไข 4. ทําการปรับปรุงแก้ไขและนําเสนอให้อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง เพอ่ื ให้อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาอนมุ ตั กิ ่อนแจกแบบสอบถาม 5. แจกแบบสอบถามไปยังตัวอยา่ ง การตรวจสอบเคร่อื งมือ ผู้วิจัยได้นําเสนอแบบสอบถามท่ีได้สร้างขึ้นต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความครบถ้วนและ ความสอดคล้องของเน้ือหาของแบบสอบถามท่ีตรงกับเร่อื งทจ่ี ะศกึ ษา องค์ประกอบของแบบสอบถาม ผทู้ าํ วิจยั ไดอ้ อกแบบสอบถามซึ่งประกอบดว้ ย 2 สว่ นพร้อมกบั วิธกี ารตอบคําถามดังต่อไปนี้ คอื ส่วนที่ 1 เป็นคําถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ การศกึ ษา สถานภาพสมรส และรายได้ ลักษณะคําถามเป็นคําถามปลายปิดแบบให้เลอื กตอบ ส่วนที่ 2 เป็นคําถามเก่ียวข้องกับความพึงพอใจต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานของผู้ตอบ แบบสอบถาม ได้แก่ ความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้า ระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ สถานที่ ปฏิบัติงาน ระบบงานและความถนัดในงาน การทํางานร่วมกับผู้อื่น ลักษณะเป็นคําถามปลายปิด โดยให้ เลือกคําตอบท่ีตรงกับระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามซ่ึงแบ่งเป็น 5 ระดับ ต้ังแต่น้อยที่สุดถึง มากทสี่ ุด
9 การเก็บรวบรวมข้อมลู ผวู้ ิจัยไดด้ าํ เนินการเกบ็ ขอ้ มลู ตามข้ันตอนต่อไปน้ี คือ 1. ผู้วิจัยอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาภายในแบบสอบถามและวิธีการตอบแก่ตัวแทนและ ทีมงาน 2. ผูว้ จิ ยั หรอื ตวั แทนและทีมงาน เข้าไปในสถานทีท่ ่ีต้องการศกึ ษาตามท่ีระบุไว้ขา้ งตน้ 3. ผู้วิจัยหรือตัวแทนและทีมงาน ได้แจกแบบสอบถามให้กลุ่มเป้าหมายและรอจนกระทั่งตอบ คาํ ถามครบถว้ น ซ่ึงในระหว่างน้นั ถ้าผตู้ อบมีขอ้ สงสัยเกยี่ วกับคาํ ถาม ผู้วจิ ัยหรอื ทมี งานจะตอบข้อสงสยั น้นั การแปรผลขอ้ มูล ผู้ทําวิจัยได้กําหนดค่าอันตรภาคชั้น สําหรับการแปลผลข้อมูลโดยคํานวณค่าอันตรภาคช้ัน เพื่อ กาํ หนดชว่ งช้นั ดว้ ยการใชส้ ตู รคาํ นวณและคําอธิบายสาํ หรับแตล่ ะช่วงชั้น ดังน้ี อันตรภาคชน้ั = ค่าสงู สดุ – ค่าตาํ่ สุด จํานวนช้นั ชว่ งชน้ั 1.00 – 1.80 = 5 – 1 = 0.80 1.81 – 2.61 5 2.62 – 3.42 คําอธิบายสําหรับการแปลผล 3.43 – 4.23 ระดับนอ้ ยทส่ี ุด 4.24 – 5.00 ระดบั น้อย ระดบั ปานกลาง ระดบั มาก ระดับมากท่สี ุด สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ ผ้ทู ําวจิ ัยได้กําหนดค่าสถติ สิ าํ หรบั การวิเคราะห์ข้อมูลไว้ คือ สถิติเชิงพรรณนา ซ่ึงได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ใช้บรรยายเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปและคุณสมบัติของผู้ตอบ แบบสอบถาม คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ และข้อมูลเก่ียวกับระดับความพึง พอใจต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน คือ ความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้า ระบบค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์ สถานทป่ี ฏิบัติงาน ระบบงานและความถนดั ในงาน และการทํางานรว่ มกับผอู้ ่ืน
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมลู บทนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการอธิบายเกี่ยวกับตัวแปรแต่ละตัว ซึ่งข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัย ได้เก็บรวบรวมจากแบบสอบถามที่มีคําตอบครบถ้วนสมบูรณ์ จํานวนทั้งสิ้น 97 ชุด คิดเป็นร้อยละ 97 ของจํานวนแบบสอบถามทั้งหมด 100 ชุด และในการวิเคราะห์ข้อมูลสําหรับการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้ สญั ลักษณ์ทางสถิติในการวเิ คราะห์ ดังน้ี n แทน จาํ นวนกล่มุ ตัวอยา่ ง X แทน ค่าเฉลยี่ S.D. แทน ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลนาํ เสนอในรูปของตารางประกอบความเรียงโดยแบ่งออกเปน็ 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนท่ี 1 เป็นขอ้ มูลทั่วไปเก่ียวกบั ปจั จยั ส่วนบุคคลของพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 เปน็ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ระดับความพึงพอใจของพนักงานราชการต่อปจั จยั จากบริบทแวดลอ้ ม ในการปฏิบัติงาน แบง่ ออกเปน็ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย (1) ดา้ นความมน่ั คงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชพี (2) ดา้ นระบบคา่ ตอบแทนและสทิ ธิประโยชน์ (3) ด้านสถานท่ปี ฏบิ ตั งิ าน (4) ดา้ นระบบงานและความถนดั ในงาน (5) ด้านการทาํ งานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน ส่วนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปเกี่ยวกับปัจจยั สว่ นบคุ คลของพนกั งานราชการผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 4.1 แสดงจํานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ ร้อยละ เพศ จํานวน (n) 31.96 68.04 ชาย 31 100 หญิง 66 รวม 97 ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 4.1 แสดงให้เห็นวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญงิ ซ่งึ มจี าํ นวน 66 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.04 และเป็นเพศชาย จํานวน 31 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.96
11 ตารางที่ 4.2 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จําแนกตามอายุ รอ้ ยละ อายุ จาํ นวน (n) 3.09 37.12 น้อยกวา่ 20 ปี 3 45.36 14.43 21 - 30 ปี 36 100 31 - 40 ปี 44 40 ปี ขึน้ ไป 14 รวม 97 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.2 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี ซ่ึงมีจํานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 45.36 รองลงมามีอายุระหว่าง 21 – 30 ปี จํานวน 36 คน คิดเป็น ร้อยละ 37.12 และผู้ตอบแบบสอบถามที่มีจํานวนน้อยท่ีสุดได้แก่ผู้มีอายุน้อยกว่า 20 ปี จํานวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.09 ตารางท่ี 4.3 แสดงจํานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จาํ นวน (n) รอ้ ยละ ตาํ่ กวา่ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สูง 10 10.31 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง 15 15.46 ปรญิ ญาตรี 56 57.73 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 16 16.50 รวม 97 100 ผลการศึกษาตามตารางที่ 4.3 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับ ปรญิ ญาตรี ซ่งึ มีจาํ นวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 57.73 รองลงมาจบการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จํานวน 16 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.50 และผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีจํานวนน้อยที่สุดได้แก่ผู้จบการศึกษาในระดับตํ่ากว่า ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู จาํ นวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.31
12 ตารางที่ 4.4 แสดงจาํ นวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จําแนกตามสถานภาพ สถานภาพ จาํ นวน (n) รอ้ ยละ 72.17 โสด 70 26.80 1.03 สมรส 26 100 หย่า 1 รวม 97 ผลการศึกษาตามตารางที่ 4.4 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด ซ่ึงมี จํานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 72.17 รองลงมามีสถานภาพสมรส จํานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 26.80 และมสี ถานภาพหย่า จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.03 ตารางท่ี 4.5 แสดงจํานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามรายได้ รายได้ (ต่อเดอื น) จาํ นวน (n) ร้อยละ 22.68 ตํา่ กวา่ 15,000 บาท 22 74.23 2.06 15,001 – 20,000 บาท 72 1.03 100 20,001 – 25,000 บาท 2 25,001 บาท ข้ึนไป 1 รวม 97 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.5 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 15,001 – 20,000 บาท ซึง่ มจี าํ นวน 72 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 74.23 รองลงมามรี ายได้ต่อเดอื นต่ํากว่า 15,000 บาท จาํ นวน 22 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 22.68 และผตู้ อบแบบสอบถามท่มี จี าํ นวนน้อยทีส่ ดุ ได้แก่ผตู้ อบแบบสอบถาม ที่มรี ายไดต้ ่อเดอื น 25,000 บาทขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.03
13 ส่วนที่ 2 ข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของพนักงานราชการต่อปัจจัยจากบริบทแวดล้อม ในการปฏิบัติงาน ตารางที่ 4.6 แสดงระดบั ความพงึ พอใจทีม่ ตี ่อบริบทแวดล้อมในการปฏบิ ตั ิงาน บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั งิ าน X S.D การแปรผล ด้านความมน่ั คงและโอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี 1.05 ปานกลาง ดา้ นระบบคา่ ตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชน์ 3.22 0.85 มาก ด้านสถานท่ปี ฏบิ ัติงาน 3.53 0.87 มาก ดา้ นระบบงานและความถนัดในงาน 3.45 0.75 ปานกลาง ดา้ นการทํางานรว่ มกับผู้อืน่ 3.40 0.79 มาก 3.68 รวม 0.86 มาก 3.45 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.6 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อบริบท แวดล้อมในการปฏิบัติงานในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.45 (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน o.86) แต่เมื่อ พิจารณาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานแต่ละด้านแล้วพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ในระดับมากต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านการทํางานร่วมกับผู้อื่น โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.68 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79) รองลงมาเป็นด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ และด้านสถานท่ี ปฏิบัติงาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.53 และ 3.45 ตามลําดับ สําหรับบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านที่ ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจน้อยที่สุดได้แก่ด้านความม่ันคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ โดย มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กับ 3.22 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.05) ตารางที่ 4.7 (1) แสดงค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) ระดับความพึงพอใจท่ีมีต่อ บริบทแวดลอ้ มในการปฏบิ ัตงิ านดา้ นความม่นั คงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชพี บริบทแวดล้อมในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นความม่นั คง X S.D การแปรผล และโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ 1. ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยพนกั งานราชการ 2.99 1.13 ปานกลาง กําหนดใหจ้ า้ งพนักงานราชการไดต้ ามสญั ญาจ้างไม่เกนิ คราวละ 4 ปี (แตกตา่ งจากข้าราชการและลกู จา้ งประจาํ ท่ีปฏิบตั งิ านไดต้ อ่ เนอื่ งถึงอายุ 60 ปี) 2. ความเอาใจใส่ของกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 3.45 0.97 มาก และผบู้ ังคบั บัญชา ในการส่งเสรมิ ให้พนักงานราชการ 3.22 1.05 ปานกลาง ของกรมมีความมัน่ คงในอาชพี รวม
14 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.7 (1) แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพในระดับปานกลาง มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.22 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.05) แต่เมื่อพิจารณาในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อม ในการปฏิบัติงานด้านความม่ันคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพแล้วพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจในประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องการกําหนดให้จ้างพนักงานราชการได้ตามสัญญาจ้างไม่เกิน คราวละ 4 ปี (ซึ่งแตกต่างจากข้าราชการและลูกจ้างประจําท่ีปฏิบัติงานได้ต่อเนื่องถึงอายุ 60 ปี) ในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.99 (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.13) และมีความพึงพอใจในประเด็นย่อยเก่ียวกับ เรื่องความเอาใจใส่ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและผู้บังคับบัญชาในการส่งเสริมให้พนักงานราชการ ของกรมมีความมนั่ คงในอาชพี ในระดับมาก มีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 3.45 (สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.97) ตารางท่ี 4.7 (2) แสดงจาํ นวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อ บริบทแวดล้อมในการปฏิบตั ิงานด้านความมัน่ คงและโอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี บริบทแวดล้อม ระดับความพงึ พอใจ ในการปฏิบัตงิ าน มากท่สี ุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ค่าเฉลีย่ การแปลผล ด้านความม่ันคงและ กลาง ที่สุด โอกาสกา้ วหนา้ ในอาชพี (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 1. ระเบียบสาํ นักนายก 12 15 41 18 11 2.99 ปานกลาง รฐั มนตรวี ่าด้วยพนกั งาน (12.37) (15.46) (42.27) (18.56) (11.34) ราชการ กําหนดใหจ้ ้าง พนักงานราชการได้ตาม สัญญาจา้ งไม่เกินคราวละ 4 ปี (แตกตา่ งจากข้าราชการ ลูกจา้ งประจาํ ทป่ี ฏบิ ัติงาน ไดต้ อ่ เน่ืองถึงอายุ 60 ปี) 2. ความเอาใจใส่ของกรมปภ. 16 28 39 12 2 3.45 มาก และผ้บู ังคบั บัญชา ในการ (16.49) (28.87) (40.21) (12.37) (2.06) ส่งเสรมิ ให้พนกั งานราชการ ของกรมมีความมนั่ คงในอาชีพ (เชน่ การใหค้ ะแนนบวก เพ่มิ แกพ่ นกั งานราชการ ของกรมท่ีสอบผา่ นภาค ก. และประสงค์จะสอบภาค ข. และค.เพื่อบรรจุเปน็ ขา้ ราชการ สังกัด ปภ. เปน็ ต้น)
15 ผลการศึกษาตามตารางที่ 4.7 (2) แสดงให้เห็นระดับความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อม ในการปฏบิ ัตงิ านดา้ นความมั่นคงและโอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ดงั นี้ - ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจโดยรวมตอ่ การกําหนดให้จ้างพนกั งานราชการได้ตามสญั ญาจ้าง ไม่เกินคราวละ 4 ปี (แตกต่างจากข้าราชการและลูกจา้ งประจาํ ที่ปฏบิ ตั งิ านไดต้ อ่ เน่ืองถึงอายุ 60 ปี) ในระดับ ปานกลาง มีคา่ เฉล่ยี เทา่ กับ 2.99 ซง่ึ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง จาํ นวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 42.27 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับน้อย จํานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 18.56 โดยมี ผู้ตอบแบบสอบถามจํานวนนอ้ ยท่ีมีความพึงพอใจในระดบั น้อยที่สดุ จาํ นวน 11 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.34 - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความเอาใจใส่ของกรม ปภ. และผู้บังคับบัญชา ในการส่งเสริมให้พนักงานราชการของกรมมีความม่ันคงในอาชีพ ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.45 ซ่ึง ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 40.21 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 28.87 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามจํานวนน้อย ที่มคี วามพงึ พอใจในระดบั นอ้ ยทสี่ ุด จํานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.06 ตารางที่ 4.8 (1) แสดงค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานดา้ นระบบคา่ ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงาน X S.D การแปรผล 0.75 มาก ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน์ 3.81 0.96 ปานกลาง 3.26 3. การกาํ หนดใหพ้ นกั งานราชการ รายท่ไี ดร้ บั การต่อ 0.85 มาก 3.53 สัญญาจา้ ง สามารถได้รับอัตราค่าตอบแทนต่อเน่อื ง ตามผลประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน (ไม่ต้องเรม่ิ ใหมท่ ีข่ ั้นต่ํา) 4. สทิ ธปิ ระโยชนท์ พ่ี นักงานราชการได้รบั (เชน่ สทิ ธิประโยชนจ์ ากการประกนั สงั คม สิทธิการลา สิทธิได้รับคา่ ตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลางาน เป็นตน้ ) รวม ผลการศึกษาตามตารางที่ 4.8 (1) แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.53 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.85) แต่เมื่อพิจารณาในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์แล้วพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจใน ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องการกําหนดให้พนักงานราชการรายท่ีได้รับการต่อสัญญาจ้างสามารถได้รับอัตรา ค่าตอบแทนต่อเนื่องตามผลประเมนิ การปฏิบตั ิงาน (ไมต่ อ้ งเรมิ่ ใหมท่ ี่ข้นั ตํา่ ) ในระดบั มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.81 (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.75) และมีความพึงพอใจในประเด็นย่อยเก่ียวกับเร่ืองสิทธิประโยชน์ที่พนักงาน ราชการไดร้ บั ในระดบั ปานกลาง มีคา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 3.26 (ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.96)
16 ตารางที่ 4.8 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉล่ีย ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อ บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏบิ ัติงานด้านระบบคา่ ตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน์ บรบิ ทแวดลอ้ ม ระดับความพงึ พอใจ ในการปฏิบัตงิ าน มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย คา่ เฉล่ยี การแปลผล ด้านระบบคา่ ตอบแทน กลาง ที่สดุ และสทิ ธปิ ระโยชน์ (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 3. การกาํ หนดให้พนักงาน 18 45 32 2 0 3.81 มาก ราชการ รายทไี่ ดร้ บั การ (18.56) (46.39) (32.99) (2.06) ตอ่ สญั ญาจา้ ง สามารถ ไดร้ บั อัตราค่าตอบแทน ต่อเนื่องตามผลประเมนิ การปฏิบัตงิ าน (ไมต่ ้องเร่ิม ใหม่ทขี่ นั้ ต่ํา) 4. สทิ ธปิ ระโยชนท์ ี่ 8 30 44 9 6 3.26 ปานกลาง พนกั งานราชการได้รบั (8.25) (30.93) (45.36) (9.28) (6.18) (เช่น สทิ ธิประโยชนจ์ าก การประกนั สังคม สิทธิ การลาสทิ ธไิ ด้รับ ค่าตอบแทนการ ปฏบิ ัติงานนอกเวลางาน เปน็ ต้น) ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 4.8 (2) แสดงให้เห็นระดบั ความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อม ในการปฏิบตั ิงานด้านระบบคา่ ตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน์ ดังนี้ - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อการกําหนดให้พนักงานราชการรายท่ีได้รับการต่อ สัญญาจ้างสามารถได้รับอัตราค่าตอบแทนต่อเนื่องตามผลประเมินการปฏิบัติงาน (ไม่ต้องเริ่มใหม่ที่ข้ันตํ่า) ใน ระดบั มาก มีค่าเฉล่ียเทา่ กบั 3.81 ซึ่งผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 45 คน คิด เป็นร้อยละ 46.39 รองลงมามคี วามพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 32.99 โดย ไมม่ ีผตู้ อบแบบสอบถามคนใดท่ีตอบวา่ มีความพึงพอใจในระดับนอ้ ยท่สี ดุ - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อสิทธิประโยชน์ที่พนักงานราชการได้รับในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.26 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 45.36 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 30.93 โดยมี ผตู้ อบแบบสอบถามจํานวนนอ้ ยที่มคี วามพงึ พอใจในระดบั นอ้ ยท่สี ดุ จํานวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.18
17 ตารางท่ี 4.9 (1) แสดงค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ระดับความพึงพอใจท่ีมีต่อ บริบทแวดลอ้ มในการปฏิบัติงานด้านสถานทีป่ ฏิบัตงิ าน บริบทแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน X S.D การแปรผล ดา้ นสถานทปี่ ฏบิ ตั ิงาน 3.43 0.94 มาก 5. ความสะดวกในการเดินทางมาปฏิบัติงาน 3.55 0.89 มาก 6. การจัดสถานท่ีทํางาน/ห้องปฏิบตั งิ าน รวมทั้งการ 3.56 0.70 มาก แบง่ สดั สว่ นของพ้ืนที่ทาํ งาน 3.27 0.94 ปานกลาง 7. ความสะอาดและสขุ ลักษณะของสถานที่ทาํ งาน 3.45 0.87 มาก 8. ตเู้ อกสารและระบบการจดั เก็บเอกสาร รวม ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.9 (1) แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อ บริบทแวดล้อมในการปฏบิ ัติงานดา้ นสถานทปี่ ฏบิ ัตงิ านในระดบั มาก มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 3.45 (ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 0.87) แต่เมื่อพิจารณาในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านสถานท่ี ปฏิบัติงานแล้วพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อมใน การปฏบิ ตั งิ านด้านสถานที่ปฏิบัติงานในระดับมาก 3 ประเด็นย่อย ได้แก่ ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องความ สะดวกในการเดินทางมาปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.43 (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.94) ประเด็นย่อย เกี่ยวกับเร่ืองการจัดสถานท่ีทํางาน/ห้องปฏิบัติงานรวมท้ังการแบ่งสัดส่วนของพ้ืนท่ีทํางาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.55 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.89) และประเด็นย่อยเก่ียวกับเร่ืองความสะอาดและสุขลักษณะของสถานที่ ทาํ งาน มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 3.56 (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.70) สําหรับประเด็นย่อยเกี่ยวกับเร่ืองตู้เอกสารและ ระบบการจัดเก็บเอกสารผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.27 (ส่วน เบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.94) ตารางที่ 4.9 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อ บรบิ ทแวดล้อมในการปฏบิ ัตงิ านดา้ นสถานทป่ี ฏิบัติงาน บริบทแวดล้อม ระดบั ความพงึ พอใจ ในการปฏบิ ตั งิ าน มากทสี่ ดุ มาก ปาน น้อย น้อย ค่าเฉล่ยี การแปลผล กลาง ทส่ี ุด ดา้ นสถานทป่ี ฏิบตั ิงาน (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 5. ความสะดวกในการ 10 39 35 9 4 3.43 มาก เดนิ ทางมาปฏิบตั งิ าน (10.31) (40.21) (36.08) (9.28) (4.12)
18 บริบทแวดล้อม ระดบั ความพงึ พอใจ ในการปฏบิ ตั ิงาน มากท่ีสุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย ค่าเฉลี่ย การแปลผล กลาง ท่สี ดุ ดา้ นสถานทป่ี ฏิบตั งิ าน (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 6. การจดั สถานทที่ าํ งาน/ 12 41 34 8 2 3.55 มาก หอ้ งปฏบิ ตั ิงานรวมท้งั การ (12.37) (42.27) (35.05) (8.25) (2.06) แบง่ สัดสว่ นพ้นื ทที่ าํ งาน 7. ความสะอาดสขุ ลกั ษณะ 8 42 43 4 0 3.56 มาก ของสถานท่ีทํางาน (8.25) (43.30) (44.33) (4.12) 8. ตู้เอกสารและระบบการ 10 27 41 17 2 3.27 ปานกลาง จัดเกบ็ เอกสาร (10.31) (27.83) (42.27) (17.53) (2.06) ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.9 (2) แสดงให้เห็นระดับความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อม ในการปฏบิ ตั ิงานด้านสถานที่ปฏิบัติงาน ดังนี้ - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความสะดวกในการเดินทางมาปฏิบัติงานในระดับ มาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.43 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 39 คน คิดเป็น ร้อยละ 40.21 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 36.08 โดยมี ผู้ตอบแบบสอบถามจาํ นวนน้อยท่ีมีความพึงพอใจในระดบั น้อยทีส่ ดุ จํานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.12 - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดสถานที่ทํางาน/ห้องปฏิบัติงานรวมทั้งการ แบ่งสัดส่วนพ้ืนที่ทํางานในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.55 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจใน ระดบั มาก จาํ นวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 42.27 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 35.05 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามจํานวนน้อยที่มีความพึงพอใจในระดับน้อยท่ีสุด จํานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.06 - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความสะอาดสุขลักษณะของสถานที่ทํางาน ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยเทา่ กบั 3.56 ซงึ่ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง จาํ นวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 44.33 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 43.30 โดยไม่มี ผู้ตอบแบบสอบถามคนใดทตี่ อบว่ามคี วามพงึ พอใจในระดับน้อยทส่ี ุด - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อตู้เอกสารและระบบการจัดเก็บเอกสารในระดับปาน กลาง มีคา่ เฉล่ยี เทา่ กบั 3.27 ซง่ึ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจในระดับปานกลาง จํานวน 41 คน คิด เป็นร้อยละ 42.27 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 27.83 โดยมี ผตู้ อบแบบสอบถามจาํ นวนน้อยท่มี คี วามพึงพอใจในระดับนอ้ ยท่สี ุด จาํ นวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.06
19 ตารางท่ี 4.10 (1) แสดงค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อ บรบิ ทแวดล้อมในการปฏิบัตงิ านด้านระบบงานและความถนัดในงาน บรบิ ทแวดล้อมในการปฏบิ ตั งิ าน X S.D การแปรผล ดา้ นระบบงานและความถนดั ในงาน 3.41 0.89 ปานกลาง 9. ความพรอ้ มของวสั ดุอุปกรณท์ ีช่ ่วยในการทํางาน 3.42 0.70 ปานกลาง 10. ความสอดคล้องสมั พันธ์กันของงานทีป่ ฏิบตั กิ บั 3.36 0.66 ปานกลาง ความรคู้ วามสามารถ 3.43 0.74 มาก 11. ความเหมาะสมของปรมิ าณงานกับหนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบ 3.40 0.75 ปานกลาง 12. ความทา้ ทายของงานทป่ี ฏบิ ัติ รวม ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.10 (1) แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวม ต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านระบบงานและความถนัดในงานในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.40 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.75) แต่เมื่อพิจารณาในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อมในการ ปฏิบัติงานด้านระบบงานและความถนัดในงานแล้วพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจใน ประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านระบบงานและความถนัดในงานในระดับปานกลาง จํานวน 3 ประเด็นย่อย ได้แก่ ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ที่ช่วยในการทํางาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.41 (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.89) ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องความสอดคล้องสัมพันธ์กัน ของงานท่ปี ฏิบตั กิ บั ความรู้ความสามารถ มคี ่าเฉล่ียเทา่ กบั 3.42 (สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.70) และประเด็น ย่อยเก่ียวกับเรื่องความเหมาะสมของปริมาณงานกับหน้าท่ีรับผิดชอบ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.36 (ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 0.66) สําหรับประเด็นย่อยเก่ียวกับเร่ืองความท้าทายของงานท่ีปฏิบัติผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ ในระดับมาก มคี า่ เฉลีย่ เท่ากบั 3.43 (ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.74) ตารางท่ี 4.10 (2) แสดงจาํ นวน ร้อยละ และค่าเฉล่ีย ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อ บริบทแวดลอ้ มในการปฏิบัติงานด้านระบบงานและความถนดั ในงาน บริบทแวดล้อม ระดับความพงึ พอใจ ในการปฏบิ ตั งิ าน มากทส่ี ดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ย คา่ เฉล่ยี การแปลผล ดา้ นระบบงานและ กลาง ที่สุด ความถนัดในงาน (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 9. ความพรอ้ มของวัสดุ 8 40 36 10 3 3.41 ปานกลาง อปุ กรณ์ทชี่ ่วยในการทํางาน (8.25) (41.24) (37.11) (10.31) (3.09)
20 บริบทแวดล้อม ระดบั ความพงึ พอใจ ในการปฏิบัตงิ าน มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย คา่ เฉลี่ย การแปลผล ด้านระบบงานและ กลาง ท่ีสดุ ความถนดั ในงาน (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) 10. ความสอดคลอ้ งสมั พันธ์ 4 41 44 8 0 3.42 ปานกลาง ของงานท่ีปฏิบัตกิ ับความรู้ (4.12) (42.27) (45.36) (8.25) ความสามารถ 11. ความเหมาะสมของ 2 39 48 8 0 3.40 ปานกลาง (2.06) (40.21) (49.48) (8.25) ปริมาณงานกับหนา้ ท่ี รบั ผดิ ชอบ 12. ความท้าทายของงานท่ี 5 41 43 7 1 3.43 มาก ปฏิบตั ิ (5.15) (42.27) (44.33) (7.22) (1.03) ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.10 (2) แสดงให้เห็นระดับความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบท แวดลอ้ มในการปฏิบตั งิ านดา้ นระบบงานและความถนัดในงาน ดังนี้ - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ที่ช่วยในการทํางานใน ระดับปานกลาง มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.41 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 41.24 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 37.11 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามจํานวนน้อยท่ีมีความพึงพอใจในระดับน้อยท่ีสุด จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อย ละ 3.09 - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความสอดคล้องสัมพันธ์ของงานท่ีปฏิบัติกับความรู้ ความสามารถในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.42 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับ ปานกลาง จํานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 45.36 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 41 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 42.27 โดยไม่มีผ้ตู อบแบบสอบถามคนใดทตี่ อบวา่ มีความพึงพอใจในระดับน้อยท่สี ดุ - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความเหมาะสมของปริมาณงานกับหน้าที่ รับผิดชอบในระดบั ปานกลาง มคี ่าเฉลยี่ เทา่ กับ 3.40 ซึง่ ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจในระดับ ปานกลาง จํานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 49.48 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 39 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 40.21 โดยไม่มีผู้ตอบแบบสอบถามคนใดทต่ี อบวา่ มีความพงึ พอใจในระดับน้อยทีส่ ดุ - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อความท้าทายของงานท่ีปฏิบัติในระดับมาก มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.43 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 43 คน คิดเป็น ร้อยละ 44.33 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 42.27 โดยมีผู้ตอบ แบบสอบถามจาํ นวนน้อยท่ีมคี วามพงึ พอใจในระดับนอ้ ยที่สดุ จํานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.03
21 ตารางท่ี 4.11 (1) แสดงค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อ บรบิ ทแวดล้อมในการปฏิบัตงิ านดา้ นการทํางานรว่ มกบั ผ้อู ื่น บรบิ ทแวดล้อมในการปฏบิ ตั งิ าน X S.D การแปรผล ดา้ นการทาํ งานร่วมกบั ผอู้ น่ื 3.70 0.76 มาก 13. การควบคมุ สั่งการของผบู้ งั คบั บัญชา 3.59 0.81 มาก 3.57 0.70 มาก 14. การให้คําแนะนาํ และสอนงานของผู้บงั คับบญั ชา 3.85 0.90 มาก 15. การมอบหมายงานของผบู้ งั คบั บญั ชา 3.68 0.79 มาก 16. มนษุ ยสัมพนั ธแ์ ละการช่วยเหลอื เกือ้ กูลกนั กบั เพื่อน ร่วมงาน รวม ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.11 (1) แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวม ต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านการทํางานร่วมกับผู้อื่นในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.68 (ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79) แต่เมื่อพิจารณาในประเด็นย่อยของบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านการ ทํางานร่วมกับผู้อ่ืนแล้วพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบท แวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านการทํางานร่วมกับผู้อ่ืนในระดับมากทุกประเด็นย่อย โดยประเด็นย่อย เกี่ยวกับเรื่องมนุษยสัมพันธ์และการช่วยเหลือเก้ือกูลกันกับเพื่อนร่วมงานมีค่าเฉล่ียสูงสุดเท่ากับ 3.85 (ส่วน เบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.90) รองลงมาได้แก่ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องการควบคุมส่ังการของผู้บังคับบัญชา มี คา่ เฉลีย่ เท่ากบั 3.70 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.76) สําหรับประเด็นย่อยด้านการทํางานร่วมกับผู้อ่ืนที่มีค่าเฉลี่ย น้อยท่ีสุดได้แก่ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องการมอบหมายงานของผู้บังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 (ส่วน เบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.81) ตารางท่ี 4.11 (2) แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏิบัติงานด้านการทํางานร่วมกับผู้อนื่ บรบิ ทแวดล้อม ระดบั ความพงึ พอใจ ในการปฏิบตั ิงาน มากทีส่ ุด มาก ปาน น้อย น้อย ค่าเฉล่ยี การแปลผล กลาง ทส่ี ดุ ดา้ นการทาํ งานรว่ มกบั ผู้อ่ืน (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 13. การควบคมุ ส่ังการ 14 44 35 4 0 3.70 มาก ของผู้บังคบั บญั ชา (14.43) (45.36) (36.08) (04.13)
22 บริบทแวดลอ้ ม ระดับความพงึ พอใจ ในการปฏิบัตงิ าน มากทีส่ ดุ มาก ปาน นอ้ ย น้อย คา่ เฉลย่ี การแปลผล กลาง ท่สี ุด ดา้ นการทํางานรว่ มกบั ผ้อู ่ืน (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 14. การใหค้ าํ แนะนาํ และ 12 40 39 5 1 3.59 มาก สอนงานของผูบ้ ังคับบัญชา (12.37) (41.24) (40.21) (5.15) (1.03) 15. การมอบหมายงานของ 7 45 42 2 1 3.57 มาก ผ้บู งั คับบญั ชา (7.22) (46.39) (43.30) (2.06) (1.03) 16. มนุษยสัมพนั ธแ์ ละการ 20 53 15 7 2 3.84 มาก ช่วยเหลือเกื้อกูลกันกับ (20.62) (54.64) (15.46) (7.22) (2.06) เพอ่ื นรว่ มงาน ผลการศึกษาตามตารางที่ 4.11 (2) แสดงให้เห็นระดับความพึงพอใจในประเด็นย่อยของบริบท แวดลอ้ มในการปฏบิ ัติงานดา้ นการทาํ งานร่วมกับผู้อน่ื ดงั น้ี - ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจโดยรวมตอ่ การควบคุมสัง่ การของผู้บงั คบั บัญชาในระดบั มาก มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.70 ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 45.36 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 36.08 โดยไม่มีผู้ตอบ แบบสอบถามคนใดท่ตี อบวา่ มคี วามพึงพอใจในระดบั นอ้ ยท่ีสดุ - ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อการให้คําแนะนําและสอนงานของผู้บังคับบัญชาใน ระดับมาก มคี า่ เฉลีย่ เทา่ กับ 3.59 ซงึ่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 40 คน คิด เป็นร้อยละ 41.24 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จํานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 40.21 โดย มีผตู้ อบแบบสอบถามจํานวนนอ้ ยทีม่ ีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด จาํ นวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.03 - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อการมอบหมายงานของผู้บังคับบัญชาในระดับ มาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.57 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 45 คน คิด เป็นร้อยละ 46.39 รองลงมามีความพงึ พอใจในระดับปานกลาง จํานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 43.30 โดยมีผู้ตอบ แบบสอบถามจาํ นวนนอ้ ยท่ีมคี วามพึงพอใจในระดบั นอ้ ยท่ีสุด จํานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.03 - ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยรวมต่อมนุษยสัมพันธ์และการช่วยเหลือเกื้อกูลกันกับเพื่อน ร่วมงานในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.84 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก จํานวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 54.64 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดจํานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 20.62 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามจํานวนน้อยท่ีมีความพึงพอใจในระดับน้อยท่ีสุด จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อย ละ 1.03
บทท่ี 5 สรปุ และอภิปรายผล สรุปผลงานศึกษาเรื่องบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อความพึงพอใจของ พนักงานราชการ กรณีศึกษา : พนักงานราชการท่ีปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง สังกัด กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สามารถอภิปรายผลของการศึกษาเปรียบเทียบกับแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ผู้วิจัยได้ทําการสืบค้นและนําเสนอไว้ในบทที่ 2 และข้อเสนอแนะ สําหรบั การวิจัยคร้ังตอ่ ไป สรปุ ผลการศกึ ษา ผลการศึกษาดา้ นคณุ สมบัติของผู้ตอบแบบสอบถาม และผลสรปุ ตามวตั ถุประสงค์ มีดังน้ี 1. ผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด (จํานวน 97 คน) เป็นพนักงานราชการสังกัดกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ทป่ี ฏิบัติงานอยใู่ นสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง ร้อยละ 68.04 มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี ร้อยละ 45.36 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 57.73 สถานภาพโสด รอ้ ยละ 72.17 และสว่ นใหญม่ รี ายไดร้ ะหว่าง 15,001 – 20,000 บาท ร้อยละ 74.23 2. จากการศึกษาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานท่ีมีผลต่อความพึงพอใจของพนักงาน ราชการ กรณีศึกษา : พนักงานราชการที่ปฏบิ ัติงานในสํานกั /กอง/หน่วยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย สรุปได้ว่า ในภาพรวมพนักงานราชการกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อบริบท แวดล้อมในการปฏบิ ัติงาน ในระดับมาก มคี ่าเฉลี่ยเทา่ กับ 3.45 และเมือ่ พิจารณาเปน็ รายด้าน ได้แก่ ด้าน ความม่ันคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ด้านสถานท่ี ปฏิบตั ิงาน ดา้ นระบบงานและความถนดั ในงาน และดา้ นการทาํ งานร่วมกับผู้อน่ื พบว่า 2.1 บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจสูงท่ีสุด ได้แก่ ด้านการทํางานร่วมกับผู้อื่น โดยมีความพึงพอใจระดับมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.68 รองลงมา คือ ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ พึงพอใจระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.53 และด้านท่ีมีค่าเฉล่ีย ของระดับความพึงพอใจต่ําสุด คือ ด้านความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ พึงพอใจระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ยเท่ากับ 3.22 2.2 ประเดน็ ยอ่ ยของดา้ น (5 ดา้ น) ของบริบทแวดล้อมในการปฏิบัตงิ าน เรอ่ื งท่มี คี ่าเฉล่ยี ของระดับความพงึ พอใจสูงที่สุด ไดแ้ ก่ ประเดน็ ย่อยของด้านการทํางานร่วมกับผู้อ่ืนเกย่ี วกบั เร่อื งมนษุ ย์สมั พนั ธ์ และการช่วยเหลอื เกือ้ กูลกนั กบั เพอื่ นรว่ มงาน โดยมีความพึงพอใจระดับมาก ค่าเฉล่ยี เท่ากบั 3.85 รองลงมา คอื ประเดน็ ยอ่ ยของด้านระบบคา่ ตอบแทนและสิทธิประโยชน์เก่ียวกบั การกาํ หนดใหพ้ นกั งานราชการสามารถ ได้รับค่าตอบแทนได้ต่อเนอ่ื งโดยไมต่ ้องเรม่ิ ใหมท่ ีข่ น้ั ตา่ํ พงึ พอใจระดบั มาก คา่ เฉล่ยี เท่ากับ 3.81 และประเด็นยอ่ ย เรื่องท่มี คี ่าเฉลย่ี ของระดับความพึงพอใจตาํ่ สุด คือ ประเดน็ ย่อยของดา้ นความมัน่ คงและโอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพเกย่ี วกับเรือ่ งท่มี ีการกาํ หนดใหจ้ ้างพนกั งานราชการตามสัญญาจ้างไมเ่ กนิ คราวละ 4 ปี ซงึ่ แตกต่างจาก ข้าราชการและลูกจา้ งประจําทอี่ ยูไ่ ดต้ ่อเนือ่ งจนเกษียณ พงึ พอใจระดับปานกลาง ค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.99
24 อภิปรายผล จากผลการศึกษาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานท่ีมีผลต่อความพึงพอใจของพนักงาน ราชการ กรณศี กึ ษา : พนกั งานราชการที่ปฏบิ ตั งิ านในสํานัก/กอง/หนว่ ยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย สรุปได้ว่าในภาพรวมพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก และผลจากการศึกษาวิจัยความพึงพอใจต่อบริบท แวดลอ้ มในการปฏบิ ัติงานด้านต่างๆ สรปุ ไดว้ า่ 1) บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงเป็นอันดับแรก ได้แก่ ด้านการ ทํางานร่วมกับผู้อื่น โดยพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะ ประเด็นย่อยเกี่ยวกับเรื่องมนุษย์สัมพันธ์และการช่วยเหลือเก้ือกูลกันกับเพื่อนร่วมงาน อธิบายได้ว่าการ ทาํ งานเปน็ ทีมและมนษุ ยส์ ัมพนั ธม์ ผี ลต่อความพงึ พอใจในการปฏบิ ัตงิ านมาก 2) บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงเป็นอันดับ 2 ได้แก่ ด้านระบบ ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ โดยพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะประเด็นย่อยเก่ียวกับการกําหนดให้พนักงานราชการสามารถได้รับค่าตอบแทนได้ต่อเน่ืองโดยไม่ต้อง เร่ิมใหม่ท่ีขั้นต่ํา อธิบายได้ว่าบุคคลส่วนใหญ่จะพึงพอใจปฏิบัติงานกับหน่วยงานท่ีมีค่าตอบแทนและสิทธิ ประโยชน์ท่ดี ีกวา่ 3) บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านที่มีค่าเฉล่ียอันดับ 3 ได้แก่ ด้านสถานที่ ปฏิบัติงาน โดยพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะประเด็น ย่อยเก่ียวกับเรื่องความสะอาดและสุขลักษณะของสถานที่ทํางาน การจัดสถานที่ทํางาน และความสะดวกในการ เดินทางไปปฏิบัติงาน อธิบายได้ว่าความสะอาด สะดวก สภาพแวดล้อมน่าทํางานของหน่วยงานมีผลต่อ ความพงึ พอใจของผปู้ ฏบิ ัติงาน 4) บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏิบัติงานด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงเป็นอันดับ 4 ได้แก่ ด้านระบบงาน และความถนัดในงาน โดยพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง อธิบายได้ว่าระบบงานของหน่วยงานและความถนัดในงานของผู้ปฏิบัติงานมีผลต่อความพึงพอใจในการ ปฏบิ ัติงาน และการจัดระบบงาน กําหนดและมอบหมายหน้าท่ีรับผิดชอบ ตลอดจนสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ ที่จะช่วยในการทํางานให้แก่พนักงานราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยยังไม่ สอดรับกบั ความตอ้ งการของพนักงานราชการเทา่ ท่ีควร 5) บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านที่มีค่าเฉล่ียอันดับ 5 ได้แก่ ด้านความม่ันคงและ โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี โดยพนักงานราชการผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง อธิบายได้ว่าพนักงานราชการส่วนใหญ่มีความเห็นว่าอาชีพพนักงานราชการเป็นอาชีพท่ียังไม่ค่อยมั่นคง การท่ีผู้ปฏิบัติงานมีความรู้สึกว่าอาชีพที่ทํามีความมั่นคงน้อยหรือก้าวหน้าน้อยกว่าตําแหน่งงานอ่ืน ผูป้ ฏิบตั งิ านจะมคี วามพึงพอใจในการปฏิบัติงานน้อยและถ้ามีโอกาสหรือมีท่ีอื่นที่คิดว่าม่ันคงกว่าก็มีแนวโน้ม การเปลีย่ นงานสูง ผลสรุปการศึกษาและการอภิปลายผลของผู้วิจัยดังกล่าวมีความสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวข้องเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทํางานของธงชัย สันติวงษ์และชัยยศ สันติวงษ์ (2533 : 48) เนตรพัณณา ยาวิราช (2546 : 105) กิติมา ปรีดีดิลก (2524 อ้างถึงใน ศุภชัย
25 คามวัลย์, 2544 : 5) คุเปอร์ (Cooper, 1958 : 31 อ้างถึงใน สุวคนธ์ ยี่สกุล, 2544 ; 10) พรรณราย ทรัพยะประภา (2529 : 79) บาร์นาร์ค (Barnard, 1968 : 142 – 149 อ้างถึงใน สุวคนธ์ ยี่สกุล, 2544 : 14 – 15) นันทเดช ย้อยนวล พ.ต.ท. ( 2541 : 14 – 15) และปภาวดี ดุลยจินดา (2532 : 530 – 531, อ้างถึงใน ทัศนีพร ศรีวัฒนะ, 2545 : 12) ซึ่งอธิบายโดยสรุปได้ว่า บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความ มั่นคงและโอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ดา้ นระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ด้านสถานท่ีปฏิบัติงาน ด้านระบบงานและความถนัดในงาน และด้านการทํางานร่วมกับผู้อื่น ล้วนมีผลต่อความพึงพอใจของ พนักงานราชการทั้งสิ้น ส่วนจะพึงพอใจมากหรือน้อยน้ันข้ึนอยู่กับระเบียบปฏิบัติและการบริหารจัดการ ของหน่วยงาน ขอ้ เสนอแนะในการทําวิจัยครั้งต่อไป การศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ เนื่องจากมีข้อจํากัดในเร่ืองของระยะเวลาในการดําเนินงาน ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาความพึงพอใจของพนักงานราชการที่มีต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานเฉพาะพนักงาน ราชการที่ปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง สังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ ไม่ได้เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ท้ังนี้เพ่ือให้สามารถดําเนินงานตามกระบวนการวิจัยได้แล้วเสร็จ ภายในห้วงระยะเวลาการศึกษาอบรมในหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ดังนั้น เพื่อให้ได้ผลการศึกษาวิจัยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ผู้ศึกษาวิจัย จึงมีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี 1. ควรมีการขยายผลการศึกษาวิจัยเร่ืองบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานท่ีมีผลต่อความ พึงพอใจของพนักงานราชการ โดยควรศึกษาวิจัยขยายผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในส่วนที่เป็นตัวแทนของ พนักงานราชการผู้ที่ปฏิบัติงานในสํานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดและศูนย์ป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั เขตด้วย 2. ในการทาํ วิจัยเรื่องนีค้ รง้ั ต่อไปควรดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติในระดับที่ มีความน่าเช่ือถือ เป็นสากล และมีความเป็นวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้สถิติท่ี เก่ียวข้องกับการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และควรเพิ่มเติมคําถามปลายเปิดเก่ียวกับ ปัญหาในการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะต่างๆ ของผู้ตอบแบบสอบถาม เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการ วิเคราะหเ์ รื่องท่ศี ึกษาวิจัยอกี ทางหนึง่
26 บรรณานกุ รม ทัศนีพรศรีวัฒนะ.2545.ความพึงพอใจของอาจารย์ในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกลุ่มภาคใต้ ตอนล่างท่ีมีต่อการปฏิบัติงานตามโครงการปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพ่ือชีวิต วิทยานิพนธ์ วทิ ยาศาสตร์มหาบัณฑติ สาขาวชิ าพัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์. ธงชยั สนั ตวิ งษ์ และชยั ยศ สนั ตวิ งษ.์ 2533.พฤตกิ รรมของบุคคลในองค์การ.พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานชิ จํากดั . นันทเดช ยอ้ ยนวล พ.ต.ท.2541.ขวญั ในการปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการตํารวจในสามจงั หวัด ชายแดนภาคใต้ วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์เพือ่ พฒั นา ชมุ ชนมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์. เนตรพัณณายาวิราช.2546.การจดั การสมยั ใหม.่ กรุงเทพมหานคร: เซน็ ทรัลเอ็กซ์เพส จํากดั . พรรณรายทรพั ยะประภา. 2529. จติ วทิ ยาอตุ สาหกรรม. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พมิ พ์ โอเดยี นสโตร์. ศภุ ชัย คามวลั ย์.2544. ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสํานักทะเบยี นอําเภอเดช อุดม จังหวัดอุบลราชธานี. สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์. สุวคนธ์ ยี่สกุล.2544.ความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีสํานักงาน เลขานกุ ารคณะศึกษาศาสตร์ รายงานการวิจยั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร.์ สํานกั งาน ก.พ. 2547. คมู่ อื การบรหิ ารงานพนักงานราชการ.
ภาคผนวก
แบบสอบถาม เรอ่ื ง บรบิ ทแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั งิ านทีม่ ีผลตอ่ ความพงึ พอใจของพนกั งานราชการ กรณศี กึ ษา : พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม คาํ ช้ีแจง กรณุ าตอบคาํ ถามโดยทําเครอื่ งหมาย ใน ( ) 1. เพศ ( ) หญงิ ( ) ชาย ( ) 21 - 30 ปี 2. อายุ ( ) 40 ปี ขนึ้ ไป ( ) นอ้ ยกวา่ 20 ปี ( ) 31 – 40 ปี ( ) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ) สงู กว่าปรญิ ญาตรี 3. ระดบั การศกึ ษา ( ) ต่ํากวา่ ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสูง ( ) สมรส ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) คสู่ มรสเสยี ชีวิต 4. สถานภาพ ( ) 15,001 -20,000 บาท ( ) โสด ( ) 25,001 บาท ขึ้นไป ( ) หย่า 5. รายได้ (ตอ่ เดือน) ( ) ต่ํากว่า 15,000 บาท ( ) 20,001 – 25,000 บาท
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ความพึงพอใจของพนักงานราชการต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน คาํ ช้ีแจง กรุณาตอบคําถามโดยทําเครอ่ื งหมาย ลงใน ทต่ี รงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ น บรบิ ทแวดล้อมในการปฏิบตั ิงานของพนกั งานราชการ ความพงึ พอใจ สังกดั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั มากทีส่ ดุ มาก ปาน นอ้ ย น้อยท่สี ุด กลาง ดา้ นความมั่นคงและโอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี 1. ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยพนกั งานราชการ กาํ หนดให้จ้างพนักงานราชการตามสญั ญาจ้างไมเ่ กนิ คราวละ 4 ปี โดยอาจมกี ารต่อสญั ญาจา้ งได้ (แตกตา่ งจากขา้ ราชการและลูกจา้ งประจาํ ท่ปี ฏบิ ัติงานได้ ตอ่ เน่ืองถึงอายุ 60 ป)ี 2. ความเอาใจใส่ของกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และผูบ้ งั คบั บญั ชา ในการส่งเสรมิ ให้พนักงานราชการของกรม มคี วามม่นั คงในอาชีพ (เช่น การตอ่ สญั ญาพนกั งานราชการทีเ่ ก่งหรอื ปฏิบตั ิงานดี การให้คะแนนบวกเพม่ิ แกพ่ นกั งานราชการของกรมท่สี อบ เขา้ รบั ราชการผา่ นภาค ก. และมีความประสงคส์ อบภาค ข. และ ค. เพอื่ บรรจเุ ป็นข้าราชการในสงั กดั กรมปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภยั เป็นต้น) ด้านระบบค่าตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน์ 3. การกาํ หนดให้พนักงานราชการ รายท่ีได้รับการต่อ สัญญาจ้าง สามารถได้รับอัตราค่าตอบแทนต่อเนื่อง ตามผลการประเมินการปฏิบัติงาน (ไมต่ อ้ งเรม่ิ ใหมท่ ่ขี น้ั ตํ่า) 4. สิทธปิ ระโยชน์ทพ่ี นักงานราชการได้รบั (เช่น สิทธปิ ระโยชนจ์ ากการประกันสงั คม สทิ ธิการลาตาม ระเบียบวา่ ดว้ ยการลา สทิ ธิในการได้รบั ค่าตอบแทนการ ปฏบิ ัตงิ านนอกเวลางาน เป็นตน้ ) ด้านสถานทป่ี ฏบิ ตั ิงาน 5. ความสะดวกในการเดินทางมาปฏบิ ตั งิ าน 6. การจดั สถานทที่ ํางาน/หอ้ งปฏบิ ัติงาน รวมทงั้ การแบง่ สดั สว่ นของพ้ืนท่ีทํางาน 7. ความสะอาดและสขุ ลกั ษณะของสถานทีท่ ํางาน 8. ตเู้ อกสารและระบบการจดั เก็บเอกสาร
บริบทแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงานของพนกั งานราชการ มากท่ีสุด ความพงึ พอใจ น้อยท่สี ุด สังกดั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย มาก ปาน น้อย กลาง ด้านระบบงานและความถนดั ในงาน 9. ความพร้อมของวัสดอุ ปุ กรณท์ ชี่ ่วยในการทาํ งาน 10. ความสอดคลอ้ งสมั พันธ์กนั ของงานท่ีปฏบิ ตั กิ ับความรู้ ความสามารถ 11. ความเหมาะสมของปริมาณงานกบั หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ 12. ความท้าทายของงานท่ปี ฏิบตั ิ ด้านการทํางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื 13. การควบคมุ ส่ังการของผบู้ งั คับบัญชา 14. การให้คําแนะนาํ และสอนงานของผู้บงั คบั บัญชา 15. การมอบหมายงานของผ้บู ังคับบัญชา 16. มนุษย์สมั พนั ธ์และการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลกนั กบั เพ่อื น รว่ มงาน
แบบการเสนอโครงร่างการศกึ ษาวิจยั สว่ นบุคคล (Proposal) หลักสูตร นกั บริหารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 1. ชือ่ ผจู้ ัดทํา นายพงศ์ณวรรธน์ ศรเี พ็ชร เลขประจาํ ตวั 16 2. ชอื่ เรอื่ ง บริบทแวดลอ้ มในการปฏิบัตงิ านที่มผี ลตอ่ ความพงึ พอใจของพนกั งานราชการ กรณศี กึ ษา : พนกั งานราชการทีป่ ฏิบัตงิ านในสาํ นัก/กอง/หนว่ ยงานส่วนกลาง สงั กดั กรมปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภยั 3. ความเป็นมาของเรอื่ งและสถานการณ์ปัจจบุ ัน ภายหลังการปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการตามการปฏิรูประบบราชการเมื่อ พ.ศ. 2545 สํานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สํานักงาน ก.พ.) ได้กําหนดให้ปรับรูปแบบการจ้างงานในหน่วยงานภาครัฐโดยให้มี การจ้างงานพนักงานราชการทดแทนอัตราลูกจ้างประจําของส่วนราชการที่เกษียณอายุราชการ แต่เน่ืองจากระบบ พนักงานราชการเป็นระบบการจ้างงานที่ให้มีการเข้าและออกจากงานตามสัญญาจ้างโดยไม่ใช่การจ้างงานตลอดชีพ ซึง่ แตกตา่ งจากลูกจา้ งประจําตามระบบเดมิ ทจี่ ะอยูใ่ นระบบราชการจนกวา่ จะเกษยี ณอายรุ าชการ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานเป็นองค์ประกอบสําคัญในการเสริมสร้างให้บุคลากรของกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งพนักงานราชการท่ีต้องปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างปฏิบัติงานได้อย่าง มคี วามสุข โดยไมค่ ิดเปลยี่ นไปปฏบิ ตั งิ านท่ีหนว่ ยงานอื่น ซงึ่ เป็นการรกั ษาบุคลากรที่เก่งหรือมีผลการปฏิบัติงาน ดีใหอ้ ยกู่ ับกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยไปนานๆ ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นท่ีจะต้องทําการศึกษาค้นคว้าว่าบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ มีผล ต่อความพงึ พอใจของพนักงานราชการในระดับใด 4. เหตุผลและความจําเปน็ ในการศึกษาและคาํ ถามในการวจิ ัย 4.1 เหตุผลความจําเป็น เพ่ือนําผลการศึกษาเสนอต่อผู้บังคับบัญชาได้พิจารณาใช้เป็นข้อมูลประกอบการ นําเสนอผู้บริหารเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาวางแนวทางปรับปรุงบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานในปัจจัย ด้านตา่ งๆ ให้มีความเหมาะสมยิ่งขน้ึ 4.2 คําถามวิจัย พนักงานราชการมีความพึงพอใจต่อบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ได้แก่ ความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ สถานที่ปฏิบัติงาน ระบบงานและความถนดั ในงาน และการทาํ งานร่วมกับผู้อ่นื ระดบั ใด 5. วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา 5.1 เพ่ือศึกษาบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานของพนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในสํานัก/กอง/หน่วยงาน ส่วนกลาง สงั กดั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5.2 เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของพนักงานราชการทม่ี ตี ่อบริบทแวดลอ้ มในการปฏิบตั งิ าน
6. วธิ ีการและขอบเขตการศกึ ษา วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถามกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ พนักงานราชการท่ีปฏิบัติงานอยู่ในสํานัก/กอง/หน่วยงานส่วนกลาง ในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จํานวน 100 คน และนํามาวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามด้วย การวิเคราะหห์ าค่าร้อยละ คา่ เฉลย่ี และค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน ขอบเขตการศึกษา ศึกษาวิเคราะห์ความพึงพอใจของพนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในสํานัก/กอง/ หน่วยงานสว่ นกลางในสังกัดกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ท่มี ีตอ่ บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานในด้าน ต่างๆ ได้แก่ ความมั่นคงและโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ สถานท่ี ปฏบิ ตั งิ าน ระบบงานและความถนัดในงาน และการทาํ งานรว่ มกับผูอ้ ื่น กรอบแนวคิดในการศกึ ษา ตวั แปรตาม ตวั แปรอสิ ระ ความพึงพอใจ ของพนกั งานราชการ ปัจจยั ส่วนบคุ คล 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดบั การศึกษา 4. สถานภาพ 5. รายได้ ปจั จยั จากบรบิ ทแวดล้อม 1. ความม่นั คงและโอกาส ความกา้ วหน้าในอาชพี 2. ระบบสวสั ดกิ ารและสิทธิประโยชน์ 3. สถานท่ีปฏบิ ัตงิ าน 4. ระบบงานและความถนดั ในงาน 5. การทํางานร่วมกบั ผอู้ นื่ 7. ทฤษฎี แนวความคดิ ระเบียบกฎหมายท่ีใชใ้ นการศึกษา 7.1 แนวคิดและทฤษฎเี กีย่ วกับสภาพแวดล้อมในการทํางาน 7.2 แนวคดิ และระเบียบวา่ ดว้ ยพนักงานราชการ นิยามศพั ท์ 1. ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพความต้องการหรือความคาดหวังท่ีพนักงานราชการได้รับตอบสนอง จากบริบทแวดล้อมในการปฏิบัตงิ าน 2. พนักงานราชการ หมายถึง บุคคลท่ีปฏิบัติหน้าท่ีราชการสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยปฏบิ ตั ิงานตามสญั ญาจา้ งและรบั คา่ ตอบแทนจากรฐั บาล 3. บริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงาน หมายถึง สภาพการทํางานและสภาพแวดล้อมท่ัวๆ ไปซึ่งมีผลต่อ ความพึงพอใจของพนกั งานราชการที่สังกัดกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
8. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ นําผลการศึกษาวิจัยเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาใช้เป็นข้อมูลประกอบการนําเสนอผู้บริหารเพ่ือให้ ผู้บริหารมีข้อมูลประกอบการพิจารณาวางแนวทางปรับปรุงบริบทแวดล้อมในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ให้มี ความเหมาะสมยงิ่ ข้นึ ความเหน็ ของอาจารย์ทป่ี รึกษา……………………………………………………………….. …………………....….………………. ลงช่อื ………………......………….......…………… ลงช่ือ ……………………………………………………… (นายพงศ์ณวรรธน์ ศรเี พช็ ร) นักศึกษา นบ.ปภ.รุ่นท่ี 10 (ดร.ปยิ วฒั น์ ขนษิ ฐบุตร) วทิ ยาลัยการปกครอง อาจารย์ทป่ี รึกษานกั ศึกษา นบ.ปภ. รนุ่ ที่ 10
ประวตั ผิ ู้วจิ ัย ชื่อ - สกุล นายพงศ์ณวรรธน์ ศรเี พช็ ร วัน เดอื น ปี เกิด 8 มีนาคม 2508 ประวัติการศึกษา ศลิ ปศาสตร์มหาบณั ฑิต (รัฐศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง ประวตั กิ ารทาํ งาน นายช่างเครอ่ื งกล 1 กองนาํ้ บาดาล กรมทรพั ยากรธรณี ตาํ แหน่งปจั จบุ ัน ปลัดอําเภอ (เจา้ พนักงานปกครอง 3) อําเภอคอนสวรรค์ จังหวดั ชัยภูมิ เจ้าหนา้ ทีฝ่ ึกอบรม 4 วทิ ยาลยั การปกครอง เจา้ พนกั งานปกครอง 5 สาํ นักบรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง เจ้าพนกั งานปกครอง 6 กองป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือน กรมการปกครอง ปลัดอําเภอ (เจ้าพนกั งานปกครอง 7) อําเภอจอมบึง จังหวดั ราชบุรี นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ กองการเจ้าหนา้ ท่ี ปภ. นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชํานาญการพเิ ศษ ศูนย์ ปภ.เขต 8 กําแพงเพชร นักทรัพยากรบคุ คลชํานาญการพิเศษ กองการเจา้ หนา้ ท่ี ปภ. นกั ทรพั ยากรบคุ คลชํานาญการพิเศษ กลมุ่ งานอัตรากาํ ลงั และระบบงาน กองการเจ้าหน้าที่ ปภ.
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: