๔๔ ให้นายตรวจมีอานาจส่ังให้เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารแก้ไขอาคารหรือสถานที่ให้ เป็นไปตามข้อกาหนดภายในระยะเวลาที่กาหนด หากเจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารไม่ดาเนินการ ภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้ดาเนินมาตรการทางปกครองโดยอนุโลมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม อาคารหรือมีอานาจในการเสนอเร่ืองให้ผู้อานวยการกลางส่ังปิดและห้ามใช้อาคารหรือสถานที่โดยมี กาหนดระยะเวลาได้ หลักเกณฑ์ ข้ันตอนและวิธีการดาเนินการสั่งปิดและห้ามใช้อาคารหรือสถานที่ให้ ออกเปน็ กฎกระทรวง ทง้ั นเ้ี ม่ือได้มีการดาเนินการใดหรือแก้ไขอาคารหรือสถานท่ีให้เป็นไปตามข้อกาหนด ในวรรคนี้แลว้ ไม่เป็นผลใหค้ ดีอาญาส้ินสุดลงแตอ่ ย่างใด ให้จัดทาแผนการตรวจอาคารและสถานท่ีตามวรรคหนึ่งเป็นประจาทุกปี และให้สานัก งบประมาณอานวยความสะดวกและจัดให้มีการจัดสรรงบประมาณในการดาเนินการตามวรรคหน่ึงให้ เพียงพอ โดยให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ และให้สานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือนและสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ให้การสนั บสนุนด้ านการจั ด บุคคลากรใหเ้ พียงพอ” และเสนอใหม้ กี ารออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๔๐ วรรคสาม ที่แก้ไขใหม่ข้างต้นกาหนดประเภท ของอาคารท่ีนายตรวจสามารถเข้าไปตรวจสอบได้ ได้แก่ (๑) “อาคารสูง” ซึ่งหมายถึง อาคารสูงหรือ อาคารขนาดใหญ่พิเศษตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒) “อาคารที่มีผู้อยู่อาศัย หนาแน่น” ซ่ึงหมายถึง อาคารชุมนุมคนตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และอาคารทุก ขนาดและทุกประเภท ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการใช้อาคารหรือส่วนใดของอาคารท่ีบุคคลอาจเข้าไปภายใน เพื่อใชป้ ระโยชน์ในการใชเ้ ป็น โรงแรม อาคารพักอาศยั รวม สถานบริการ และโรงมหรสพ ๕.๓ ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจัยคร้ังต่อไป ในการศึกษาวิจัยคร้ังต่อไป มีข้อแนะนาว่าควรมีการศึกษาแนวคิดในการออกกฎกระทรวง เพื่อกาหนดรายละเอียดของอานาจนายตรวจตามมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่เสนอให้แก้ไขข้างต้น ว่ามีอานาจประการใดบ้าง นอกจากนี้ควรศึกษา รายละเอียดการดาเนินการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๔๐ ข้างต้นในประเด็นอ่ืนๆ เช่น ขั้นตอนและ วธิ กี ารตรวจสอบอาคารหรอื สถานที่ วิธีการแจ้งให้เจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้ใช้อาคารทราบกาหนดการ ตรวจ การแสดงตนของนายตรวจ บัตรนายตรวจ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลในการป้องกัน ลดความเสี่ยง และลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นได้อย่างมีประสิท ธิภาพ อันจะส่งผลทาให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยที่มมี าตรฐาน เพื่อให้ประเทศไทยเป็นเมอื งปลอดภยั อนั ถอื เป็นการสาเรจ็ ตามวิสัยทัศน์ ของกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อไป
๔๕ บรรณานุกรม กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (๒๕๕๖). การลดความเส่ียงจากสาธารณภัย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. ข่าวกระปุกดอทคอม. (๒๕๕๕). กทม. เอาผดิ โรงแรมแกรนด์ ปาร์ค ลอบตอ่ เตมิ อาคาร. กระปุกดอทคอม. สืบค้นเมือ่ ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๗, จาก http://hilight.kapook.com/view/68499 ขา่ วโปรเจกต์ อไลอันซ์. (๒๕๕๕). ตึกสงู ในกรงุ -เสีย่ งไฟไหมแ้ ค่ไหน เร่งสาํ รวจอาคารเก่า ๑.๒ หม่ืนแหง่ สปภ.ชอ้ี ปุ กรณ์พร้อมแตด่ แู ลยาก. โปรเจกต์ อไลอันซ์. สบื คน้ เมื่อ ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๗, จาก http://www.projectalliance.co.th/news_detail.php?content_id=11 ข่าววอยซ์ทวี ี. (๒๕๕๖). ไฟไหมโ้ รงแรมหลงั ตึกช้าง โดดตึกหนตี ายดบั ๑ ราย. วอยซ์ทวี ี. สบื ค้นเมือ่ ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๗, จาก http://news.voicetv.co.th/thailand/71890.html คณติ ณ นคร. (๒๕๕๑). ภูมธิ รรมและบทบาทของพนกั งานอัยการ. กรงุ เทพฯ : วญิ ญชู น. ณฐั วฒุ ิ สตใิ หม่ (๒๕๕๖). ปญั หาอปุ สรรคในการปฏบิ ัตติ ามพระราชบญั ญัตคิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พนื้ ทศ่ี กึ ษาเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบลสมี มุ อําเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวดั นครราชสีมา. (รายงานการศกึ ษาวจิ ัย). นครราชสมี า : สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา สาํ นกั วชิ าวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปรีดี เกษมทรพั ย์. (๒๕๕๐). นิตปิ รชั ญา (พมิ พ์คร้ังท่ี ๘). กรุงเทพฯ : โครงการตาํ ราและเอกสาร ประกอบการสอน คณะนติ ิศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ รชั ชานนท์ ลวี สุธร, (๒๕๕๖). สทิ ธิในการมชี ีวิต. L3NR. สืบคน้ เมื่อ ๑๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๗, จาก http://www.l3nr.org/posts/535544 สัณฐติ ิ ธรรมใจ. (๒๕๕๓). การไกลเ่ กล่ียคดอี าญา : ศึกษาเฉพาะการยตุ คิ ดอี าญาโดยนายอาํ เภอ. (วิทยานพิ นธ)์ . กรงุ เทพฯ : สาขานติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์. สรุ ศกั ดิ์ ลขิ สทิ ธ์วิ ฒั นกุล. (๒๕๕๒). “หลักความขัดแยง้ กนั ในบทบาทหน้าท่ี.” ใน สุรศกั ด์ิ ลขิ สิทธว์ิ ฒั นกุล. ยืนหยดั บนหลกั นติ ิธรรม (๑๘๔ – ๒๑๓). กรงุ เทพฯ: คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Bautista Jr., Renato. (2010). The Philippine Legal System. Retrieved June 05, 2010, from http://law.suite101.com/article.cfm/the-philippine-legal-system Garner, Bryan A. (Eds). (2001). Black’s Law Dictionary. St. Pual, MN : West Group. Garamchai. (1999). Sheriff and Police. Retrieved November 1, 2009, from http://www.garamchai.com/askadesi/askgov08.htm. New Zealand Parliamentary Counsel Office. (n.d.). New Zealand legislation. Retrieved March 23, 2014, from http://www.legislation.govt.nz/act/public/1975/0042/latest/ DLM432648.html?search=qs_act%40bill%40regulation%40deemedreg_fire+service +act_resel_25_h&p=1&sr=1 The Ministry of Civil Defence and Emergency Management, Newzealand. (2005). CDEM Act 2002. Retrieved March 22, 2014, from http://www.civildefence.govt.nz/ memwebsite.nsf/srch/94168AF92AA3E48BCC256FA10011C073?OpenDocument The South Carolina Department of Juvenile Justice. (2010). The Community Juvenile/Youth Arbitration Program. Retrieved January 30, 2010, from http://www.state.sc.us/djj/pdfs/juvenile-arbitration-program.pdf.
๔๖ ภาคผนวก แบบการเสนอโครงรา่ งการศกึ ษาวิจยั ส่วนบุคคล (Proposal)
๔๗ แบบการเสนอโครงร่างการศกึ ษาวิจัยส่วนบคุ คล (Proposal) หลักสูตร นกั บรหิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นที่ ๑๐ ๑. ชอ่ื ผู้จัดทาํ รอ้ ยตาํ รวจตรสี ณั ฐิติ ธรรมใจ เลขประจาํ ตวั ๓๗ ๒. ชือ่ เรื่อง การป้องกนั และระงับสาธารณภยั ในอาคารสูงและอาคารทม่ี ีผอู้ าศยั หนาแนน่ กรณศี ึกษา : แนวทางการตรวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓. ความเปน็ มาของเรื่องและสถานการณป์ จั จบุ ัน พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งถือเป็นเครื่องมือทางกฎหมายที่ ใช้ในการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยฉบับใหม่ได้มีผลใช้บังคับเม่ือวันท่ี ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ แทนกฎหมายฉบับเดิมที่ได้ยกเลิกไป ๒ ฉบับ คือ พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งเป็นกฎหมายว่าด้วยการ ป้องกันและระงับอัคคีภัยโดยตรงได้ถูกยกเลิกไปด้วย ดังนั้นเครื่องมือทางกฎหมายท่ีใช้ในการการป้องกัน และระงับอัคคีภัยในอาคาร จึงเหลือเพียงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เท่านั้นที่ใช้เป็น กฎหมายหลัก อย่างไรก็ตามยังปรากฏภาพข่าวตามสื่อมวลชนแขนงต่างๆ อยู่ตลอดเวลาว่าอาคารสูงและอาคาร ท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่น เช่น ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ เป็นต้น เกิดเพลิงไหม้หรือถล่มอยู่บ่อยคร้ัง สร้างความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินอย่างมากมายและหลายครั้งกลับพบว่าอาคารที่เกิดสาธารณภัย ข้างต้นเกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เช่น การดัดแปลงอาคารโดยไม่ได้รับ อนุญาต การนําที่จอดรถไปทําเป็นห้องพักหรือห้องจัดเลี้ยง เป็นต้น กรณีนี้จึงมีข้อสงสัยว่าแม้ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ จะมีบทบัญญัติเพ่ือป้องกันสาธารณภัยเกิดกับอาคารสูงหรือ อาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่นท่ีเคร่งครัดและรัดกุมแล้วก็ตาม แต่ยังพบว่ามีการฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าวจน นําไปสู่ความสูญเสียบ่อยคร้ัง โดยเฉพาะเกิดข้ึนกับอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่นท่ีผู้สูญเสียมัก ไม่ใช่ผู้ท่ีสร้างหรือผู้ก่อให้เกิดปัญหาเองแต่อย่างใด ซ่ึงเป็นการไม่เป็นธรรมกับผู้สูญเสียเหล่านั้น ไม่ว่า สาเหตุของปัญหาจะเกิดจากตัวเน้ือหากฎหมายเองหรือผู้ใช้กฎหมาย หรือกระบวนการใช้กฎหมาย หรือ ข้ันตอนใดของกฎหมายควบคุมอาคารก็ตาม เป็นส่ิงท่ีจะต้องแก้ไขกันต่อไปตามข้ันตอนของกฎหมาย ควบคุมอาคารซึ่งมีกรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นเจ้าของเร่ือง แต่ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชนจากสาธารณภยั ซง่ึ เปน็ อํานาจหน้าท่ีของกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยนั้นเป็นสิ่งที่รอไม่ได้ ในเม่ือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นเครื่องมือ จึงน่าจะมีแนวทางในการนํากฎหมายน้ีไปใช้ในการป้องกันและระงับสาธารณภัยที่อาจ เกิดข้ึนในอาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่น อันเป็นการตรวจสอบถ่วงดุลกับการใช้อํานาจการ
๔๘ ควบคุมอาคารของเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามกฎหมายควบคุมอาคารได้ จึงจําเป็นต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ และปรับแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยนี้เพื่อให้เหมาะสมกับการนําไปใช้ให้ เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อไประงับสาธารณภัยท่ีอาจเกิดข้ึนในอาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่นอันเป็นการ ตรวจสอบถ่วงดุลกับการใช้อํานาจการควบคุมอาคารของเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามกฎหมายควบคุมอาคาร ได้ จงึ จําเปน็ ต้องมีการศกึ ษาวิเคราะห์และปรับแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยนี้ เพอื่ ให้เหมาะสมกบั การนาํ ไปใชใ้ หเ้ กดิ ผลสัมฤทธิต์ ่อไป ดังนั้น จึงมีความจําเป็นท่ีจะต้องทําการศึกษาค้นคว้าว่า จะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือมี แนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการตรวจสอบอาคาร เพือ่ ป้องกนั และระงบั สาธารณภยั ในอาคารสงู หรอื อาคารทมี่ ีผู้อาศัยหนาแน่น อันเป็นการตรวจสอบถ่วงดุล อํานาจของเจา้ หนา้ ทีต่ ามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคารได้อย่างไร ๔. เหตผุ ลและความจาํ เป็นในการศกึ ษาและคาํ ถามในการวิจยั งานวิจัยเล่มนี้เป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคําตอบว่าจะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือมีแนวทาง ในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการตรวจสอบอาคารอาคารสูง หรอื อาคารท่ีมี ผอู้ าศยั หนาแนน่ เพื่อปอ้ งกันและระงบั สาธารณภัย อันเป็นการตรวจสอบถ่วงดุลอํานาจของ เจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคมุ อาคารไดอ้ ย่างไร ๕. วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา ๕.๑ เพือ่ ศกึ ษาระเบียบกฎหมายและทฤษฎกี ารจัดการปอ้ งกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและ อาคารทีม่ ีผ้อู าศยั หนาแน่นของประเทศไทยและต่างประเทศบางประเทศ พร้อมทั้งผลการใชบ้ งั คบั ข้อดี ข้อเสยี รวมทัง้ รปู แบบการตรวจสอบถว่ งดุลการใช้อํานาจรฐั เพอื่ ค้มุ ครองสิทธใิ ห้กบั ประชาชน ๕.๒ เพ่อื ศึกษาหาแนวทางการปรบั ปรงุ ระเบียบกฎหมายการจดั การปอ้ งกนั และระงับสาธารณภัยใน อาคารสูงและอาคารทีม่ ีผอู้ ยอู่ าศัยหนาแนน่ ของประเทศไทยใหใ้ ชไ้ ด้ผลอย่างจริงจัง ๖. วิธกี ารและขอบเขตการศึกษา ๖.๑ วธิ กี ารศึกษา เป็นการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ ทําการวิจยั เอกสาร (Documentary Research) ๖.๒ ขอบเขตการศึกษา ทําการศกึ ษาคน้ คว้าระเบียบกฎหมายและทฤษฎีการจัดการป้องกันและระงับ สาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นของประเทศไทยและต่างประเทศบางประเทศ พรอ้ มทั้งผลการใช้บังคับ ข้อดี ข้อเสีย ๖.๓ กรอบแนวคิดในการศึกษา นําข้อมูลจากข้อ ๖.๒ มาวิเคราะห์และหาแนวทางในการปรับแก้ไข หรือแนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและ ตรวจสอบอาคารเพือ่ ปอ้ งกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่น อันเป็นการ ถว่ งดุลอาํ นาจของเจ้าหนา้ ทตี่ ามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารได้ ๖.๔ คําถามการวิจัย จะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือแนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคมุ และตรวจสอบอาคารเพ่อื ป้องกนั และระงบั สาธารณภัยใน
๔๙
๕๐ ประวัตผิ ู้ศกึ ษาวจิ ยั ชื่อ – นามสกลุ ร้อยตาํ รวจตรี สัณฐติ ิ ธรรมใจ วนั เดอื น ปี เกิด ๓ กนั ยายน ๒๕๒๐ สถานทีเ่ กิด จังหวัดแพร่ วุฒกิ ารศึกษา - ปรญิ ญาตรี รัฐศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช - ประกาศนยี บัตร เนติบัณฑติ ไทย สมัยท่ี ๕๙ สาํ นกั ศกึ ษาอบรมกฎหมายแหง่ เนติบัณฑิตยสภา - ปรญิ ญาโท นติ ศิ าสตรมหาบณั ฑิต สาขากฎหมายอาญาและกระบวนการยตุ ิธรรมทางอาญา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติ ย์ ประสบการณร์ บั ราชการ ปี ๒๕๔๔ – ๒๕๔๕ รองสารวตั ร งาน ๑ กองกาํ กับการ ๒ สํานกั งานเลขานกุ ารตํารวจแห่งชาติ สํานักงานตํารวจแหง่ ชาติ ปี ๒๕๔๕ – ๒๕๕๕ ปลัดอําเภอ เจ้าพนกั งานปกครอง และนิติกร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี ๒๕๕๖ – ปัจจบุ ัน นิติกรชํานาญการ ศูนยป์ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต ๒ สุพรรณบุรี ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ศี ูนยอ์ ํานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย
Search