Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 21 มนัสนันท์ งานวิจัย final

21 มนัสนันท์ งานวิจัย final

Published by Hommer ASsa, 2021-05-03 06:56:11

Description: 21 มนัสนันท์ งานวิจัย final

Search

Read the Text Version

5 ตอนท่ี 3 วิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาเร่ือง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการทางานเป็นทีม ของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย (นบ.ปภ.) ร่นุ ท่ี 10 ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั คาช้แี จง กรณุ าตอบคาถามโดยทาเครื่องหมาย  ลงใน  ทตี่ รงกบั ความคดิ เห็นของท่าน ปจั จยั ท่ีมอี ิทธพิ ล ระดบั ความคดิ เหน็ (เห็นดว้ ย) มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ ดา้ นนโยบาย 24. องค์กรไม่ได้กาหนดนโยบายการทางานเปน็ ทมี ไวใ้ น ยุทธศาสตร์ขององค์กรอย่างชัดเจน 25. การถ่ายทอดนโยบายสกู่ ารปฏิบัตขิ ององค์กรยงั ไมช่ ัดเจน 26. มีการเปลยี่ นแปลงผบู้ รหิ ารองค์กรบอ่ ยครั้ง ด้านการบรหิ ารงานองค์กร 27. การมอบหมายหน้าท่ีความรับผดิ ชอบไม่ตรงกับความรู้ ความสามารถของสมาชกิ 28. องค์กรขาดการบรหิ ารจดั การด้านการซ่อมแซม บารุงรักษา เครอ่ื งมอื เคร่ืองจักรกล และอุปกรณ์ในการปฏบิ ตั งิ าน 29. การบริหารจดั การข้อมลู ยังไม่เปน็ ระบบ ไม่เอ้ือต่อการนาไปใช้ ประโยชนใ์ นการตดั สินใจของผ้บู รหิ าร ด้านการดาเนนิ งาน 30. องค์กรขาดการแสวงหา และบรู ณาการทรัพยากรร่วมกบั หน่วยงานอ่นื 31. องค์กรขาดการประสานงานระหว่างสมาชิกทีมงานภายในองค์กร 32. องค์กรขาดการประสานงานกับทมี งานภายนอกองคก์ ร 33. องค์กรขาดการติดตามประเมินผลการทางานเปน็ ทีมทั้งระยะ สั้น และระยะยาว 34. องค์กรขาดการพฒั นาจิตสานกึ ในการทางานเปน็ ทีม 35. สมาชกิ ขาดความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ีท่ีไดร้ ับมอบหมายจาก หัวหนา้ ทมี งาน 36. สมาชิกของทมี ไมเ่ ขา้ ใจในบทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบใน การทางานเป็นทมี ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ มนัสนนั ท์ จรัสเลิศสิริ

แบบการเสนอโครงรา่ งการศึกษาวจิ ัยสว่ นบุคคล หลักสตู ร นักบรหิ ารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 1. ชอ่ื ผูจ้ ดั ทา นางมนัสนันท์ จรัสเลศิ สริ ิ เลขท่ีประจาตวั 21 2. ชอ่ื เร่อื ง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 3. ความเป็นมาของเรอ่ื งและสถานการณ์ปจั จบุ ัน องค์กรทุกองค์กรเป็นหน่วยงานทางสังคมอย่างหน่ึง ที่เกิดข้ึนจากระบบความร่วมมือของบุคคล ต้งั แต่ 2 คน ขึ้นไป เพื่อดาเนินงานอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ทไี่ ด้กาหนด และยอมรบั ในสงั คมอย่างเป็นระบบ การ บริหารองค์กรแบบมีส่วนร่วม มีระบบการทางานเป็นทีม เพ่ือช่วยให้องค์กรมีประสิทธิภาพมากว่าการบริหาร จัดการแบบปัจเจกชน เน่อื งจากการทางานเป็นทีมเปน็ การทางานท่นี าความรคู้ วามสามารถ ทักษะประสบการณ์ท่ี แตกต่างกันมาผสมผสาน ร่วมกันแก้ปัญหาอย่างรอบคอบเหมาะกับการทางานที่ซับซ้อน การทางานเป็นทีม มี การวางแผนงาน แบง่ งานกนั ทา รว่ มมือประสานงาน การตัดสนิ ใจแก้ปัญหา ยอมรับความคิดเห็นของส่วนรวมให้ เกยี รตซิ ึ่งกันและกัน การทางานของหน่วยงานหรือองค์กรใด ๆ ต้องอาศัยทรัพยากร คือคน (Man ) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Materials) การจัดการ (Management) “ คน ” มีความสาคัญในการดาเนินงาน เพราะ คนเป็นปจั จยั สาคญั ของกระบวนการพฒั นาทง้ั หลาย สงิ่ สาคญั 2 ประการทีต่ อ้ งคานึงถึง คือ 1. ความสามารถในการปรับตัว 2. ความสามารถในการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ การยอมรบั ความเส่ียงและความสาเร็จรว่ มกัน จะเป็นการสรา้ งความผูกพันที่จะทาใหก้ ารทางาน เป็นทมี แขง็ แกร่งย่ิงข้ึน ส่งผลต่อความสาเร็จในการปฏิบัติงานสามารถสนองตอบต่อความคาดหวัง สร้างความ เช่ือมัน่ ให้กับประชาชน กล่มุ เป้าหมาย หรอื ผูม้ สี ว่ นได้เสียขององค์การ เช่นเดียวกับกรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยที่ต้องมีทีมงานท่ีมีคุณภาพเพ่ือการพัฒนาองค์การให้สามารถรองรับการแข่งขัน และก้าวทันการ เปลยี่ นแปลงตอ่ สภาพแวดลอ้ มดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างก้าวกระโดด ล้วนเป็น ปัจจัยที่ก่อให้เกิดสาธารณภัยที่นับวันจะรุนแรงยิ่งข้ึน ส่งผลต่อการดาเนินภารกิจด้านการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยโดยตรง เนื่องจากสาธารณภัยหรือภัยพิบัติบางประเภท ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดข้ึนที่ไหน เมอื่ ไหร่ มวี ิวัฒนาการของการเปลยี่ นแปลงสร้างความรนุ แรงมากขึ้น ดงั นน้ั องคค์ วามร้ตู า่ ง ๆ จะเกิดขึน้ ไมไ่ ด้ ถ้าปราศจากคนทเ่ี ป็นปจั จัยสร้างคณุ คา่ ใหแ้ ก่องค์กรมี มูลค่าเพิ่ม การทางานจาเป็นต้องอาศัยบุคคลหลายบุคคลช่วยปฏิบัติภารกิจการทางานเป็นทีม ต้องมีผู้นาที่มี ความซื่อสัตย์ สามารถจูงใจลูกทีมได้อย่างดี เพ่ือที่จะทาให้ผลงานได้บรรลุตามผล เป้าหมายท่ีกาหนด และที่ สาคญั ลกู ทีมต้องมีความร่วมมอื ในการปฏบิ ตั ิงาน

-2- 4. เหตผุ ลและความจาเปน็ ในการศกึ ษาและคาถามในการวจิ ยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย ก่อสร้างข้ึนโดยการปฏิรูประบบราชการในปี พ.ศ. 2545 ตามนโยบายของรัฐบาล ได้มีการปรับเปล่ียน บทบาท ภารกิจ โครงสร้างการบริหารงานบุคคล วัฒนธรรม ค่านิยม สอดคล้องกับการบริหารกิจการ บ้านเมอื งทด่ี ี บุคลากรกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการทางานตามโครงสร้าง อานาจหน้าท่ี ภายใต้พ้ืนฐานของปัจเจกบุคคลในแต่ละหน่วยงาน แต่ทุกคนทางานภายใต้ทีมงานทั้งรูปแบบทีมของการ จัดตั้งเป็นคณะทางาน คณะกรรมการร่วมแต่ละหน่วยงาน ซ่ึงการดาเนินการแต่งตั้งคณะทางาน หรือ คณะกรรมการตามความเหมาะสม เป็นการดาเนินการตามบทบาทหน้าที่ และตามภารกิจ เพื่อสามารถ ประชุมระดมความคิดเห็น เสนอข้อคิดเห็นจากข้อมูลที่หลากหลายของแต่ละบุคคลมานาเสนอทางเลือก เพ่ือร่วมกันตัดสินใจในการพัฒนา และดาเนินการร่วมกันจนบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ในแต่ละ ภารกิจ ซ่ึงอาจจะมีการทางานในรูปแบบอ่ืน ๆ ผสมผสานกัน การทางานเป็นทีมต้องอาศัยการติดต่อ ประสานงานข้ามหน่วยงานกัน เป็นการทางานเป็นทีมที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญให้คาช้ีแนะ นาเสนอในที่ ประชุมรว่ มกัน โดยเฉพาะการดาเนนิ งานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือรูปแบบการทางาน เป็นทีมท่ีต้องทางานท้ังในภาวะฉุกเฉิน ซึ่งภายใต้การบริหารจัดการของทีมงานของบุคลากรกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยในแต่ละหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ งแต่ละบทบาทหน้าท่ีของแต่ละตาแหน่ง บุคลากรบาง ทา่ นปฏบิ ตั งิ านอยู่หลายทีม ขึน้ อยูก่ ับสถานการณ์ทีเ่ กิดขึ้น การทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอกองค์การ จะเป็นการทางานเป็นทีม จึงเป็นหัวใจสาคัญในการบริหารจัดการสาธารณภัย ทั้ง การบริหารจัดการอ่ืน ๆ ของแต่ละหน่วยงาน ด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติเชิงรุก กระบวนการในการ บริหารจัดการภัยพิบัติต้องบูรณาการบริหารจัดแบบเป็นทีมงานเพื่อลดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินให้ มากทส่ี ุด ดงั น้ี 1. กอ่ นเกิดภัย มกี ารเตรยี มความพรอ้ มใหก้ ับประชาชน โดยให้องคค์ วามร้แู ก่ประชาชน ชุมชน เครือข่าย โดยการฝึกอบรมให้ความรู้ภัยด้านต่าง ๆ ตามพ้ืนท่ีเส่ียงภัย เช่น การเฝ้าระวัง การแจ้ง เตือนภัยในพื้นที่เส่ียงภัยดินโคลนถล่ม ให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการความเส่ียงต่อภัยพิบัติในพ้ืนท่ี โดย ชุมชนต้องร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจในการวางแผน และมีการฝึกซ้อมแผนโดยใช้ทรัพยากร เครอื่ งมืออปุ กรณข์ องคนในชมุ ชน ก่อนทห่ี น่วยงานอ่ืนจะเข้ามาช่วยเหลือ 2. ขณะเกดิ ภัย ต้องรว่ มบรู ณาการปฏบิ ตั งิ านเป็นทีมโดยการใหค้ วามชว่ ยเหลือ การอพยพ ประชาชนไปยงั พื้นทปี่ ลอดภัย - หลังเกิดภัย ฟ้ืนฟูส่ิงก่อสร้างที่ชารุดเสียหาย ท้ังสภาพร่างกาย จิตใจ การให้การ ช่วยเหลือเบื้องต้น และการสนับสนุนด้านการฝึกอาชีพ เพื่อให้ผู้ประสบภัยพิบัติสามารถกลับมาดารง ชวี ิตประจาวนั ให้คงสภาพเดมิ ให้เรว็ ทส่ี ดุ นักศึกษาหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 มีส่วน รว่ มในการปฏบิ ตั งิ านเพ่อื ขับเคล่ือนภารกจิ ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้บรรลุเป้าหมายตาม วัตถุประสงค์ขององค์การ จึงมีความสนใจในการที่จะศึกษาถึงวิธีการทางานเป็นทีมเพ่ือปฏิบัติงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยของบุคลากรในองค์กร ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการทางานเป็นทีม เพ่ือนาผล การศึกษาวิจัยมาเปน็ แนวทางในการพฒั นาคุณภาพทีมงาน

-3- เพ่ือเป็นทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านสาธารณภัยได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ท่ัวถึง เป็น ธรรม สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ส่งผลต่อการพัฒนาองค์กร สร้างความ ศรัทธา ความเช่ือมั่น ตลอดเป็นทีย่ อมรบั ของประชาชน 5. วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา ไดก้ าหนดวัตถปุ ระสงคใ์ นการศึกษา ดังนี้ 5.1 เพ่ือศึกษาระดับการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 5.2 เพอ่ื ศึกษาปจั จัยท่ีมคี วามสัมพันธ์ ปญั หา อุปสรรคในการปฏบิ ัติงานเป็นทมี ของบุคลากร ทีเ่ ข้ารบั การอบรมหลักสตู ร นักบรหิ ารงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 6. วธิ กี ารและขอบเขตการศึกษา 6.1 วธิ ีการศึกษาเป็นเชิงปรมิ าณ โดยใช้ขอ้ มูลจากแบบสอบถามของบคุ ลากรที่เข้ารับการ ฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูล เชิงลกึ และนาไปสู่กระบวนการวิเคราะห์ 2 วิธี ดงั น้ี 1. การสังเกต (Observation) 2. การสมั ภาษณ์ (Interview) 6.2 ขอบเขตการศึกษาของบุคลากรท่ีเขา้ รับการฝึกอบรมหลักสูตร นกั บริหารงานปอ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 6.3 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา ตัวแปรอิสระ ตวั แปรตาม ปัจจยั ส่วนบุคคล การทางานเปน็ ทีมของ - เพศ นักศึกษา“หลกั สูตรนัก - อายุ บรหิ ารงานป้องกนั และ - ระดบั การศึกษา บรรเทาสาธารณภยั - ประเภทตาแหนง่ - ประสบการณ์ทางาน (นบ.ปภ.) ” รนุ่ ท่ี 10 - หน่วยงานสงั กัด - ลักษณะการทางานเปน็ ทีม - ลกั ษณะการเขา้ รว่ มทีมงาน ปจั จยั - ดา้ นผูน้ าทมี งาน - ด้านการมีสว่ นรว่ ม - ดา้ นการวางแผน - ด้านการประสานงาน - ด้านการกากับดแู ล

-4- 7. ทฤษฏี แนวความคดิ ระเบียบกฎหมายที่ใช้ในการศกึ ษา 7.1 แนวคดิ การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 7.2 แนวคิดการทางานเปน็ ทมี 7.3 วรรณกรรมและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 8.1 การศึกษาลักษณะการทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 8.2 เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพทีมงาน 8.3 เพ่อื นาไปพิจารณาปรับปรุง พัฒนาตนเองในการทางานเปน็ ทมี และเปน็ แนวทางให้ ผบู้ รหิ ารนาไปใช้เสริมสรา้ งประสิทธิภาพการทางานเปน็ ทีม ความเหน็ ของอาจารย์ที่ปรึกษา ลงชอ่ื … ลงชือ่ ( นายปยิ วัฒน์ ขนษิ ฐบตุ ร) (นางมนสั นนั ท์ จรัสเลศิ สิริ ) อาจารยท์ ป่ี รึกษานักศึกษา นบ.ปภ.รนุ่ ที่ 10 นกั ศกึ ษา นบ.ปภ. รุ่นที่ 10 อนมุ ตั ิ ไม่อนมุ ัติ เนื่องจาก……………………………………………………………………………………. ลงช่อื (นางสาวลักขณา มนิมนากร) ผอู้ านวยการวิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ชอ่ื – นามสกลุ ประวัติผู้ศกึ ษา วนั เดือน ปี เกดิ สถานทเ่ี กดิ นางมนสั นนั ท์ จรสั เลศิ สริ ิ วฒุ ิการศกึ ษา 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 กรงุ เทพมหานคร ตาแหน่งปัจจบุ ัน ปรญิ ญาตรี บริหารจดั การ สาขาบญั ชี สถานบนั ราชภฎั สวนสนุ นั ทา หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป สงั กดั สานักสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั สาธารณภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (ส่วนกลาง)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook