Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 43_สุนา คนบุญ

43_สุนา คนบุญ

Published by Hommer ASsa, 2021-05-07 04:07:22

Description: 43_สุนา คนบุญ

Search

Read the Text Version

42 ขอ้ ท่ี 1 ทา่ นได้รับความรูจ้ ากการประชาสมั พนั ธ์และการรณรงค์จากเจา้ หนา้ ท่ี อปพร. เกี่ยวกับมาตรการใช้กฎหมายการปอ้ งกันอุบตั ภิ ยั แหง่ ชาตสิ านักนายกรฐั มนตรที ี่ ออกใชม้ าตรการ 3 ม.2 ข. 1 ร. ข้อท่ี 2 ทา่ นมีความรเู้ กีย่ วกับคาวา่ 3 ม ทก่ี ฎหมายไดก้ าหนดขึน้ เพื่อเปน็ การลด การเกดิ อุบัตเิ หตบุ นท้องถนน ข้อที่ 3 ทา่ นมคี วามรูเ้ ก่ยี วกบั คาว่า 2 ข ที่กฎหมายไดก้ าหนดข้ึนเพ่อื เป็นการลด การเกิดอบุ ัตเิ หตุบนทอ้ งถนน ขอ้ ที่ 4 ท่านมีความรู้เกีย่ วกับคาวา่ 1ร ท่กี ฎหมายไดก้ าหนดขึน้ เพือ่ เป็นการลด การเกดิ อบุ ัติเหตบุ นทอ้ งถนน ข้อท่ี 9 ท่านไดร้ บั การอบรมความร้แู ละหลักการปฏิบตั ิจากเจ้าหนา้ ท่ีศนู ย์ อปพร. เก่ียวกบั การใชเ้ คร่ืองมอื หรืออุปกรณป์ ระจารถในการแก้ไข สถานการณเ์ มอื่ เกดิ เหตคุ ับขันขึ้นในระหว่าง เกิดเหตุ สว่ นรายข้ออ่ืน ๆ ประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ย พลเรอื น ในการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรการ 3 ม. 2ข. 1ร. กรณีศกึ ษาประชาชนแต่ละพ้ืนทอ่ี งค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ น้นั ไม่แตกต่างกัน 3.2 ด้านบรกิ าร การเปรียบเทยี บประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกัน ภยั ฝ่ายพลเรือนในการปฏิบัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ต่อประชาชนทใี่ ช้ ยานพาหนะ บนท้องถนนในพื้นทจ่ี งั หวัดสระบรุ ี จาแนกตาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยภาพรวม พบว่า ไม่ แตกต่างกัน เม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ แตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 จานวน 3 ข้อ ได้แก่ ขอ้ ที่ 15 ในชว่ งเทศกาลต่าง ๆ ศูนย์ อปพร.ได้มีการจัดชุดเจา้ หนา้ ท่ี อปพร. พร้อมอปุ กรณเ์ ตรียมพร้อมในการช่วย เหลือไวต้ ามจุดท่คี าดวา่ เกดิ อบุ ตั เิ หตุบอ่ ย เพื่อคอยบรกิ ารใหก้ บั ประชาชนท่สี ัญจรไปมาในชว่ งเทศกาลต่าง ๆ ศนู ย์ อปพร.ได้มกี ารจัดชดุ อปพร. พรอ้ มอุปกรณ์ เตรียมพร้อมในการช่วยเหลือไวต้ ามจุดท่คี าดวา่ เกิดอบุ ตั ิเหตุบ่อย เพือ่ คอยบรกิ ารให้กับประชาชนที่สัญจร ไปมา ขอ้ ที่ 17 ศนู ย์ อปพร. ได้จดั เครื่องมือหรืออุปกรณ์เตือนภัยไว้บริการในชุมชน เพอื่ เฝา้ ระวังและสาหรบั แจง้ เตือนภยั จากอุบัตเิ หตตุ ่าง ๆ ข้อท่ี 19 การบริการช่วยเหลือของเจ้าหน้าท่ี อปพร.มีการเรียกรอ้ งค่าตอบแทนใน การบรกิ ารช่วยเหลอื ส่วนรายขอ้ อนื่ ๆ ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรอื น ในการปฏิบตั งิ านตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1ร. กรณีศกึ ษาประชาชนแต่ละพื้นท่อี งค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินนั้น ไมแ่ ตกตา่ งกัน สว่ นรายข้ออ่ืน ๆ ประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมัครปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรือน ในการปฏิบัตงิ านตามมาตรการ 3 ม. 2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนแต่ละพืน้ ทอี่ งค์กรปกครองสว่ น ทอ้ งถ่นิ นั้น ไม่แตกต่างกัน 3.3 ด้านการมีสว่ นรว่ ม การเปรียบเทียบประสทิ ธิผลในการดา เนนิ งานของอาสาสมัคร ปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏบิ ัติงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1ร. กรณีศึกษาประชาชนท่ี

43 ใช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สระบุรี จาแนกตาม องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ดา้ นการมีส่วน ร่วม โดยภาพรวม พบวา่ แตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.05 เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 จานวน 5 ขอ้ ได้แก่ ขอ้ ท่ี 21 ท่านไดเ้ ข้ารว่ มอบรมเกยี่ วกบั กฎหมายจารจรทศ่ี นู ย์ อปพร.จดั ขน้ึ เพือ่ ให้ ความรูก้ ับประชาชทนา่ นไดเ้ ขา้ รว่ มอบรมเกย่ี วกบั กฎหมายจารจรทีศ่ ูนย์ อปพร.จัดขึน้ เพอ่ื ให้ความร้กู บั ประชาชน ขอ้ ที่ 22 ในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ ท่านมสี ่วนร่วมในการปฏิบัติตามระเบยี บกฎหมาย จารจรตามมาตรการ 3ม 2 ข 1 ร ของ ศูนย์ อปพร.ที่ได้จดั กิจกรรมขึ้นในพื้นที่ ขอ้ ที่ 23 เม่อื ได้รบั การชว่ ยเหลอื จากเจ้าหน้าที่ อปพร. ในกจิ กรรมต่าง ๆ ของ ท่าน ๆ ไดม้ ีส่วนร่วมเข้าไปช่วยเหลือ อปพร.ในกิจกรรมนน้ั ด้วย ข้อท่ี 24 เมอื่ มีการจัดระเบียบจารจรบนทอ้ งถนนทา่ นมสี ว่ นรว่ มในการใหค้ วาม สะดวกกับ อปพร.ในการปฏบิ ัติงาน ข้อที่ 26 ทา่ นมีสว่ นร่วมในการบรจิ าคทรัพยเ์ พ่ือสนับสนนุ กิจกรรมของ อปพร. ใน การจดั หาอปุ กรณก์ ภู้ ยั ขั้นตน้ และเครือ่ งมืออุปรกักรษณา์พยาบาลเพอ่ื ใหเ้ พียงพอต่อการบรกิ ารช่วยเหลอื ประชาชน ส่วนรายขอ้ อืน่ ๆ ประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่ายพลเรือน ในการปฏิบตั งิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ตอ่ ประชาชนแตล่ ะพนื้ ที่องค์กรปกครองสว่ น ทอ้ งถน่ิ นนั้ ไม่แตกตา่ งกัน การอภิปรายผล ผลการศกึ ษาที่สรุปว่า ประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนท่ีใช้ยานพาหนะบนทอ้ ง ถนน ในพื้นทจ่ี งั หวัดสระบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง และเมอื่ เปรยี บ เทยี บประสทิ ธิผลในการ ดาเนินงาน ของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในการปฏิบัติงานตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนทใี่ ช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ทีต่ ่างพื้นที่ทองถิน่ ในพ้ืนทจ่ี ังหวัดสระบรุ ี พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 ผลดังกลา่ วมีความสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ เรอ่ื ง ทัศนะของ บุคคลทเี่ กี่ยวข้องต่อการบังคบั ใช้หมวกนริ ภยั : ศึกษาเฉพาะกรณเี ขตอาเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู กต็ ของมณี ทิพย์ วรี ะรตั นมณี (2536,บทคดั ย่อ) ซงึ่ สามารถอธิบายไดว้ ่า มคี วามแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ ทรี่ ะดับ 0.0001 และสอดคล้องกบั ผลงานการวจิ ยั ของ อทุ ัย ลอื ชัย (2543,บทคัดยอ่ ) เร่ืองทัศนคตขิ อง ประชาชนจงั หวดั เชยี งใหมต่ ่องานปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรอื น พบวา่ แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิที่ ระดับ .05 จากการศกึ ษาผลของประสิทธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รปอ้ งกันภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏิบตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนท่ีใช้ยานพาหนะบนทอ้ ง ถนน ในพน้ื ท่จี งั หวัดสระบุรี เม่อื พจิ ารณาจากประชาชนที่ขับขีย่ านพาหนะบนท้องถนน แต่ละบคุ คลจาก การตอบแบบสอบถาม พบว่าประชาชน เพศชายจะตอบแบบสอบถามมากกวา่ ประชาชนทเ่ี ปน็ เพศหญงิ และประชาชนที่ขบั ขย่ี านพาหนะมีอายุ 40-60 ปี เป็นสว่ นใหญ่จะตอบคาถามจากแบบสอบถามเกี่ยวกับ ประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏิบตั งิ านการรณรงค์ตาม มาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. จากข้อมูลของคาถามแบบสอบถามท่ใี ชใ้ นการในการศกึ ษาจะมลี ักษณะของคาถาม

44 ทกี่ ระจายในเร่ืองประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น ในการปฏิบัติ งาน ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ใน 3 ดา้ น และครอบคลมุ ในขอ้ มลู และเนอื้ หาของดา้ นการปฏบิ ัติงานตาม มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1ร. ของอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื นตามพระราชบญั ญัตทิ ีไ่ ด้ กาหนดไวใ้ นกรอบ แนวคิดของการศึกษา จากการศึกษาเรอื่ งประสิทธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รป้องกันภัยฝา่ ยพล เรอื น ในการปฏิบตั ิ งานตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนที่ใช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ใน พื้นที่จังหวดั สระบุรี จากการเปรยี บเทยี บงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งท่ีพบวา่ สอดคลอ้ งกบั ผลการวิจัยที่แตกต่างกนั ดังกล่าวมาแล้ว จากการวิเคราะห์ข้อมูลและผลการศกึ ษาพบว่าอยู่ในระดบั ปานกลาง อาจเนอ่ื งมาจากใน แต่ละพน้ื ท่ีมีความแตกตา่ งในเรอ่ื งยานพาหนะทม่ี ีจานวนสญั จรไปมาไมเ่ ทา่ กนั และความรู้ความเข้าใจใน เรือ่ งการปฏบิ ัติงานมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ไมไ่ ด้นามาใชอ้ ย่างจรงิ จัง อกี ทั้งอาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพล เรอื น ในแตล่ ะพ้ืนท่ียอ่ มมคี วามกระตือรือรน้ ทต่ี ่างกนั เนอ่ื งจากความพรอ้ มของอปุ กรณห์ รือการสนบั สนุน งบประมาณ และความเอาใจใสข่ องผทู้ ่ีรับผดิ ชอบในการควบคมุ จึง ทาให้ประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานไมด่ ี เทา่ ที่ควร ซ่งึ ผลท่ไี ด้จากการศึกษาในครัง้ นพี้ บว่าอยู่ในระดับปานกลาง ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ท่ีดาเนินการเกีย่ วกบั ศูนยอ์ าสาสมัครป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรือน สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ไดใ้ น 3 ด้าน ดงั นี้ 1. ดา้ นการความรู้ จากผลการศกึ ษาทคี่ น้ พบวา่ อย่ใู นระดบั ปานกลาง นนั้ องคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถน่ิ ต้องเรง่ พฒั นาบุคลากรให้มีศกั ยภาพในเรอ่ื งการปฏบิ ตั งิ าน เพือ่ ให้สามารถทจี่ ะ เผยแพร่ความร้สู ปู่ ระชาชนในพน้ื ท่ีให้เกดิ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ต่อชวี ิตและทรัพยส์ นิ และ สร้างความเดือดร้อนให้กบั บุคคลอืน่ ๆ จากการไมม่ รี ะเบยี บวินัยในการใชร้ ถใชถ้ นน 2. ด้านการบรกิ าร จากผลการศกึ ษาพบว่า อย่ใู นระดบั ปานกลาง ดังน้ันจะตอ้ งเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการบรกิ ารโดยการเพมิ่ ท้งั กาลังคน สิ่งอุปกรณ์และงบประมาณใหเ้ พ่มิ มากย่ิงข้ึน โดยการ จัดกจิ กรรมหน่วยโครงการเพือ่ ดูแลความสะดวกความสบายในการใชร้ ถใชถ้ นนท้ังในด้านการสร้าง สัญญาณหรือเคร่ืองหมายแสดงให้เหน็ อยา่ งต่อเนื่องและเดน่ ชัด พัฒนาปรบั ปรุงในการพัฒนาเสน้ ทางริม ทางใหม้ วี ิสยั ทัศนส์ ามารถมองเห็นไดอ้ ย่างชดั เจนในเม่อื เวลาใช้รถใช้ 3. ด้านการมสี ว่ นร่วม จากผลการศึกษาพบว่า อยู่ในระดบั มาก นัน้ แสดงให้เหน็ ถึงการ เข้าใจของประชาชนทมี่ ีตอ่ การลดอบุ ตั ิเหตลุ ง ดงั นั้นองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ จะตอ้ งสนับสนุนให้ งบประมาณหรืออุปกรณ์ในการป้องกนั ภยั และชว่ ยลดอบุ ตั ิเหตจุ ากประชาชนในพนื้ ที่ใหเ้ พม่ิ มากขึน้ อีก เพ่อื เปน็ การรกั ษาชีวิตของประชาชน ในการใชร้ ถใช้ถนนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจยั ครั้งไป ในการศกึ ษาครง้ั ต่อไปควรขยายขอบเขตการศกึ ษาในเรื่องการปฏิบตั ิ งานของอาสา สมัครปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรือน ในด้านอืน่ ๆ เพิ่มข้นึ อกี เพื่อใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่มีความหลากหลายมากข้ึน อนั เป็น แนวทางในการปรบั ปรงุ พัฒนาการทางานของอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น และสามารถนาไปเป็น แนวทางในการศกึ ษาทีเ่ กี่ยวกบั การพฒั นาของประชาชนทีเ่ ปน็ อาสาสมัครป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น ทาให้ เกดิ ผลสัมฤทธิใ์ นการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพต่อไป

45 บรรณานุกรม การญจนา อนิ ทรักษ์.(2545) ประสทิ ธิผลการดาเนนิ งานป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออกของเจ้าหน้าท่ี สาธารณสขุ ระดับตาบล ในจังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์, หลักสูตรปรญิ ญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. (สาธารณสขุ ศาสตร์) สาขาบริหารสาธารณสุข. บณั ฑติ วิทยาลยั , มหาวิทยาลัยมหดิ ล. กระทรวงมหาดไทย. (2550). คมู่ ือแนวทางการดาเนินงาน. ศนู ยอ์ าสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่ายพลเรอื น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2550). ศูนย์ อปพร. ตน้ แบบ. ศนู ยอ์ าสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2550). พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ.2550. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1. สานักมาตรการปอ้ งกนั สาธารณภยั กลมุ่ งานกฎหมาย. จัดพิมพ.์ คณะทางานสนบั สนนุ การดาเนนิ งานป้องกนั และแก้ไขปญั หาอุบัตเิ หตทุ างถนนจงั หวดั นารอ่ ง สอจร.), (2550) ตานาน เรอ่ื ง อุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์. สานกั งานกองทุน สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ. ศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน. เฉลมิ เกดิ โมลี (2543). แนวทางการมีสว่ นรว่ มในกระบวนการนโยบาย. กรุงเทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. ทนงศักดิ์ คมุ้ ไข่น้า (2546).การศกึ ษากบั การพัฒนาชมุ ชน. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 1). คณะครศุ าสตร์ สถาบันราชภัฏ เพชรบูรณ์,ขอนแก่น. ธงชัย สันตวิ งษ์. (2537). การบรหิ ารงานบคุ คล. (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 7). กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานชิ . บญุ ชม ศรสี ะอาด (2543). การวจิ ัยเบือ้ งตน้ .(พิมพค์ ร้ังที่ 6). กรงุ เทพ ฯ : สวุ รี ิยาสาส์น. ประเวศ วะสี และคณะ. (2551). ตานาน เร่ืองอบุ ัติเหตจุ ากรถจกั รยานยนต์. (พมิ พค์ รง้ั ท2่ี ). ขอนแก่นการ พมิ พ.์ ขอนแกน่ . ปรชิ าติ วิลัยเสถียร และคณะ (2548).กระบวนทัศนใ์ หมก่ บั การเรยี นรขู้ องชมุ ชน. โครงการเสรมิ สรา้ งการ เรียนรู้เพอื่ ชมุ ชนเปน็ สุข (สรส.). กรุงเทพฯ ปูรดิ า ปน่ิ ทอง. (2549). ประสทิ ธิผลการดาเนินงานคุ้มครองผบู้ รโิ ภคดา้ นผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ ของสานักงาน สาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานพิ นธ์. หลักสูตรปรญิ ญารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑติ . บณั ฑิตวิทยาลยั , มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. พชิ ติ ตนั ตศิ กั ด์ิ. (2544). บทบาทของอาสาสมคั รปอ้ งกันภัยฝา่ ยพลเรือนเทศบาลนครเชยี งใหม่. การศึกษา คน้ ควา้ อิสระ. หลกั สตู รปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการเมือง บณั ฑิตวิทยาลยั , มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่. มณที พิ ย์ วรี ะรตั นมณี. (2536). ทศั นะของบคุ ลากรทเ่ี กี่ยวขอ้ งต่อการบังคบั ใช้หมวกนิรภยั : ศกึ ษาเฉพาะกรณี เขตอาเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วิเชียร วิทยอดมุ . (2547). พฤตกิ รรมองคก์ าร. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์ และไซเท็กซ.

46 บรรณานกุ รม (ต่อ) วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตย์ และคณะ (2540). ระบบบริการทางการแพทยฉ์ ุกเฉินในประเทศไทย โรงพยาบาล ขอนแก่น,ขอนแกน่ . สกลุ วงษก์ าฬสินธ.์ุ (2549) ทฤษฎีและหลกั การพฒั นาชุมชน. โครงการสง่ เสรมิ การเขา้ สตู่ าแหนง่ ทางวิชากา.ร มหาวิทยาลัยราชภฎั นครราชสมี .าคณะมนษุ ยศ์ าสตร์และสงั คมศาสตร์, มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครราชส.ีมา สนธยา พลศรี. (2545). ทฤษฎีและหลกั การพฒั นาชุมชน. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 4). กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์ โอเดยี นสโตร.์ สุวิมล ตริ กานนั ท์. (2548). ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสกู่ าร ปฏิบัต.ิ (พมิ พ์ครงั้ ที่ 5). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สุภาวดี พุทธลอด. (2542). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศกึ ษาเพ่ือปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการ ขบั ขี่ รถจักรยานยนต์ของผ้ขู บั ขรี่ ถจกั รยานยนต์รบั จา้ ง ในเขตอาเภอวังน้อย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา. วทิ ยานพิ นธ์. หลักสตู รปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาวชิ าเอกสุขศึกษาและพฤตกิ รรมศาสตร์. บณั ฑิตวทิ ยาลัย, มหาวิทยาลยั มหดิ ล. สมชัย วิโรจนแ์ สงอรุณ (2539).โครงการวจิ ยั และพัฒนาการสง่ เสริมสขุ ภาพ กรงุ เทพมหานคร : มหาลยั มหิดล. สานักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งสขุ ภาพ. (2546).หมวกนิรภยั กบั ผู้ใชร้ ถจกั รยายนตป์ ระเทศ ไทย พ .ศ. 2535-2544. กรุงเทพฯ : กลางคุ้มครองผปู้ ระสบภัยจากรถ จากัด. สานกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดสระบุรี. (2551). ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารป้องกัน อุบัตเิ หตุทางถนน ในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ ปี 2551. อุทยั ลอื ชยั . (2543). ทศั นคตขิ องประชาชนจงั หวดั เชียงใหม่ต่องานป้องกนั ภัยฝายพลเรอื น. การค้นคว้า อสิ ระ. หลักสูตรปริญญารฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ . สาขาวชิ าการเมืองและ การปกครอง. บัณฑิตวิทยาลยั , มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.

ภาคผนวก

เลขท่ี.................. แบบสอบถาม ประสิทธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงคต์ าม มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนตามในพื้นทีจ่ ังหวดั สระบรุ ี คาชแี้ จง 1. แบบสอบถามฉบบั น้ีมุ่งศึกษาประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร.ในการ ปฏบิ ัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณีศึกษาประชาชน ในพนื้ ทจี่ ังหวดั สระบรุ ี ผล การ ศึกษาครงั้ นีจ้ ะไดน้ าเสนอหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาของสมาชกิ อปพร. เพิ่มมากข้ึน 2. คาตอบของท่านไมม่ ผี ลกระทบต่อตวั ท่านหรอื หนา้ ทกี่ ารงานของทา่ น แตป่ ระใกดารซงึ่ จะเป็นประโยชนต์ ่อการศกึ ษา เพ่อื หาแนวทางปรับปรุงแก้ไขใน การดาเนนิ การทเ่ี ก่ียวกบั ประสิทธผิ ลการ ดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชน ในพน้ื ท่ีจังหวดั สระบรุ ี 3. ขอให้ท่านตอบแบบสอบถามดว้ ยความรสู้ ึกท่ีแทจ้ รงิ และเป็นจรงิ มากทส่ี ุดในการ ตอบคาถามของท่านไม่มผี ดิ หรอื ไม่มีถกู เพราะถือว่าแนวความคดิ เห็นของแตล่ ะบคุ คลย่อมมีความ แตกต่างกัน คาตอบของท่านจะใช้เป็นประโยชน์ในการศึกษาเกีย่ วกับประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานของ อปพร.ในการปฏิบัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี ึกษาประชาชน ในพนื้ ทจ่ี ังหวัด สระบรุ ี เทา่ น้นั 4. แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ประสิทธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏบิ ัตงิ านตอ่ ประชาชนตาม มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในพ้ืนที่จงั หวดั สระบุรี

แบบสอบถาม ประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏิบัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี ึกษาประชาชน ในพืน้ ท่จี งั หวดั สระบุรี ตอนท่ี 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย หญิง 2. ปัจจุบันท่านอายุ 20 – 40 ปี ตา่ กว่า 20 ปี มากกว่า 60 ปี ขึน้ ไป 41-60 ปี 3. ทา่ นประกอบอาชีพ เกษตรกร รับจ้าง อ่นื ๆ ค้าขาย 4. ระดับการศกึ ษา มัธยมศกึ ษา ประถมศกึ ษา สูงกว่ามัธยมศึกษา ตอนที่ 2 ประสิทธิผลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏิบตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี ึกษาประชาชน ในพืน้ ที่จงั หวดั สระบุรี คาแนะนา ใหท้ า่ นพจิ ารณาคาถามเกยี่ วกบั ประสิทธิผลการดาเนนิ งานของ อปพร.ในการ ปฏิบัติงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชน ในพื้นท่จี ังหวัดสระบรุ ี ในแตล่ ะ ประเด็นทีต่ รงความเหน็ ของท่าน โดยค่าระดบั 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง ประสทิ ธผิ ลดาเนนิ งานอยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด 4 หมายถงึ ประสทิ ธิผลดาเนินงานอย่ใู นระดับมาก 3 หมายถงึ ประสิทธิผลดาเนินงานอย่ใู นระดับปานกลาง 2 หมายถึง ประสิทธิผลดาเนินงานอยใู่ นระดบั นอ้ ย 1 หมายถึง ประสทิ ธิผลดาเนนิ งานอยใู่ นระดับนอ้ ยท่สี ดุ

ระดับประสทิ ธผิ ล ขอ้ ที่ ประสทิ ธิผลการดาเนินงานของ อปพร. มากที่สุด ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. มาก ปานกลาง น้อย น้อย ี่ทสุด ด้านความรู้ 1. ท่านไดร้ ับความรูจ้ ากการประชาสัมพันธ์ และการ รณรงค์จากเจา้ หนา้ ที่ อปพร. เกี่ยวกบั มาตรการใช้ กฎหมายการปอ้ งกนั อบุ ัติภัยแห่งชาติ สานัก นายกรฐั มนตรี ทีอ่ อกใชม้ าตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. 2. ทา่ นมีความรู้เก่ียวกบั คาวา่ 3 ม ทกี่ ฎหมายได้กาหนดขึน้ เพอ่ื เป็นการลดการเกิดอุบตั ิเหตบุ นท้องถนน 3. ท่านมคี วามร้เู ก่ยี วกับคาว่า 2 ข ท่ีกฎหมายไดก้ าหนดขึน้ เพื่อเปน็ การลดการเกดิ อบุ ัติเหตบุ นท้องถนน 4. ทา่ นมคี วามรู้เก่ียวกับคาว่า 1ร ทกี่ ฎหมายได้กาหนดข้นึ เพ่ือเป็นการลดการเกิดอุบตั เิ หตบุ นท้องถนน 5. ทา่ นไดเ้ ขา้ รับอบรมเก่ียวกับกิจกรรมการขบั ขป่ี ลอดภยั บน ท้องถนนของศูนย์ อปพร. ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ที่กฎหมายได้กาหนขึน้ 6. ทา่ นไดร้ บั ความรูจ้ ากเจ้าหนา้ ท่ี อปพร. เกีย่ วกับการให้ คาแนะนาการสงเคราะห์ผู้ประสบภยั รถ ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. 7. ทา่ นได้รับข้อมูลขา่ วสารเกี่ยวกบั การจัดชดุ หน่วย ปฏิบตั กิ ารกู้ภยั ตามโครง การหน่งึ ตาบลหนึง่ ทมี กชู้ พี กู้ภัย ของ อปพร. ในแต่ละพน้ื ทีข่ องชุมชน

ระดับประสทิ ธิผล ข้อที่ ประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร. มากที่สุด ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. มาก ปานกลาง 8 ท่านไดร้ ับความรูเ้ ก่ียวกบั การขอความชว่ ยเหลือจาก น้อย เจ้าหนา้ ที่ อปพร.เมอ่ื อุบัติเหตใุ นระหว่างการขับข่ี น้อย ี่ทสุด ยานพาหนะบนท้องถนน 9. ท่านไดร้ บั การอบรมความรแู้ ละหลกั การปฏิบัติ จาก เจา้ หนา้ ท่ศี ูนย์ อปพร. เก่ยี วกับการใช้เคร่ืองมอื หรือ อปุ กรณ์ประจารถในการแกไ้ ขสถานการณเ์ มื่อเกดิ เหตคุ บั ขันข้นึ ในระหวา่ งเกิดเหตุ 10. เจา้ หน้าท่ี อปพร. ทเ่ี ข้ามาปฏบิ ัติหน้าท่ใี นการเขา้ ร่วมจัด ระเบียบจารจรนนั้ มีความรู้ความสามารถในปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นการจารจร ด้านการบริการ 11. ทา่ นได้รบั การบริการอบรมใหค้ วามรจู้ ากศูนย์ อปพร.ในเรื่องการใชร้ ถ และความผิดตอ่ การละเมิดกฎ จารจรตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. 12. ทา่ นได้รับการบริการช่วยเหลือจากเจ้าหนา้ ที่ อปพร. เกย่ี วกับการให้ความสะดวกทางดา้ นการจารจรใน เวลาเรง่ รบี หรอื เวลาขบั ตนั 13. ทา่ นไดร้ บั การบรกิ ารชว่ ยเหลอื จากเจา้ หนา้ ที่ อปพร. ในการจัดระเบียบจราจรในบรเิ วณที่เกดิ อบุ ัตเิ หตุ ใหเ้ กดิ ความคล่องตวั ในการใช้ถนน 14. ในการบริการช่วยเหลือจัดระเบยี บจราจรเม่อื มกี ารเกิด อบุ ัติเหตุบนท้องถนนเจา้ หนา้ ที่ อปพร. ท่ใี ห้ความ ช่วยเหลือมีเพยี งพอต่อการใหค้ วามช่วยเหลือจราจรให้รถ ที่สญั จรไปมา

ระดบั ประสทิ ธิผล ขอ้ ที่ ประสทิ ธิผลการดาเนนิ งานของ อปพร. มากที่สุด ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. มาก ปานกลาง 15. ในช่วงเทศกาลตา่ ง ๆ ศูนย์ อปพร.ไดม้ ีการจดั ชดุ น้อย เจา้ หนา้ ท่ี อปพร. พร้อมอปุ กรณ์เตรยี มพร้อมในการ น้อย ี่ทสุด ช่วยเหลอื ไว้ตามจดุ ท่ีคาดว่าเกิดอบุ ัตเิ หตบุ ่อย เพอ่ื คอย บริการใหก้ ับประชาชนที่สญั จรไปมา 16. ในการปฏิบตั ิงานดา้ นบริการ ศนู ย์ อปพร. ไดม้ ีการจัดต้งั ศนู ยว์ ิทยสุ ื่อสารอยู่เวรประจาตลอด 24 ช่ัวโมง เพอ่ื ช่วยเหลือบรกิ ารประชาชน 17. ศูนย์ อปพร. ไดจ้ ดั เครื่องมือหรอื อุปกรณเ์ ตือนภัยไว้ บรกิ ารในชมุ ชน เพื่อเฝ้าระวังและสาหรบั แจง้ เตือนภัยจาก อบุ ตั เิ หตุต่าง ๆ 18. เจา้ หน้าที่ อปพร. มีเครื่องมืออปุ กรณ์กู้ภยั ขนั้ ต้นและ เครือ่ งมอื อุปกรณร์ ักษาพยาบาลท่ีทนั สมัยและเพียงพอใน การบรกิ ารชว่ ยเหลอื เมอ่ื เกิดเหตุ 19. การบรกิ ารช่วยเหลอื ของเจา้ หน้าท่ี อปพร. มีการเรยี กรอ้ ง ค่าตอบแทนในการบริการช่วยเหลอื 20. ท่านไดร้ ับบรกิ ารแจกเอกสารเก่ยี วกบั ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสญั ญาจารจร และปา้ ยจารจร ตามที่รฐั ไดใ้ ช้ มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในการขับข่ี ดา้ นการมีสว่ นรว่ ม 21. ทา่ นไดเ้ ข้ารว่ มอบรมเก่ยี วกับกฎหมายจารจรทีศ่ นู ย์ อป พร.จดั ขนึ้ เพือ่ ให้ความร้กู ับประชาชน 22. ในช่วงเทศกาลตา่ ง ๆ ท่านมสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ัติตาม ระเบยี บกฎหมายจารจรตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ของ ศูนย์ อปพร.ท่ีได้จัดกจิ กรรมขึ้นใน พืน้ ท่ี

ระดบั ประสิทธิผล ขอ้ ท่ี ประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร. มากที่สุด ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. มาก ปานกลาง 23. เมอื่ ได้รับการชว่ ยเหลอื จากเจ้าหน้าท่ี อปพร.ในกจิ กรรม น้อย ตา่ ง ๆ ของท่าน ๆ ได้มสี ่วนรว่ มเข้าไปช่วยเหลือเจ้าหนา้ ที่ น้อย ี่ทสุด อปพร.ในกิจกรรมน้นั ด้วย 24. เมื่อมกี ารจัดระเบียบจารจรบนท้องถนนท่านมสี ่วนรว่ มใน การให้ความสะดวกกับเจา้ หนา้ ที่ อปพร.ในการปฏบิ ัตงิ าน 25. ท่านมีส่วนร่วมในการชว่ ยดูแลเครอื่ งมือหรอื อุปกรณ์เตอื น ภัยไวบ้ รกิ ารในชุมชน เพอ่ื เฝา้ ระวงั และสาหรบั แจ้งเตือน ภยั จากอบุ ัตเิ หตุต่าง ๆ ที่ศูนย์ อปพร. ไดม้ าติดตงั้ ไว้ให้ 26. ท่านมสี ่วนร่วมในการบรจิ าคทรัพย์เพ่ือสนบั สนนุ กจิ กรรม ของ อปพร.ในการจัดหาอปุ กรณ์กู้ภยั ขนั้ ตน้ และเครื่องมอื อปุ กรณ์รกั ษาพยาบาลเพื่อใหเ้ พยี งพอตอ่ การบริการ ช่วยเหลือประชาชน 27. ในการบริการช่วยเหลือประชาชนตามจุดต่าง ๆ ท่านมี ส่วนร่วมในการสนับสนนุ อาหารเคร่ืองด่มื เพื่อเป็น กาลังใจต่อการทางานของเจา้ หนา้ ที่ อปพร. 28. ทา่ นมสี ว่ นร่วมในการกระจายข่าวสารและเอกสารในการ รณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ของศนู ย์ อปพร. ให้กบั ประชาชนในทอ้ งถ่นิ ของท่านทราบ 29. ท่านมีสว่ นรว่ มในการช่วยเหลือประชาชนท่ีเกดิ อบุ ัติเหตุ โดยการโทรศพั ทต์ ิดตอ่ ประสานงานกับศนู ย์ อปพร. เพื่อ จัดเจ้าหนา้ ท่มี าทาการชว่ ยเหลือ 30. อปพร. เป็นสว่ นประกอบทม่ี ีความสาคัญกบั การดาเนนิ ชวี ิตประจาวันของท่าน

ประวัตผิ ู้เขียน ช่ือ ช่อื สกุล นายสุนา คนบุญ วัน เดือน ปี เกิด 20 มถิ นุ ายน 2510 สถานท่ีเกิด อาเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี วุฒกิ ารศึกษา -ปรญิ ญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี -ปรญิ ญาโท รัฐศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง ประสบการณ์รบั ราชการ ปี 2537 - 2545 รับราชการ ณ ศูนยป์ ฏิบัติการเร่งรดั พัฒนาชนบทนครราชสีมา กรมการเรง่ รัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย 2546 - ปัจจบุ ัน ดารงตาแหน่ง วิศวกรเคร่อื งกลชานาญการ สังกัด สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดสระบรุ ี กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย

แบบการเสนอโครงร่างการศกึ ษาวจิ ยั ส่วนบคุ คล(Proposal) หลกั สูตร นกั บริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) ร่นุ ท่ี 10 1. ชอื่ ผู้จัดทา นายสนุ า คนบญุ เลขประจาตัว 43 2. ช่อื เรอ่ื ง ประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏิบัตงิ านการ รณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนที่ใช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ในพืน้ ที่จังหวดั สระบรุ ี 3. ความเปน็ มาของเรือ่ งและสถานการณ์ปัจจบุ นั จังหวดั สระบุรี เป็นเมอื งชมุ ทางในการเดนิ ทางไปสจู่ ังหวดั ตา่ งๆ ทง้ั ภาคตะวนั ออก ภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในภาวะปกตมิ รี ถยนตใ์ ชเ้ ส้นทางผา่ นจังหวดั สระบรุ ีไมน่ ้อย กว่า 100,000 คนั ต่อวัน แต่ถา้ ในช่วงเทศกาลสาคญั ทั้งเทศกาลปีใหม่ สงกรานต์ ออกพรรษา ลอยกระทง และเทศกาลตรษุ จีนในทุกปี จะมีผู้ใช้เสน้ ทางเพ่ิมอีกไมน่ อ้ ยกวา่ 300,000 คนั ต่อวนั ในสถานการณป์ จั จบุ ัน การเกิดอุบัติเหตจุ ากการใช้รถใช้ถนนในการสัญจร ซ่งึ เกดิ จากผู้ ขับขีย่ วดยานขาดจิตสานกึ ดา้ นความปลอดภัย ไมเ่ คารพกฎหมายจารจร และท่สี าคญั คอื สว่ นใหญ่มกั จะไม่ เกรงกลัวกฎหมายบา้ นเมอื ง ได้แก่ การดื่มสุราแล้วขับรถ ไม่คาดเข็มขดั นิรภัย ไม่สวมหมวกกันนอ็ กทง้ั ผู้ขับ ข่ีและผ้ซู ้อนทา้ ย ไม่มใี บขบั ขี่ ขบั รถดว้ ยความเรว็ สูง ปัญหาเหล่าน้ไี ม่สามารถหลดุ พน้ ไปจากสงั คมไทยได้ เนื่องจากการบงั คับใชก้ ฎหมาย และบทลงโทษของบ้านเมอื งเราหยอ่ นไมเ่ ข้มงวดกวดขันเทา่ ท่คี วร ยอ้ นหลังไป 10 ปี ปรมิ าณของยานพาหนะทั้งรถยนต์ และจกั รยานยนต์ มเี พียงแค่ 12 ลา้ นคนั เศษ แต่ จานวนการเกิดอุบตั เิ หตไุ มย่ ่งิ หยอ่ นไปกวา่ ปจั จบุ นั นีส้ กั เทา่ ไรนกั ถ้าเปรยี บเทยี บถงึ จานวนผ้เู สียชีวติ และ บาดเจ็บ ต่อปรมิ าณยานพาหนะทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ทกุ ปี (ประเวศ วะสี และคณะ, 2551,หนา้ 138) จากปริมาณ การสูญเสียจานวนมากนนั้ ทาใหห้ น่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งไดต้ ระหนักถงึ ปญั หาและพยายามหาทางออกกับ ปัญหาท่เี กดิ ขึ้น โดยการกาหนดวาระในการลดอบุ ตั เิ หตจุ ารจรในปจั จุบันหน่วยงานหลักทด่ี าเนนิ การด้าน นโยบายการป้องกนั และลดอบุ ัติเหตุของประเทศไทยได้แก่ ศนู ยอ์ านวยการความปลอดภยั ทางถนน ซึ่งมี รองนายก รฐั มนตรีเป็นประธานเป็นหน่วยขบั เคล่อื น โดยใหห้ นว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งในประเทศไทยดาเนนิ การบูรณาการงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกาหนดไว้ โดยศนู ย์อานวยการความปลอดภยั ทางถนน หนว่ ยงานที่ รับผิดชอบภาพรวมของการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละดาเนนิ งานการแก้ไขปญั หาอุบตั เิ หตุ ได้กาหนด ยทุ ธศาสตรข์ องการป้องกนั และลดอบุ ตั ิเหตุการจารจร เป็นยุทธศาสตรก์ ารบังคับใช้กฎหมาย โดยมกี าร บังคับใชก้ ฎหมายทีเ่ ข้มงวดภายใต้การประชาสมั พันธท์ าความเขา้ ใจใหป้ ระชาชนเข้าใจเหตุของการบังคบั ใชก้ ฎหมาย โดยมงุ่ เนน้ การปฏิบตั ิตามหลักแห่งความปลอดภัย 3 ม. 2 ข. 1 ร. (ประเวศ วะสี และคณะ, 2551,หน้า152) สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั สระบรุ ี เป็นหน่วยทีไ่ ด้จัดตง้ั ข้ึนตาม พระราชบัญญัตปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 2550 มีอานาจหน้าทภี่ ารกิจหลักในการช่วยเหลือ

-2- ประชาชนในดา้ นป้องกนั บรรเทา ฟนื้ ฟสู าธารณภัย และอุบตั ิภยั ซงึ่ พระราชบัญญัตฉิ บับนี้ เป็นการบรู ณาการ ร่วมกนั จากทุกภาคส่วน ท้ังหนว่ ยงานของภาครฐั ภาคเอกชน และองค์กรปกครองท้องถิน่ เพื่อให้การ ดาเนนิ งานในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏิบตั งิ าน (พระราชบัญญตั ปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั , 2550,หนา้ 34) สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภยั จงั หวัดสระบุรี จึงมสี ว่ นในการสนองตอบตามนโยบายของรฐั ในด้านการปอ้ งกันและบรรเทาภัยอุบตั เิ หตุ ของการใช้รถใช้ถนน เพอ่ื ใหก้ ารสูญเสียท้งั ชีวติ และทรัพยส์ ินของจงั หวดั สระบรุ ี โดยใชก้ ลยุทธตามหลัก ความปลอดภยั มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบจานวน 13 อาเภอ ตามแผนการปฏบิ ัตงิ าน ของยทุ ธศาสตร์การบังคบั ใชก้ ฎหมาย โดยการใชห้ ลักการกากับดูแล ให้คาแนะนาและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เพอ่ื ลดจานวนอบุ ตั ิเหตุ ผู้บาดเจบ็ ผ้เู สียชวี ิต รวมท้ังเรง่ รัดติดตามผลการปฏบิ ตั งิ านของคณะทางานและ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารใหด้ าเนนิ การตามแผนงาน ต้งั จดุ ตรวจ โดยสนธกิ าลังจากเจา้ หน้าท่ที ุกฝา่ ย โดยเฉพาะ อาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน ( อปพร. ) ซง่ึ เปน็ ผ้ชู ่วยเจ้าพนกั งาน ไดเ้ ข้มงวดในการดาเนนิ การตาม มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. (รายงานตดิ ตามประเมนิ ผล, 2551,หนา้ 7) 4. เหตผุ ลและความจาเป็นในการศกึ ษาและคาถามในการวจิ ัย สถานการณ์และหลักฐานอา้ งอิง ผูจ้ ดั ทาเอกสารวิจยั ส่วนบุคคล ในฐานะเป็นบคุ ลากร บคุ คลหน่งึ ในศนู ย์อานวยการความปลอดภยั ทางถนนจงั หวัดสระบรุ ี มหี น้าที่ในการควบคมุ ดแู ลการ ปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น ( อปพร. ) ในพน้ื ที่รับผิดชอบ จึงมีความสนใจทีจ่ ะศกึ ษา เก่ยี วกับประสทิ ธิผลในการปฏบิ ตั ิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกันฝ่ายพลเรือน ในเร่อื งเกีย่ วกับการใช้มาตรการ หลักในการลดอุบตั เิ หตุ ตามแผนการปฏบิ ตั งิ านของยทุ ธศาสตร์การบงั คบั ใช้กฎหมาย ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในด้านการใหค้ วามรู้ ด้านการบรกิ าร และด้านการมสี ่วนรว่ ม โดยศกึ ษากบั ประชาชนท่ีใชร้ ถใช้ ถนนในพนื้ ทีจ่ งั หวัดสระบุรี จาแนกตามเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา เพ่ือนาผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ าก การศกึ ษาในครงั้ นี้ ไปเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรงุ หรือการประยุกตเ์ ปลยี่ นแปลงในเร่อื งท่ี เกยี่ วกับการปฏบิ ตั งิ านของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรือน เพือ่ ตอบสนองความต้องการของประชาชน เพิ่มมากยิ่งขน้ึ รวมท้งั ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละประสทิ ธิผลเพิ่มมากยง่ิ ขึน้ 5. วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา การศึกษาในครง้ั น้ี มีวตั ถุประสงค์ดงั ตอ่ ไปนี้คอื 5.1 เพอื่ ศกึ ษาประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมัครป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ( อปพร. ) ในการปฏิบัตงิ านตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะ บนท้อง ถนนในพื้นท่จี ังหวดั สระบุรี 5.2 เพื่อเปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น ในเขตเทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล และองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล ในการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1ร. กรณศี ึกษาประชาชนที่ใชย้ านพาหนะบนท้องถนนในพน้ื ทีจ่ ังหวดั สระบุรี จาแนกตามดา้ นการให้ ความรู้ ด้านการใหบ้ รกิ าร และดา้ นการมีสว่ นรว่ ม

-3- 6. วธิ กี ารและขอบเขตการศึกษา 6.1 วธิ ีการศึกษา ใช้การวิจัยเชงิ ปริมาณสาหรับการศึกษาในคร้งั น้ี โดยเลอื กใชว้ ิธีการ สารวจดว้ ยแบบสอบถามท่สี ร้างขึ้นและไดก้ าหนดขอบเขตของการวิจัยไวด้ งั นีค้ ือ 6.2 ขอบเขตการศกึ ษา 6.2.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่างท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาในคร้งั น้เี ปน็ ประชาชนทใี่ ช้ ยานพาหนะบนท้องถนน ท่อี าศัยอยู่ในพนื้ ท่ีจังหวัดสระบรุ ี 6.2.2 ตัวอยา่ งที่ใช้ศกึ ษาเลอื กจากประชากร โดยวิธกี ารสมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ กลุม่ และใช้ จานวน 384 คน ซงึ่ จานวนน้ไี ดจ้ ากการใชต้ ารางสาเรจ็ รปู ของ Krejcie แ ละ Morgan (สุวิมล ตริ กานนั ท,์ 2548 หนา้ 179) 6.2.3 ระยะเวลาในการศึกษา เร่มิ ต้ังแต่ต้งั แตเ่ ดอื น มกราคม ถึงเดอื น มนี าคม 2557 6.2.4 สถานทศี่ กึ ษาท่ผี วู้ ิจยั ใช้เกบ็ รวบรมขอ้ มลู คอื ประชาชนทีใ่ ชย้ านพาหนะบน ท้องถนนในพ้นื ทจ่ี งั หวัดสระบุรี 6.3 กรอบแนวคดิ ในการศึกษา ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรตาม สถานภาพบุคคล การปฏิบัติงานของ อปพร. ที่มตี อ่ 1. เพศ ประชาชนตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1 ร 2. อายุ แบ่งออกเป็น 3 ดา้ น คอื 3. อาชีพ 1. ด้านความรู้ 4. ระดบั การศกึ ษา 2. ด้านบรกิ าร 3. ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม

-4- 6.4 สมมติฐาน การดาเนนิ งานของอาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น ท่อี ยู่ในเขตเทศบาลเมือง เทศบาล ตาบล และองค์การบริหารสว่ นตาบล ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1ร. กรณศี กึ ษาประชาชนท่ใี ช้ยานพาหนะ บนท้องถนนในพื้นท่จี ังหวดั สระบุรี มีประสิทธผิ ลในท่ีแตกต่างกัน 7. ทฤษฎี แนวความคิด ระเบียบกฎหมาที่ใช้ในการศึกษา 7.1 แนวคิดเก่ียวกับประสทิ ธผิ ล 7.1.1 ความหมายของประสิทธิผล 7.1.2 เกณฑ์การวัดประสิทธิผลขององค์กรหรือหน่วยงาน 7.2 ระบาดวทิ ยาของอบุ ัตเิ หตุจารจรทางบก 2.1 ปัจจยั เกีย่ วกบั คน 2.2 ปัจจัยเกี่ยวกบั ยานพาหนะ 2.3 ปัจจัยท่ีเกยี่ วข้องกบั ทางและสภาพแวดลอ้ ม 7.3 ความสญู เสียจากอุบัติเหตจุ ราจรทางบก 7.3.1 ความสญู เสยี โดยตรง 7.3.2 ความสญู เสยี ทางออ้ ม 7.4 ทฤษฏีท่เี ก่ยี วขอ้ ง 7.4.1 ทฤษฏกี ารมสี ่วนร่วม ของ ปริชาติ วลิ ัยเสถียร และคณะ และวิเชียร วิทยาอุดม 7.4.2 ทฤษฏโี ครงสร้างหน้าท่ี ของสกุล วงษก์ าฬสินธ.ุ์ 7.5 อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน ตามพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณ ภยั พ.ศ.2550 และตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยกจิ การอาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื นพ.ศ. 2553 7.5.1 แนวคดิ เก่ียวกับการปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรอื น 7.5.2 องค์ประกอบของ อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น 7.6 แนวทางมาตรการปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตบุ นทอ้ งถนน 7.6.1 มาตรการ 3 ม. 7.6.2 มาตรการ 2 ข. 7.6.3 มาตรการ 1 ร. 7.7 งานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ งของ 7.7.1 มณที ิพย์ วรี ะรัตนมณี 7.7.2 อุทัย ลอื ชัย 7.7.3 พชิ ิต ตันตศิ กั ด์ิ

-5- 8. ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ 1. ทาใหก้ รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ทราบถึงประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานของ อาสาสมัครป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี ึกษา ประชาชนที่ใชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนในพนื้ ทจ่ี งั หวัดสระบรุ ี 2. ทาใหก้ รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทราบปญั หาและอปุ สรรคประสิทธิผลใน การดาเนนิ งานของอาสาสมัครปอ้ งกันภัยฝา่ ยพลเรือน ในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนทใี่ ชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนในพ้ืนท่ีจงั หวัดสระบรุ ี 3. นาผลการศึกษาเสนอผู้บรหิ ารองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น เพ่ือพจิ ารณาใช้เป็น แนวทางในการตัดสนิ ใจ พฒั นาประสทิ ธิผลของการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น ใน การปฏิบัตงิ านใหม้ ีประสทิ ธิผลเพมิ่ มากย่ิงข้ึน ความเหน็ ของอาจารย์ท่ปี รกึ ษา ลงชอ่ื ....................................................... ( นายสุนา คนบญุ ) ................................................ นกั ศึกษา นบ.ปภ.ร่นุ ที่ ๑0 ลงชอ่ื ....................................................... ( ดร.ปยิ วฒั น์ ขนษิ ฐบุตร ) อาจารยท์ ี่ปรกึ ษานักศึกษา นบ.ปภ.รุ่นที่ ๑0 อนุมัติ ไมอ่ นุมัติ เน่ืองจาก.......................................................................................... ลงชือ่ ....................................................... ( นางสาวลักขณา มนมิ นากร ) ผ้อู านวยการวทิ ยาลัยปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั