Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 29 - ศกุนตลา ราษฏรอาศัย

29 - ศกุนตลา ราษฏรอาศัย

Published by Hommer ASsa, 2021-05-05 04:14:52

Description: 29 - ศกุนตลา ราษฏรอาศัย

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษา เร่อื ง รปู แบบส่ือสง่ิ พิมพ์ด้านความปลอดภยั ทางถนนมผี ลตอ่ ความพงึ พอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย จัดทาํ โดย นางสาวศกุนตลา ราษฎรอาศยั รหัสประจาํ ตัวนกั ศึกษา 29 เอกสารฉบบั นเี้ ป็นสว่ นหนงึ่ ในการศึกษาอบรม หลกั สตู รนักบริหารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 วิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

กติ ติกรรมประกาศ ผลงานการวิจัย เร่ือง รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีผลต่อความพึง พอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ฉบับน้ี ประสบผลสําเร็จได้ เน่ืองจากผู้วิจัยได้รับ ความอนุเคราะห์และคําปรึกษาเป็นอย่างดีย่ิงจาก อาจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ ขนิษฐบุตร อาจารย์วรชพรเพชรสุวรรณ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา ซึ่งผู้วิจัยรู้สึกซาบซ้ึงในพระคุณเป็นอย่างสูง ที่ทุกท่านได้เสียสละ แรงกาย แรงใจ ในการ ถ่ายทอดความรู้ โดยให้คําแนะนํา ข้อเสนอแนะ แนวทางและวิธีดําเนินการวิจัย อีกทั้งยังช่วยตรวจสอบ เน้ือหา แก้ไข จนเป็นรูปแบบของงานวิจัยที่ถูกต้องสมบูรณ์ ทําให้ผู้วิจัยได้รับความรู้และเกิดความเข้าใจ เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณผู้บังคับบัญชาท่ีได้ให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ศึกษาวิจัยได้มีโอกาส เข้ารับการฝึกอบรมคร้ังน้ี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกๆ คนในครอบครัวที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนและเป็น กําลังใจเสมอมา รวมถึงผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ีโครงการหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ของวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและเพ่ือนนักศึกษาหลักสูตรนัก บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกท่านที่มีส่วนในการให้ ขอ้ มลู เป็นกําลงั ใจ และช่วยเหลือในเรื่องตา่ ง ๆ ในการศึกษาค้นควา้ และจัดทาํ รายงานการวจิ ยั จนประสบ ผลสาํ เรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี และหากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีข้อบกพร่องประการใดปรากฏในรายงานฉบับน้ี ผู้ศกึ ษายนิ ดีน้อมรับนําไปปรับปรงุ แก้ไขต่อไปด้วยความยนิ ดยี ง่ิ ศกนุ ตลา ราษฎรอาศัย

บทสรุปผูบ้ รหิ าร การศกึ ษาวิจยั เรือ่ ง รปู แบบส่ือสิง่ พมิ พ์ด้านความปลอดภยั ทางถนนมีผลต่อความพึงพอใจ ของเจา้ หนา้ ท่ีกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ในครั้งน้ี เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะและความพึงพอใจของ เจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อส่อื ส่งิ พมิ พ์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน จากผลการศึกษา พบว่า เจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับส่ือสิ่งพิมพ์ โดยรู้จักส่ือสิ่งพิมพ์ทุกชนิดประเภทท้ังใบปลิว, แผ่นพับ, โปสเตอร์, คู่มือ รณรงค์, หนังสือพิมพ์ และสติกเกอร์รณรงค์ ประเภทส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีน่าสนใจท่ีสุดในการส่ือข่าวสาร ได้แก่ โปสเตอร์, แผ่นพับ และคู่มือรณรงค์ และให้ความเห็นว่ารูปแบบส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีเหมาะสมที่ใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน ได้แก่ แผ่นพับ และโปสเตอร์ เจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย มีระดับความพึงพอใจต่อด้านการดึงดูดใจ เพื่อให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจในส่ือส่ิงพิมพ์ คือ มี การออกแบบที่มีการดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจถึงเร่ืองการรณรงค์ด้านความปลอดภัย, มีการกําหนดรูปแบบที่ ดงึ ดดู ให้ผรู้ ับสารเข้าใจเปา้ หมายของสือ่ สิ่งพมิ พ์ และมกี ารกําหนดผ้รู ับสาร หรือกลุ่มเป้าหมายอย่างชัดเจน มรี ะดบั ความพงึ พอใจตอ่ ดา้ นการถา่ ยทอดข้อมลู ท่ตี ้องการจะสือ่ สารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกับผู้รับสื่อ คือมีการใช้การออกแบบด้านการนํารูปภาพท่ีมาประกอบสื่อเป็นรูปภาพท่ีเหมาะกับเน้ือหาในการรณรงค์, มีการใช้การออกแบบด้านการจัดองค์ประกอบต่างๆ ของหน้าสื่อได้อย่างเหมาะสมจนทําให้กลุ่มเป้าหมาย เกิดความสนใจ, มีการออกแบบกําหนดการจัดวางตําแหน่งตัวอักษรที่เหมาะสม, มีการถ่ายทอดข้อมูลท่ี ง่ายต่อการอ่านและทําความเข้าใจ และมีการออกแบบกําหนดรูปแบบตัวอักษรท่ีทําให้กลุ่มเป้าหมายเกิด ความสนใจ และมรี ะดบั ความพงึ พอใจต่อด้านการสรา้ งความประทบั ใจทําใหข้ อ้ มลู ท่ีสอื่ สารเปน็ ท่ีจดจํา คือ มีการใชข้ ้อความ หรือบทความท่เี ปน็ ทีน่ ่าจดจําและน่าติดตาม, มีการออกแบบที่โดดเด่นไม่ซ้ําใครจนดึงดูด ใจผูร้ บั สารเกดิ ความจดจําและน่าติดตาม, มีการจดั องค์ประกอบของส่ือจนดึงดูดใจผู้รับสารเกิดความจดจํา และน่าติดตาม และมีการใช้รูปภาพในการสร้างภาพท่ีน่าจดจํา และน่าติดตาม ทั้งน้ีเจ้าหน้าที่กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ยังให้ ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ เช่น การรณรงคด์ ว้ ยส่ือส่ิงพิมพ์ ควรรณรงค์ปลูกจิตสํานึก ต้ังแต่ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับประชาชนทั่วไปให้ตระหนักถึงความสูญเสียท่ีเกิดข้ึน การออกแบบ ควรใช้รูปภาพ ข้อความ ควรเน้นสีสัน และให้มีการรณรงค์อย่างต่อเน่ือง และจริงจัง สื่อสิ่งพิมพ์ท่ีเป็น รูปภาพแบบภาพการ์ตูน หรือมีเร่ืองราวแบบการ์ตูนจะเป็นท่ียอมรับ และสนใจกับบุคลทั่วไป และควร จัดทําสื่อส่ิงพิมพ์รณรงค์ด้านความปลอดภัยให้ครอบคลุมในทุกๆอุบัติภัย การจัดทําส่ือเพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ในเรื่องความปลอดภัยทางถนนควรท่ีจะจัดแยกตามระดับของผู้ที่ต้องการเผยแพร่ เช่น ถ้า จะผลิตส่ือเพ่ือประชาชนทั่วไปควรเป็นเน้ือหาที่เข้าใจได้อย่างง่าย และถ้าจะผลิตสื่อเพ่ือเด็ก และนักเรียน ควรจัดทําเปน็ ฉบับการ์ตนู อีกดว้ ย ในการน้ี ผู้ทําการวิจัยหวังว่าผลท่ีได้รับจากการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อหน่วยงานฝ่ายผลิตสื่อโสตทัศนูปกรณ์และส่ิงพิมพ์ กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ซึ่งจะทําให้เข้าใจ และเข้าถึงในการออกแบบส่ือสิ่งพิมพ์เพื่อการรณรงค์ด้านความ ปลอดภยั ทางถนนในโอกาสตอ่ ไป

สารบญั กิตตกิ รรมประกาศ หน้า บทสรุปผู้บรหิ าร ข สารบญั ตาราง ค บทท่ี 1 บทนํา ช ความสําคญั และท่มี าของปัญหาวจิ ยั 1 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตการศึกษา 2 ประโยชนท์ ใี่ ชใ้ นการศึกษา 3 นิยามศพั ท์ทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 3 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ ง แนวคิดและทฤษฎี ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง 4 กรอบแนวคดิ 12 บทท่ี 3 ระเบยี บวิธวี จิ ัย ประชากร 13 กลุม่ ตวั อย่าง 13 เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 13 การตรวจสอบเคร่อื งมอื 14 องค์ประกอบของแบบสอบถาม 14 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 14 การแปรผลขอ้ มลู 14 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกับระดบั และหน่วยงานของผตู้ อบแบบสอบถาม 16 สว่ นที่ 2 ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ,อาย,ุ ระดับการศกึ ษา,รายได้ 17 ส่วนท่ี 3 ข้อมลู ดา้ นความรแู้ ละความเข้าใจเกี่ยวกบั สือ่ สิ่งพมิ พ์ของผตู้ อบแบบสอบถาม 18 ส่วนที่ 4 ข้อมลู ความพึงพอใจต่อสอ่ื ส่งิ พิมพ์ในด้านการดึงดูดใจเพอ่ื ให้ผูท้ พ่ี บเห็นเกดิ 22 ความสนใจในสื่อส่งิ พิมพ์ท่ใี ชส้ ําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภยั ทางถนน 23 ส่วนที่ 5 ข้อมลู ความพงึ พอใจตอ่ สื่อส่งิ พมิ พ์ในดา้ นการถ่ายทอดขอ้ มูลทต่ี ้องการจะ 25 สอื่ สารอยา่ งชัดเจน และเหมาะสมกบั ผู้รับสอ่ื ในส่ือสิ่งพมิ พท์ ่ใี ช้สําหรับการ รณรงคด์ ้านความปลอดภยั ทางถนน 26 ส่วนท่ี 6 ข้อมลู ความพงึ พอใจตอ่ สอ่ื ส่ิงพิมพท์ ใ่ี ชส้ าํ หรบั การรณรงคด์ ้านความปลอดภัย ทางถนนในด้านการสร้างความประทบั ใจทําใหข้ ้อมูลทส่ี ื่อสารเป็นท่จี ดจํา ส่วนที่ 7 ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ

สารบญั (ต่อ) บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล ข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ 27 สรุปผลการศึกษา 27 ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไปเกีย่ วกบั ระดบั และหนว่ ยงานของผูต้ อบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ข้อมลู ท่ัวไปเก่ียวกับเพศ, อาย,ุ ระดบั การศึกษา และรายได้ สว่ นท่ี 3 ขอ้ มลู ด้านความรู้ และความเข้าใจเก่ยี วกับสื่อส่ิงพิมพ์ 27 ส่วนท่ี 4 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือส่ิงพิมพ์ในด้านการดึงดูดใจเพ่ือให้ผู้ที่พบเห็นเกิด 28 ความสนใจในส่ือสงิ่ พมิ พ์ท่ีใชส้ าํ หรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 28 ส่วนท่ี 5 ข้อมลู ความพึงพอใจต่อสื่อสง่ิ พมิ พใ์ นดา้ นการถ่ายทอดขอ้ มูลที่ตอ้ งการจะ 28 ส่อื สารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกบั ผู้รับสอื่ ในสือ่ สง่ิ พิมพ์ที่ใช้สาํ หรับการ รณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน 28 สว่ นที่ 6 ขอ้ มลู ความพงึ พอใจตอ่ สื่อส่งิ พมิ พท์ ีใ่ ชส้ าํ หรับการรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั 29 ทางถนนในดา้ นการสร้างความประทับใจทําให้ข้อมูลทีส่ ือ่ สารเป็นท่ีจดจาํ 30 ส่วนที่ 7 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ 30 อภปิ รายผล 31 ข้อค้นพบ 32 ข้อเสนอแนะ ขอ้ จาํ กัดของการศกึ ษา 35 บรรณานุกรม 39 ภาคผนวก แบบสอบถาม ประวตั ผิ เู้ ขียน

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 4.1 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม การเปน็ เจ้าหน้าที่ของ 16 ศนู ยป์ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในระดับ 4.2 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม การเป็นเจ้าหน้าท่ีของ 17 ศูนย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยอยู่ในภมู ิภาค 4.3 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ 17 4.4 แสดงจาํ นวนและร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามระดบั ชว่ งอายุ 17 4.5 แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามระดับการศกึ ษา 18 4.6 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามจําแนกตามรายได้ตอ่ เดือน 18 4.7 แสดงจํานวนและรอ้ ยละ เพศจําแนกตามอายุของผตู้ อบแบบสอบถาม 18 4.8 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามการประเภทส่ือส่ิงพิมพ์ 19 ที่นา่ สนใจทสี่ ุดในการสือ่ ขา่ วสาร 4.9 แสดงจาํ นวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามรปู แบบสื่อส่งิ พิมพท์ ่ี 19 เหมาะสมทีใ่ ชส้ ําหรับการรณรงคด์ ้านความปลอดภยั ทางถนน 4.10 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ท่ีเหมาะสมที่ใช้สําหรับ 20 การรณรงคด์ า้ นความปลอดภยั ทางถนน 4.11 แสดงเอายุของผูต้ อบแบบสอบถามทม่ี ีต่อรปู แบบสอื่ สิง่ พมิ พ์ท่ีเหมาะสมท่ีใชส้ ําหรับ 20 การรณรงค์ด้านความปลอดภยั ทางถนน 4.12 แสดงระดบั การศกึ ษาของผูต้ อบแบบสอบถามที่มตี ่อรปู แบบสอื่ สงิ่ พมิ พ์ท่เี หมาะสมที่ 21 ใช้สําหรับการรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน 4.13 แสดงจาํ นวนความถ่ี ร้อยละ และคา่ เฉลีย่ ของผู้ตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับ 22 ความพงึ พอใจต่อ ดา้ นการดึงดูดใจเพ่อื ให้ผทู้ ี่พบเห็นเกิดความสนใจในสอื่ ส่ิงพมิ พ์ 4.14 แสดงจาํ นวนความถี่ ร้อยละ และคา่ เฉลีย่ ของผูต้ อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามระดับ 23 ความพึงพอใจตอ่ ด้านการการถา่ ยทอดข้อมูลที่ตอ้ งการจะส่ือสารอย่างชัดเจน และ เหมาะสมกับผรู้ บั สอ่ื 25 4.15 แสดงจํานวนความถ่ี รอ้ ยละ และคา่ เฉลย่ี ของผู้ตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดบั ความพงึ พอใจตอ่ ดา้ นการสร้างความประทับใจทําใหข้ อ้ มูลท่สี ือ่ สารเปน็ ทีจ่ ดจํา

บทที่ 1 บทนํา ความสาํ คญั และทีม่ าของปัญหาวิจัย อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุสําคัญในลําดับต้นๆ ของการบาดเจ็บ และการเสียชีวิตของ ประชาชน รวมทั้งทําให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ และสังคม รัฐต้องสูญเสียงบประมาณ ในการเยียวยา และแก้ปัญหาในแต่ละปีเป็นจํานวนมาก ประเทศไทยเป็นประเทศหน่ึงที่มีนักท่องเท่ียว ที่เดินทางโดยทางรถยนต์เป็นจํานวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเทศกาลต่างๆ ในของทุกปี และมีสถติ ิการเกิดอบุ ตั เิ หตใุ นลาํ ดับค่อนขา้ งสูงมากขนึ้ ทุกปี การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนเป็นภารกิจที่รัฐบาลให้ความสําคัญ และรัฐบาลในหลายสมยั ได้มกี ารแต่งตงั้ คณะกรรมการ ศูนย์อาํ นวยการความปลอดภัยทางถนนข้ึน โดยมี รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้อํานวยการศูนย์ฯ ดังกล่าว และมอบหมายให้อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร เร่ิมตน้ ตัง้ แต่ปพี ทุ ธศักราช 2546 โดยมีบูรณาการ การทํางานด้าน ความปลอดภัยทางถนนของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคองค์กรทางสังคม และ นักวิชาการ โดยมียุทธศาสตร์ในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ใน 5 ด้าน หรือเรียกว่า 5E ประกอบด้วย ด้านการบังคับใช้กฎหมาย ด้านวิศวกรรมจราจร ด้านการให้ความรู้ การประชาสัมพันธ์และ การมีส่วนร่วม ด้านการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ด้านการประเมินผล ระบบสารสนเทศและวิชาการ หน่วยงานทุกระดับของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงมีส่วนร่วมรับผิดชอบในภารกิจดังกล่าวภายใต้ กรอบแผนยุทธศาสตร์ ตามอํานาจหน้าที่ของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ บรรลุผลสัมฤทธิ์ในการ ลดอุบัติเหตทุ างถนนดังกล่าว ยุทธศาสตร์ด้านการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม เป็นส่วนหน่ึงของยุทธศาสตร์ใน 5 ดา้ น เป็นกระบวนการด้านการให้ความรู้ และเปน็ กระบวนการท่จี ะสรา้ งความร่วมมือในการทํากิจกรรม อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เพือ่ นาํ ไปสู่การยอมรับในวิธีปฏิบัติ ให้แพร่กระจายออกไปอย่างกว้างขวาง และต่อเน่ือง โดยวิธีการ ดังกล่าวต้องอาศัยการใช้ส่ือต่างๆ อย่างหลากหลาย โดยมีจุดมุ่งหมายสําคัญ คือ การเปล่ียน ทัศนคตแิ ละพฤตกิ รรมของบคุ คลในสงั คม การเลอื กใชก้ จิ กรรมและสื่อต่างๆ ทางการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ปลุกจิตสํานึก โน้มน้าวให้เห็นด้วย คล้อยตาม เกิดความร่วมมือร่วมใจกัน ปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม สื่อสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน จึงเป็นหน่ึงในกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ด้านการ ประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน เพ่ือรณรงค์ให้ ประชาชนผู้ใช้รถยนต์ และยานพาหนะอ่ืนๆ มีความความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักถึงปัญหา และ สร้างจิตสํานึกในการป้องกัน และแก้ไขอุบัติเหตุทางถนน เพ่ือบรรลุเป้าหมายตามกรอบ ปฏิญญามอสโก กล่าวคือ ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนตํ่ากว่า 10 คนต่อประชากรหน่ึงแสนคนในปี พ.ศ. 2563 ดังนั้นผู้ทําวิจัยจึงทําการศึกษาเร่ือง รูปแบบส่ือส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีผล ต่อความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพ่ือให้ฝ่ายท่ีเก่ียวข้องนําผลไปใช้ใน การออกแบบสื่อประชาสมั พันธแ์ ละการมีส่วนร่วม ในการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาอบุ ตั เิ หตทุ างถนน วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา

การศกึ ษาในครง้ั น้ี มวี ตั ถปุ ระสงค์ดงั ต่อไปนีค้ ือ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อสื่อสิง่ พิมพ์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน 2. เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะ และความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยตอ่ ส่ือสง่ิ พิมพด์ ้านความปลอดภยั ทางถนน ขอบเขตการศึกษา ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณสําหรับการศึกษาในครั้งน้ี โดยเลือกใช้วิธีการสํารวจด้วย แบบสอบถามทีส่ ร้างขึน้ และไดก้ าํ หนดขอบเขตของการวิจยั ไวด้ งั น้ีคือ 1. ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็น เจ้าหน้าที่ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 2. ตัวอย่างท่ีใช้ศึกษาเลือกจากประชากร โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) จากนักศึกษาหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 และใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จํานวน 49 ราย ที่ระดับความ เชื่อมน่ั ร้อยละ ๙๕ และระดบั ความคลาดเคล่ือนไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 5 3. ตัวแปรทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการศกึ ษา ประกอบดว้ ย 3.1 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ี กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตอ่ ส่ือสิ่งพิมพด์ ้านความปลอดภัยทางถนน 3.1.1 ความพึงพอใจในด้านดึงดดู ใจให้ผู้ทพ่ี บเหน็ เกิดความสนใจในสื่อสงิ่ พิมพ์ 3.1.2 ความพึงพอใจในด้านถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะส่ือสารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกับผรู้ ับสอ่ื 3.1.3 ความพึงพอใจในด้านการสร้างความประทับใจ ทําให้ข้อมูลที่ส่ือสารเป็น ทจ่ี ดจํา 3.2 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) ไดแ้ ก่ เพศ, อาชพี มาตรวัดมาตราอนั ดบั (Ordinal Scale) ไดแ้ ก่ อาย,ุ ระดับการศกึ ษา เปน็ ต้น 4. สถานท่ีศึกษาท่ผี วู้ ิจยั ใชเ้ กบ็ รวบรมข้อมลู คือ บริเวณวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ตาํ บลบางพูน อาํ เภอเมอื งปทมุ ธานี จังหวดั ปทุมธานี 5. ระยะเวลาในการศึกษา เร่ิมตงั้ แต่ 7 มกราคม ถงึ 10 เมษายน 2557 ประโยชน์ที่ใชใ้ นการศึกษา ผลจากการศกึ ษามีประโยชนต์ อ่ ฝ่ายทีเ่ กยี่ วข้องดงั นี้ คือ 1. ได้ทราบถึงความพึงพอใจของของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อ ส่ือสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน และทราบข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพ่ือจะได้นําไป ปรับปรุงแก้ไขสอ่ื สงิ่ พิมพด์ ้านความปลอดภัยทางถนนต่อไป 2. นําผลการศึกษาท่ีได้เสนอผู้บริหารเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการพัฒนา ต่อส่อื สิง่ พมิ พ์ดา้ นความปลอดภัยทางถนน

นยิ ามศัพท์ คาํ นิยามศัพท์เฉพาะในการศกึ ษาในครั้งนี้ ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีบรรเทาสา ธารณภัยในระดับเขต และจังหวัด ภายใต้กํากับของกรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ส่ือส่ิงพิมพ์ หมายถึง เอกสารท่ีใช้ประกอบยุทธศาสตร์ด้านการประชาสัมพันธ์และการมี ส่วนร่วมเป็นกระบวนการด้านการให้ความรู้ และเป็นกระบวนการท่ีจะสร้างความร่วมมือ ในการทํากิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนงึ่ อาทเิ ชน่ ใบปลวิ แผ่นพบั โปสเตอร์ ฯลฯ เป็นตน้

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง บทนี้เป็นการนําเสนอ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรของการศึกษาซ่ึง ผู้วิจัยได้ทําการสืบค้น จากเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยจากแหล่งต่างๆ โดยแบ่งเนื้อหาของบทน้ีเป็น 2 สว่ น คอื 1. แนวคิดและทฤษฎีเกยี่ วกับตวั แปรเร่อื งความพงึ พอใจ (Satisfaction) 2. แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกับตัวแปรเรอ่ื งการออกแบบส่อื สิ่งพิมพ์ (The Media Design) รายละเอียดในแต่ละส่วนทก่ี ลา่ วมาขา้ งต้น มีสาระสาํ คัญดังนี้ แนวคิดและทฤษฎีเร่ือง ความพึงพอใจ (Satisfaction) ได้มีผู้ให้ความหมายของความพึง พอใจไว้หลายความหมาย ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า พึงพอใจ หมายถึง รกั ชอบใจ และพึงใจ หมายถงึ พอใจ ชอบใจ (พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตสถาน., 2542) ทฤษฎีเกย่ี วกับความพึงพอใจ Philip Kotler and Armstrong อ้างจาก ธนวรรณ แสงสุวรรณ และคณะ (2547) รายงานว่า พฤติกรรมของมนุษย์เกิดข้ึนต้องมีสิ่งจูงใจ (Motive) หรือแรงขับดัน (Drive) เป็นความต้องการ ที่กดดันจนมากพอที่จะจูงใจให้บุคคลเกิดพฤติกรรมเพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเอง ซึ่งความต้องการของ แต่ละคนไม่เหมือนกัน ความต้องการบางอย่างเป็นความต้องการทางชีววิทยา (Biological) เกิดข้ึนจาก สภาวะตึงเครียด เช่น ความหิวกระหายหรือความลําบากบางอย่าง เป็นความต้องการ ทางจิตวิทยา (Psychological) เกิดจากความต้องการการยอมรับ (Recognition) การยกย่อง (Esteem) หรือการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (belonging) ความต้องการส่วนใหญ่อาจไม่มากพอที่จะ จูงใจให้บุคคลกระทําในช่วงเวลานั้น ความต้องการกลายเป็นส่ิงจูงใจ เม่ือได้รับการกระตุ้น อย่างเพียงพอจนเกิดความตึงเครียด โดยทฤษฎีท่ีได้รับความนิยมมากท่ีสุด มี 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของอับ ราฮมั มาสโลว์ และทฤษฎีของซกิ มันด์ ฟรอยด์ 1. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation) อับราฮัม มาสโลว์ (A.H. Maslow) อ้างจาก สุวรรณา สินธ์สุวรรณ และคณะ (2549) ค้นหาวิธีที่จะอธิบายว่าทําไมคนจึงถูก ผลักดันโดยความต้องการบางอย่าง ณ เวลาหน่ึง ทําไมคนหน่ึงจึงทุ่มเทเวลาและพลังงานอย่างมากเพ่ือให้ ได้มาซ่ึงความปลอดภัยของตนเอง แต่อีกคนหนึ่งกลับทําส่ิงเหล่าน้ัน เพ่ือให้ได้รับการยกย่องนับถือจาก ผู้อ่ืน คําตอบของมาสโลว์ คือ ความต้องการของมนุษย์จะถูกเรียงตามลําดับจากสิ่งท่ีกดดันมากที่สุดไปถึง น้อยทส่ี ุด ทฤษฎีของมาสโลว์ไดจ้ ัดลาํ ดับความตอ้ งการตามความสาํ คญั คอื 1.1 ความต้องการทางกาย (Physiological needs) เป็นความต้องการพ้ืนฐาน คือ อาหาร ทพ่ี กั อากาศ ยารักษาโรค 1.2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) เป็นความต้องการ ที่เหนอื กว่า ความตอ้ งการเพื่อความอยู่รอด เปน็ ความต้องการในดา้ นความปลอดภยั จากอนั ตราย 1.3 ความต้องการทางสังคม (Social needs) เป็นการต้องการการยอมรับจาก เพ่อื น

1.4 ความต้องการการยกย่อง (Esteem needs) เป็นความต้องการการยกย่อง ส่วนตวั ความนบั ถอื และสถานะทางสงั คม 1.5 ความต้องการให้ตนประสบความสําเร็จ (Self – Actualization needs) เป็น ความต้องการสงู สดุ ของแต่ละบุคคล ความตอ้ งการทําทุกสง่ิ ทุกอยา่ งไดส้ าํ เร็จ บคุ คลพยายามทส่ี รา้ งความพึงพอใจให้กับความต้องการท่ีสําคัญท่ีสุดเป็นอันดับแรกก่อน เม่ือความต้องการนั้นได้รับความพึงพอใจ ความต้องการนั้นก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคล พยายามสร้างความพึงพอใจให้กับความต้องการท่ีสําคัญท่ีสุดลําดับต่อไป ตัวอย่างเช่น คนท่ีอดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไม่สนใจต่องานศิลปะชิ้นล่าสุด (ความต้องการสูงสุด) หรือไม่ต้องการยกย่อง จากผู้อ่ืน หรือไม่ต้องการแม้แต่อากาศท่ีบริสุทธิ์ (ความปลอดภัย) แต่เม่ือความต้องการแต่ละขั้นได้รับ ความพึงพอใจแลว้ ก็จะมคี วามตอ้ งการในขนั้ ลาํ ดบั ต่อไป 2. ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด์ ซิกมันด์ ฟรอยด์ (S. M. Freud) อ้างจาก สุวรรณา สินธส์ วุ รรณ และคณะ (2549) ต้ังสมมตุ ฐิ านว่าบุคคลมักไมร่ ตู้ ัวมากนักว่าพลังทางจติ วิทยา มสี ว่ นช่วยสร้าง ให้เกิดพฤติกรรม ฟรอยด์พบว่าบุคคลเพิ่ม และควบคุมสิ่งเร้าหลายอย่าง ส่ิงเร้าเหล่านี้อยู่นอกเหนือการ ควบคุมอย่างส้ินเชิง บุคคลจึงมีความฝัน พูดคําท่ีไม่ต้ังใจพูด มีอารมณ์อยู่เหนือเหตุผลและมีพฤติกรรม หลอกหลอนหรือเกดิ อาการวิตกจริตอยา่ งมาก ฉัตรชัย พงษ์พิจิตร (2535) กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกหรือทัศนคติของ บุคคลท่ีมีต่อสิ่งหน่ึงหรือปัจจัยต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะเกิดข้ึนเม่ือความต้องการของบุคคล ได้รับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึกดังกล่าวจะลดลงหรือไม่เกิดขึ้น หาก ความต้องการหรือจดุ มุ่งหมายน้นั ไม่ไดร้ บั การตอบสนอง ชาริณี กววี ุฒิการ (2536) ได้เสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไวว้ ่า บคุ คลพอใจจะ กระทําส่ิงใดๆ ที่ให้มีความสุขและจะหลีกเลี่ยงไม่กระทําในสิ่งท่ีเขาจะได้รับความทุกข์หรือ ความยากลาํ บาก โดยอาจแบง่ ประเภทความพอใจกรณนี ้ีได้ ๓ ประเภท คือ 1. ความพอใจด้านจิตวิทยา (Psychological hedonism) เป็นทรรศนะของความ พึงพอใจวา่ มนษุ ย์โดยธรรมชาติจะมีความแสวงหาความสขุ สว่ นตัวหรอื หลกี เลยี่ งจากความทกุ ขใ์ ดๆ 2. ความพอใจเก่ียวกับตนเอง (Egoistic hedonism) เป็นทรรศนะของความพอใจ ว่ามนุษย์จะพยายามแสวงหาความสุขส่วนตัว แต่ไม่จําเป็นว่าการแสวงหาความสุขต้องเป็นธรรมชาติของ มนุษยเ์ สมอไป 3. ความพอใจเก่ียวกับจริยธรรม (Ethical hedonism) ทรรศนะนี้ถือว่ามนุษย์ แสวงหาความสุขเพ่ือผลประโยชน์ของมวลมนุษย์หรือสังคมท่ีตนเป็นสมาชิกอยู่และเป็นผู้ได้รับ ผลประโยชน์ผูห้ นง่ึ ดว้ ย ดิเรก รัตน์สุข (2538) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลท่ีมี ต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เป็นความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีต่องานที่ทําของบุคคลท่ีมีต่องานในทางบวก ความสุขของ บุคคลอันเกดิ จากการปฏิบัติงานและได้รับผลเป็นที่พึงพอใจ ทําให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้น มีความสุข ความมุ่งมั่นท่ีจะทํางาน มีขวัญและมีกําลังใจ มีความผูกพันกับหน่วยงาน มีความภาคภูมิใจในความสําเร็จ ของงานท่ีทํา และส่ิงเหล่าน้ีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานส่งผลต่อถึง ความกา้ วหนา้ และความสําเรจ็ ขององค์การอีกด้วย สง่า จาตุรกรณ์ (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึงความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนเมื่อได้รับ ผลสาํ เร็จตามความมุง่ หมายหรอื เป็นความร้สู ึกขั้นสดุ ทา้ ยทไ่ี ด้รบั ผลสําเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์

วิรุฬ คชมาศ (2542) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษย์ที่ไม่ เหมือนกัน ข้ึนอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะมีความคาดหมายกับส่ิงหนึ่งส่ิงใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือ มีความต้ังใจมากและได้รับการตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้าม อาจผดิ หวงั หรอื ไม่พึงพอใจเปน็ อย่างยงิ่ เมอื่ ไม่ได้รับการตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ทัง้ นขี้ นึ้ อยกู่ ับส่ิงทตี่ ้ังใจ ไว้วา่ จะมีมากหรอื นอ้ ย นภารัตน์ ดวงคําดี (2544) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกทางบวกความรู้สึกทาง ลบและความสุขที่มีความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน โดยความพึงพอใจจะเกิดข้ึนเมื่อความรู้สึกทางบวก มากกว่าทางลบ กาญจนา สุรวัฒน์ (2546) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์เป็นการแสดงออก ทางพฤติกรรมที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปร่างได้ การท่ีเราจะทราบว่าบุคคลมีความ พึงพอใจหรือไม่ สามารถสังเกตโดยการแสดงออกท่ีค่อนข้างสลับซับซ้อนและต้องมีสิ่งเร้าท่ีตรง ต่อความต้องการของบุคคล จึงจะทําให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นการส่ิงเร้าจึงเป็นแรงจูงใจของ บคุ คลน้นั ใหเ้ กิดความพึงพอใจในงานน้ัน จากการตรวจเอกสารข้างต้นสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกท่ีดีหรือ ทศั นคติท่ดี ขี องบคุ คล ซง่ึ มักเกิดจากการได้รับการตอบสนองตามที่ตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อส่ิง นัน้ ตรงกนั ข้ามหากความต้องการของตนไม่ไดร้ บั การตอบสนองความไมพ่ งึ พอใจกจ็ ะเกดิ ขึ้น แนวคิดเก่ียวกบั ความพงึ พอใจ ปรียากร สมบูรณา (2535) ได้มีการสรุปว่า ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่ใช้เป็นเคร่ืองมือ บ่งช้ีถงึ ปญั หาทเ่ี กยี่ วกบั ความพงึ พอใจในการทํางานนั้นมี 3 ประการ คือ 1. ปัจจัยด้านบุคคล (Personal factors) หมายถึง คุณลักษณะส่วนตัวของบุคคล ที่เก่ียวขอ้ งกับงาน ได้แก่ ประสบการณ์ในการทํางาน เพศ จํานวนสมาชิกในความรับผิดชอบ อายุ เวลาใน การทํางาน การศกึ ษา เงนิ เดอื น ความสนใจ เป็นต้น 2. ปัจจัยด้านงาน (Factor in the Job) ได้แก่ ลักษณะของงาน ทักษะในการทํางาน ฐานะ ทางวชิ าชีพ ขนาดของหน่วยงาน ความหา่ งไกลของบา้ นและที่ทาํ งาน สภาพทางภมู ิศาสตร์ เปน็ ตน้ 3. ปัจจัยด้านการจัดการ (Factors controllable by management) ได้แก่ ความ มั่นคงในงานรายรับ ผลประโยชน์ โอกาสก้าวหน้า อํานาจตามตําแหน่งหน้าท่ี สภาพการทํางาน เพื่อน ร่วมงาน ความรบั ผดิ การสือ่ สารกบั ผู้บังคบั บัญชา ความศรทั ธาในตัวผบู้ รหิ าร การนเิ ทศงาน เป็นตน้ Shelly อ้างโดย ประกายดาว พรหมศรี (2536) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความ พึงพอใจ ว่าความพึงพอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึก ทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็นความรู้สึกที่เกิดข้ึนแล้วจะทําให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึก ที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวกอ่ืนๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกท่ีมีระบบย้อนกลับความสุขสามารถ ทําให้เกิดความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นจะเห็นได้ว่าความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและ ความสุขนจี้ ะมีผลตอ่ บุคคลมากกวา่ ความร้สู กึ ในทางบวกอ่นื ๆ วิชัย พรหมทองศรี (2536) กล่าวว่า แนวคิดความพึงพอใจ มีส่วนเก่ียวข้องกับความ ต้องการของมนุษย์ กล่าวคือ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อความต้องการของมนุษย์ได้รับการ ตอบสนอง ซึง่ มนุษยไ์ ม่วา่ อยใู่ นที่ใดยอ่ มมีความต้องการขนั้ พ้นื ฐานไมต่ ่างกนั

พิทกั ษ์ ชมทอง (2538) กลา่ ววา่ ความพงึ พอใจเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าด้านความรสู้ กึ ต่อสิ่งเร้าหรือ ส่ิงกระตุ้นที่แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สุดท้ายของกระบวนการประเมิน โดยบ่งบอกทิศทาง ของผลการประเมินว่าเป็นไปในลักษณะทิศทางบวกหรือทิศทางลบหรือไม่มีปฏิกิริยาคือเฉยๆ ต่อสิ่งเร้า หรือสิ่งที่มากระต้นุ สุเทพ เทพกรณ์ (2541) ได้สรุปว่า ส่ิงจูงใจท่ีใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นให้บุคคลเกิดความ พงึ พอใจ มีด้วยกนั 4 ประการ คือ 1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ (Material inducement) ได้แก่ เงิน ส่ิงของ หรือสภาวะทางกาย ทใ่ี ห้แก่ผูป้ ระกอบกจิ กรรมต่างๆ 2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (Desirable physical condition ) คือ สิ่งแวดล้อมใน การประกอบกิจกรรมตา่ งๆ ซึ่งเปน็ ส่งิ สาํ คัญอย่างหนงึ่ อันกอ่ ให้เกดิ ความสุขทางกาย 3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (Ideal benefaction) หมายถึง สิ่งต่างๆท่ีสนองความ ต้องการของบุคคล 4. ผลประโยชน์ทางสงั คม (Association attractiveness) หมายถึง ความสัมพันธ์ฉันท์ มิตรกับผู้ร่วมกิจกรรม อันจะทําให้เกิดความผูกพัน ความพึงพอใจและสภาพการร่วมกัน อันเป็นความพึง พอใจของบุคคลในด้านสังคมหรือความม่ันคงในสังคม ซ่ึงจะทําให้รู้สึกมีหลักประกันและมีความมั่นคงใน การประกอบกจิ กรรม แนวคิดและทฤษฎีเร่ืองการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (The Media Design) ได้มีผู้ให้ ความหมายของแนวคดิ และความสําคัญของการออกแบบส่อื สิง่ พิมพ์ไว้หลายความหมาย ดงั นี้ แนวคิดและความสําคัญของการออกแบบสอ่ื สิง่ พมิ พ์ การออกแบบส่อื สิง่ พิมพ์ (The Media Design) หมายถึง การประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางด้าน ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ร ข ศิ ล ป์ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ลั พธ์ ท่ี เ ป็ น ค ว า ม ส ม ดุ ล ร ะห ว่ า ง ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ช้ ส อ ย คือการบรรจุ และถ่ายทอดเน้ือหาได้ ครบถ้วน ถูกต้อง กับความสวยงามน่าสนใจ และน่าจดจํา ตัวอย่างเช่น โปสเตอร์ท่ีมีการใช้ ภาพ รูปร่าง และสีสันท่ีดึงดูดใจผู้ท่ีเดินผ่านไปมาอยากเข้ามาแวะดู และ เมอ่ื เขา้ มาดแู ล้วผ้ดู ูกส็ ามารถรับรู้ และเขา้ ใจเนอ้ื หาทีต่ ้องการจะสิอสารได้ในเวลาอนั รวดเร็ว เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ ที่เป็นส่วนประสมระหว่างความสมดุลของประโยชน์ใช้สอย และ ความสวยงามในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ จึงมีความจําเป็นท่ีต้องกําหนดแนวทางหรือแนวคิด ในการนําเสนอข้อมูลท่ีจะนํามาพิมพ์ให้แน่นอนเสียก่อน ซ่ึงถือว่าเป็นลําดับแรกของกระบวนการ ในการออกแบบหลังจากทราบความต้องการและวัตถุประสงค์ในการออกแบบผลิตส่ือส่ิงพิมพ์แล้ว แนวทางในที่นี้หมายถึง ความคิดรวบยอดที่บ่งบอกแก่นสารสาระท่ีสําคัญที่สุด รวมทั้งบุคคลิกภาพ ท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของส่ือสิ่งพิมพ์นั้น จากนั้นผู้ท่ีทําหน้าที่ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์จะต้องสร้างหรือ เลือกองค์ประกอบต่างๆ เช่น จุด รูปร่าง ตัวอักษร ภาพ ฯลฯ แล้วนํามาจัดวางตามหลักการ ทางการออกแบบต่างๆ เช่น ความสมดุล สัดส่วน ลีลา จังหวะ ฯลฯ โดยจะต้องทดลองสร้างสรรค์ แบบร่างขึ้นมาหลายๆ แบบ ก่อนจะตัดสินใจเลือกแบบที่ดี เหมาะสมท่ีสุด เพ่ือนําไปผลิตเป็นส่ือสิ่งพิมพ์ท่ี มคี วามเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ และกล่มุ เปา้ หมายของส่อื สิง่ พิมพน์ นั้ ต่อไป การออกแบบเรขศิลป์ (Graphic Design) หมายถึง การสร้างสรรค์แนวความคิดที่จะ สามารถส่ือสารข้อมูลท่ีต้องการโดยอาศัยการแสดงออกผ่านตัวอักษร และหรือ ภาพ ลงบนพื้นท่ีว่าง (Space) เพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ีชัดเจน มีลักษณะที่ดึงดูดความสนใจ และเม่ือได้พบเห็นแล้วจะเกิดความ ประทับใจหรอื จดจําได้

ความสําคญั ของการออกแบบสือ่ ส่งิ พมิ พ์ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการสื่อสารให้กับเน้ือหาท่ีนํามา พมิ พ์ เพอื่ ให้เกิดผลลพั ธ์เปน็ ข้นั ตอนดงั นี้ 1. ดึงดูดใจเพื่อให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจในสื่อสิ่งพิมพ์ คือจะต้องเริ่มต้นต้ังแต่การ วางแผนจัดทําสื่อสิ่งพิมพ์ โดยจะต้องระบุผู้รับสาร หรือกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นกลุ่มใด มีลักษณะนิสัย รสนิยมอย่างไร นอกจากน้ีต้องกําหนดบุคคลิกภาพซ่ึงเอกลักษณ์ของสื่อสิ่งพิมพ์ ว่าต้องให้มีบุคคลิกภาพ แบบไหน ซงึ่ ขอ้ มลู เหล่านจ้ี ะชว่ ยใหส้ ามารถนําไปดาํ เนินการออกแบบตามขั้นตอนการออกแบบและได้เป็น ผลงานทก่ี ลุ่มเปา้ หมายเกดิ ความรูส้ ึกถูกใจหรือสนใจเมื่อไดพ้ บเห็น 2. ถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกับผู้รับสื่อ คือ เม่อื สามารถใช้การออกแบบดงึ ดูดใจใหก้ ลุ่มเปา้ หมายสนใจในสอื่ สิ่งพิมพไ์ ดแ้ ล้ว การออกแบบที่ถกู ตอ้ งตาม ขั้นตอน โดยมีการเลือกองค์ประกอบ เช่น แบบตัวอักษร ชนิดของภาพ กราฟฟิคท่ีเหมาะสม มาจัดวาง อย่างถูกตอ้ งตามหลกั การออกแบบโดยคํานึงถึงกลุ่มเป้าหมาย จะมีผลทําให้สื่อสิ่งพิมพ์น้ัน ง่ายต่อการอ่าน และทําความเข้าใจ อีกท้ังช่วยลําดับเน้ือหาที่จะนําเสนอให้สามารถติดตามได้ถูกต้องตามลําดับท่ีควรจะ เปน็ ทําใหข้ อ้ มูลที่ไดร้ ับการสื่อสารไปยงั ผูร้ บั สารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. สร้างความประทับใจ ทําให้ข้อมูลท่ีสื่อสารเป็นที่จดจํา คือ ข้อมูลท่ีได้รับการ ส่ือสารไปแล้วน้ัน จะเกิดประโยชน์ต่อเม่ือผู้รับสารจดจําได้ การออกแบบจะนําเสนอข้อมูลตาม บุคคลิกภาพที่ได้กําหนดไว้ ทําให้เกิดผลงานที่มีลักษณะโดดเด่นไม่ซ้ําแบบใคร และกลายเป็นคุณลักษณะ ของส่ือส่ิงพิมพ์น้ันๆที่จะอยู่ในความทรงจําของผู้รับสาร แม้ว่าอ่านส่ือส่ิงพิมพ์น้ันจบไปแล้ว แต่ถ้าผู้รับสาร มคี วามประทับใจในสอ่ื สง่ิ พิมพ์ ยอมจะเกดิ การจดจํา และตดิ ตามสื่อสิ่งพิมพ์น้นั ตอ่ ไป ทั้งน้ีการออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์ ยังมีความสําคัญในแง่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในข้ันตอนการ ผลิตด้วยการออกแบบท่ีมีแผนการดําเนินการที่รอบครอบ จะเกิดความสะดวกในการผลิต ไม่เป็นปัญหา ยุ่งยากต่อผู้ผลิต หรือผู้พิมพ์ อีกทั้งยังทําให้เกิดความรวดเร็วในการจัดทํา เพราะได้กําหนดรายละเอียด ขั้นตอนการดําเนนิ งานไว้ล่วงหน้าแลว้ และช่วยประหยดั งบประมาณที่ใช้ในการผลิต เพราะการออกแบบที่ มีการวางแผนท่ีดีจะช่วยไม่ให้เกิดวัสดุเหลือใช้ เช่นเศษกระดาษท่ีต้องตัดทิ้งไป ถือเป็นการเพิ่ม ประสทิ ธิภาพในการผลติ สือ่ สิ่งพิมพอ์ กี ดว้ ย หลักการออกแบบสื่อสิง่ พิมพ์ ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีพบเห็นโดยทั่วไปประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญหลายอย่าง ได้แก่ ตัวอักษรหรือข้อความ ภาพประกอบ เนอ้ื ท่ีวา่ งและสว่ นประกอบอ่ืน การออกแบบสิง่ พมิ พต์ อ้ งคาํ นึงถึงการ จดั วางองคป์ ระกอบตา่ งๆ ดงั กล่าวเขา้ ด้วยกันโดยใชห้ ลักการดังน้ี 1. ทิศทางการ และการเคล่ือนไหว (Direction & Movement) เม่ือผู้รับสารมองดูส่ือ ส่ิงพิมพ์ การรับรู้เกิดขึ้นเป็นลําดับตามการมองเห็น กล่าวคือ เกิดข้ึนตามการกวาดสายตา จากองค์ประกอบหนึ่ง ไปยังอีกองค์ประกอบหน่ึง จึงมีความจําเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการดําเนินการ วางแผน กําหนดและชักจูงสายตาของผู้รับสารให้เคลื่อนไหวไปในทิศทางท่ีถูกต้อง ตามลําดับ ของ องค์ประกอบท่ีต้องการให้รับรู้ก่อนหลัง โดยท่ัวไปหากไม่มีการสร้างจุดเด่นขึ้นมา สายตาของผู้รับสารจะ มองดูหน้ากระดาษที่เป็นส่ือพิมพ์ในทิศทางของตัวอักษรซี (Z) ในภาษาอังกฤษ คือ จะเร่ิมมองท่ีมุมบน ด้านขวาแล้วไล่ลงมายังมุมล่างด้านซ้ายไปจบท่ีมุมล่างด้านขวาตามลําดับ การจัดองค์ประกอบที่สอดคล้อง กับธรรมชาตขิ องการมองน้ี เปน็ สว่ นช่วยใหเ้ กิดการรบั ร้ตู ามลําดบั ที่ตอ้ งการ

2. เอกภาพและความกลมกลืน (Unity & Harmony) เอกภาพคือความเป็นอันหน่ึงอัน เดียวกัน ซ่ึงในการจัดทําเลย์เอาต์หมายถึงการนําเอาองค์ประกอบท่ีแตกต่างกันมาวางไว้ ในพ้ืนท่ีหน้ากระดาษเดียวกันได้อย่างกลมกลืน ทําหน้าท่ีสอดคล้องและส่งเสริมกันและกันในการส่ือสาร ความคิดรวบยอดและบุคลิกภาพของส่ือสงิ่ พิมพ์น้นั ๆ การสร้างเอกภาพนีส้ ามารถทาไดห้ ลายวิธี เชน่ 2.1 การเลอื กใช้องค์ประกอบอยา่ งสม่าเสมอ เช่น การเลือกใช้แบบตัวอักษรเดียวกัน การเลอื กใช้ภาพขาวดาํ ทั้งหมด เปน็ ตน้ 2.2 การสร้างความต่อเน่ืองกันให้องค์ประกอบ องค์ประกอบ เช่น การจัดให้พาดหัว วางทับลงบนภาพ การใชต้ ัวอักษรท่เี ปน็ ขอ้ ความ ล้อตามทรวดทรง ของภาพ เป็นต้น 2.3 การเว้นพื้นท่ีว่างรอบองค์ประกอบทั้งหมด ซึ่งจะทําให้พ้ืนที่ว่างน้ัน ทําหน้าท่ีเหมือนกรอบสีขาวล้อมรอบองค์ประกอบท้ังหมดไว้ภายในช่วยให้องค์ ประกอบท้ังหมดดู เหมือนวา่ อยกู่ นั อยา่ งเป็นกลุม่ เปน็ กอ้ น 3. ความสมดุล (Balance) หลักการเรื่องความสมดุลนี้เป็นการตอบสนองธรรมชาติของ ผูร้ ับสารในเรอ่ื งของแรงโนม้ ถว่ ง โดยการจดั วางองค์ประกอบทั้งหมดในพื้นที่หน้ากระดาษ จะต้องไม่ขัดกับ ความรู้สึกน้ี คือจะต้องไม่ดูเอนเอียงหรือหนักไปด้านใดด้านหน่ึง โดยไม่มีองค์ประกอบมาถ่วงในอีกด้าน การจัดองคป์ ระกอบให้เกิดความสมดลุ แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ คอื 3.1 สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยให้ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ใ น ด้ า น ซ้ า ย แ ล ะ ด้ า น ข ว า ข อ ง พื้ น ที่ ห น้ า ก ร ะ ด า ษ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ห มื อ น กั น ทั้ ง ส อ ง ข้ า ง ซง่ึ องค์ประกอบ ทเ่ี หมอื นกนั ใน แตล่ ะดา้ นนีจ้ ะถว่ งน้าํ หนักกนั และกนั ใหเ้ กิดความรสู้ ึกสมดุล 3.2 สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) เป็นการจัดวางองค์ ประกอบโดย ให้ องค์ ประกอบในด้ านซ้ ายและด้ านขวาของพ้ื นท่ี หน้ ากระดาษมี ลั กษณะไม่ เหมื อนกั น ท้ังสองข้าง แม้องคป์ ระกอบจะไม่เหมอื นกนั ในแต่ละดา้ น แต่ก็จะถ่วงนา้ํ หนกั กันและกนั ใหเ้ กดิ ความสมดุล 3.3 สมดุลแบบรัศมี (Radial Balance) เป็นการจัดวางองค์ประกอบ โดยให้ องคป์ ระกอบแผไ่ ปทุกทศิ ทุกทางจากจดุ ศนู ยก์ ลาง 4. สัดส่วน (Proportion) การกําหนดสัดส่วนน้ีเป็นการกําหนดความสัมพันธ์ ในเรื่องของขนาด ซึ่งมีความสําคัญโดยเฉพาะในหน้ากระดาษของสื่อส่ิงพิมพ์ท่ีต้องการให้มีจุดเด่น เช่น หน้าปกหนังสือ เป็นต้น เพราะองค์ประกอบที่มีสัดส่วนแตกต่างกันจะดึงดูดสายตาได้ดีกว่าการใช้ องค์ประกอบท้ังหมดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ในการกําหนดสัดส่วนจึงต้องพิจารณาองค์ประกอบทั้งหมด ในพ้ืนที่หน้ากระดาษไปพร้อมๆ กัน ว่าควรจะเพ่ิม หรือลดองค์ประกอบใด ไม่ใช่ค่อยๆ ทําไป ทีละองค์ประกอบ 5. ความแตกต่าง (Contrast) เป็นวิธีการที่ง่ายท่ีสุด โดยการเน้นให้องค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งเด่นขึ้นมาด้วยการเพิ่มขนาดให้ใหญ่กว่าองค์ประกอบอื่นๆ โดยรอบเช่น พาดหัวขนาด ใหญ่ เปน็ ตน้ ซ่งึ โดยธรรมชาติแล้วผดู้ ูจะเลอื กมองดูองคป์ ระกอบทใ่ี หญก่ ว่าก่อน 5.1 ความแตกต่างโดยขนาด เป็นวิธีการที่ง่ายท่ีสุด โดยการเน้นให้องค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่ง เด่นขึ้นมาด้วย การเพิ่มขนาดให้ใหญ่กว่าองค์ประกอบอื่นๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เปน็ ต้น ซึง่ โดยธรรมชาติแลว้ ผ้ดู ูจะเลอื กมองดอู งค์ประกอบที่ใหญก่ วา่ ก่อน 5.2 ความแตกต่างโดยรูปร่างเป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหน่ึงเด่น ขึ้นมาด้วยการใช้รูปร่างที่แตกต่างออกไปจากองค์ประกอบอ่ืนในหน้ากระดาษ เช่น การไดคัตภาพคนตาม รูปรา่ งของรา่ งกายแลว้ นําไปวางในหนา้ กระดาษทม่ี ีภาพแทรกเล็กๆ ท่อี ย่ใู นกรอบสเ่ี หล่ียม เปน็ ต้น

5.3 ความแตกต่างโดยความเข้มเป็นวิธีการที่เน้นให้องค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งเด่นข้ึนมาด้วยการใช้เพ่ิมหรือลดความเข้มหรือนํ้าหนักขององค์ประกอบน้ันให้เข้มหรือ อ่อนกว่าองค์ประกอบอื่นท่ีอยู่ร่วมกันในหน้ากระดาษ เช่นการใช้ตัวอักษรท่ีเป็นตัวหนาในย่อหน้า ท่ตี อ้ งการเน้นเพียงย่อหน้าเดียวในหน้ากระดาษ เป็นตน้ 5.4 ความแตกต่างโดยทิศทาง ทิศทางเป็นวิธีการที่เน้นให้องค์ประกอบใด องค์ประกอบหน่ึงเด่นขึ้นมาด้วยการวางองค์ประกอบท่ี ต้องการจะเน้นน้ันให้อยู่ในทิศทางท่ีแตกต่างจาก องค์ประกอบอ่ืนๆ ท่ีอยู่ร่วมกันในหน้ากระดาษ เช่น การวางภาพเอียง ๔๕ องศา ในหน้ากระดาษที่เต็มไป ด้วยตัวอกั ษรท่เี รียงเป็นแนวนอน เป็นต้น 6. จังหวะลีลา และการซํ้า (Rhythm & Repetition) การจัดวางองค์ประกอบหลายๆ ชิ้น โดยกําหนดตําแหน่งขององค์ประกอบให้เกิดมีช่องว่างเป็นช่วงๆ ตอนๆ อย่างมีการวางแผนล่วงหน้า จะทําให้ เกิดจังหวะและลีลาขึ้น และหากว่าองค์ประกอบหลายๆ ชิ้นน้ันมีลักษณะซํ้ากันหรือใกล้เคียงกัน ก็จะย่ิงเป็นการเน้นให้เกิดจังหวะและลีลา ได้ชัดเจนยิ่งข้ึนลักษณะตรงกันข้ามกับแบบแรก จังหวะ และลีลา ลกั ษณะน้ีจะก่อใหเ้ กดิ ความรู้สึก ท่ีตน่ื เต้นดเู คลื่อนไหว และมพี ลัง สุชลา วัฒนาพานิชกุล (2550) ได้กล่าวไว้ว่า การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์นั้นออกแบบได้ เหมาะสม สวยงามดึงดูดความสนใจ มีความสะดวกในการอ่าน ภาพประกอบมีความคมชัดและสวยงาม นอกจากน้ันผเู้ ข้ามาใช้บริการส่วนมากยังรู้สึกว่าภาพในโบรชัวร์หรือโปสเตอร์เป็นภาพท่ีดูแล้วไม่เกินจริง ทั้งยัง มีความเหมาะสมของภาพถา่ ยและขอ้ ความ มีความชดั เจน สมดุล และอ่านเขา้ ใจงา่ ย วิภูษิต รอดแสวง (2551) ได้กล่าวไว้ว่า การเลือกใช้ตัวอักษร (ข้อความ) บนสื่อสิ่งพิมพ์ สามารถใช้ตัวอักษรให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์จึงสามารถสื่อความหมายให้ผู้รับสารรับรู้และเข้าใจ ได้อย่างสะดวก ถึงอย่างไรก็ตามยังมีผู้เข้ารับบริการบางรายเห็นว่ามีภาพสินค้าบางอย่างที่ เกินจริงไปบ้างต้องไปดูของจริงก่อนจึงจะตัดสินใจซ้ือ จากเหตุผลท้ังหมดน้ีอาจส่งผลให้ผู้เข้าใช้บริการมี ระดับ ความพึงพอใจในภาพสินค้า ข้อความประกอบภาพสินค้า การจัดวางภาพสินค้า ความเหมือนภาพ สินค้าในส่ิงพิมพ์กับสินค้าจริง การดึงดูดความสนใจ ขนาดของสื่อสิ่งพิมพ์ ทําให้สอดคล้อง ตามวัตถปุ ระสงค์ทผี่ ผู้ ลิตสื่อไดต้ ง้ั ไวถ้ งึ แม้จะไม่ครอบคลุมถึงกลุ่มเปา้ หมายทกุ คนก็ตาม ผลที่ได้จากการศึกษาตามแนวคิดและทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องข้างต้นสรุป ได้ว่า บุคคลพยายามท่ีสร้างความพึงพอใจให้กับความต้องการท่ีสําคัญที่สุดเป็นอันดับแรก ความพึงพอใจ เป็นทัศนคติทางบวกของบุคคลท่ีมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีต่อเร่ืองต่างๆ ที่เกิดขึ้นของบุคคลในทางบวก ฉน้ันความพึงพอใจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเม่ือความต้องการของบุคคลได้รับ การตอบสนอง ซึง่ บคุ คลไม่วา่ อยู่ในที่ใดยอ่ มมีความตอ้ งการขนั้ พ้นื ฐานไมต่ า่ งกนั และการออกแบบสือ่ สิ่งพมิ พ์ เป็นส่วนประสมระหว่างความสมดุลของประโยชน์ใช้สอย และความสวยงามในการออกแบบ จึงมีความจําเป็นที่ต้องกําหนดแนวทาง หรือแนวคิดในการนําเสนอข้อมูลท่ีจะนํามาพิมพ์ อาทิ การดึงดูดใจ เพ่ือให้ผู้ที่พบเห็นเกิดความสนใจในสื่อส่ิงพิมพ์, การถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะส่ือสารอย่างชัดเจน และ เหมาะสมกบั ผู้รบั ส่ือ และการสรา้ งความประทับใจทาํ ให้ขอ้ มูลทส่ี อ่ื สารเป็นทจี่ ดจํา ซ่ึงการสรุปดังกล่าวนําไปสู่สมมุติฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ความพึงพอใจกับการ ออกแบบสื่อสงิ่ พมิ พไ์ ดว้ า่

สมมติฐานท่ีว่า ความพึงพอใจจะเกิดข้ึนได้ก็ต่อเม่ือความต้องการของบุคคลได้รับ การตอบสนอง ซึ่งบุคคลไม่ว่าอยู่ในท่ีใด ย่อมมีความต้องการข้ันพื้นฐานไม่ต่างกัน มีการพิจารณาเร่ืองความ สมดุลของประโยชน์ใช้สอย และความสวยงามในการออกแบบท่ีไม่แตกต่างกัน หรืออีกนัย คือสอดคล้อง เป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือความพึงพอใจต่อส่ือส่ิงพิมพ์ในด้านการดึงดูดใจ เพื่อให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจในส่ือส่ิงพิมพ์, การถ่ายทอดข้อมูลท่ีต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจนและ เหมาะสมกับผรู้ บั สอ่ื และการสรา้ งความประทบั ใจทาํ ให้ข้อมลู ทส่ี ่ือสารเปน็ ท่จี ดจาํ ตัวแปรอสิ ระ (Independent Variable) คือ มาตรวดั นามบัญญตั ิ (Nominal Scale) ไดแ้ ก่ เพศ, อาชพี มาตราวดั อนั ดบั (Ordinal Scale) ได้แก่ อาย,ุ ระดบั การศึกษา เป็นต้น กรอบแนวคดิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปรอิสระคือ ความเป็นปัจจัยส่วนบุคคลกับตัวแปรตาม คือ ความ พงึ พอใจตอ่ สื่อส่ิงพมิ พใ์ นด้านต่างๆ ตวั แปรอิสระ(Independent ตวั แปรตาม (Dependent Variable)  Variable)  1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศกึ ษา 4. ระดบั รายได้ ๕. ระดบั รายได้ รปู แบบสอื่ ส่ิงพมิ พ์ ความพงึ พอใจต่อสือ่ ส่งิ พมิ พ์ 1. การดึงดูดใจเพ่ือใหผ้ ู้ทพ่ี บเห็นเกิด ความสนใจในส่ือส่ิงพมิ พ์ 2. การถา่ ยทอดข้อมลู ทต่ี ้องการจะ สือ่ สารอย่างชัดเจนและเหมาะสมกบั ผู้รบั ส่ือ 3. การสรา้ งความประทับใจทาํ ใหข้ อ้ มลู ท่ีสอ่ื สารเปน็ ทจี่ ดจํา กรอบแนวคิดข้างต้นแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ (Independent Variable) กบั ตวั แปรตาม (Dependent Variable) ภายใต้

แนวความคิดเร่ือง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการออกแบบส่ือสิ่งพิมพ์เพ่ือการประชาสัมพันธ์. ของสุชลา วัฒนาพานิชกลุ .(2550) แนวคิดเรื่อง การออกแบบส่ือประชาสัมพันธ์เพ่ือการโฆษณาสินค้า ของวิภูษิต รอดแสวง.(2550)

บทที่ 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั เนื้อหาของบทเป็นการอธิบายถึงวิธีการวิจัยสําหรับการศึกษาในคร้ังนี้ ซ่ึงใช้การวิจัยเชิง ปริมาณ (Quantitative research) ประกอบด้วย ประชากรและตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การ เก็บรวบรวมข้อมูล การแปรผลข้อมูล และวิธีการทางสถิติสําหรับใช้ในการวิเคราะห์และการทดสอบ สมมุติฐานเร่อื งความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรท่ีกาํ หนดข้นึ ประชากร ประชากรที่ใชศ้ กึ ษา คอื เจ้าหนา้ ทกี่ รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวง มหาดไทย กลุม่ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา คือ โดยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนกั ศึกษาหลกั สูตรนักบรหิ ารงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 จาํ นวน 49 ราย ทรี่ ะดับความเชือ่ มัน่ รอ้ ยละ 95 และระดับความคลาดเคลอ่ื นไม่เกินร้อยละ 5 ซึง่ ตวั อยา่ งท่ีได้ เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการศึกษา ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่าง โดยมี รายละเอยี ดเกีย่ วกบั การสร้างแบบสอบถามเปน็ ขัน้ ตอน ดังน้ี 1. ศึกษาวิธกี ารสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสาร งานวิจัย และทฤษฎีทเี่ กยี่ วข้อง 2. สร้างแบบสอบถามเพ่ือถามความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองความ พึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อส่ือส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ประเด็นคอื 2.1 ข้อมูลทว่ั ไปเก่ียวกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม 2.2 ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจต่อสื่อสิ่งพิมพ์ในด้านการดึงดูดใจเพ่ือให้ผู้ท่ีพบ เหน็ เกดิ ความสนใจในสอื่ สิ่งพิมพ์ 2.3 ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจต่อส่ือสิ่งพิมพ์ในด้านการถ่ายทอดข้อมูลท่ี ต้องการจะสอ่ื สารอย่างชัดเจนและเหมาะสมกบั ผู้รบั สอื่ 2.4 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อส่ือสิ่งพิมพ์ในด้านการสร้างความประทับ ใจ ทําใหข้ ้อมูลที่สอ่ื สารเปน็ ที่จดจาํ 3. นําแบบสอบถามทไ่ี ด้สร้างขนึ้ มาเสนอตอ่ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาเพอ่ื ปรับปรงุ แกไ้ ข 4. ทาํ การปรับปรงุ แก้ไข และนําเสนอให้อาจารย์ทป่ี รึกษาตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง หนง่ึ เพอ่ื ใหอ้ าจารย์ท่ปี รกึ ษาอนุมตั กิ ่อนแจกแบบสอบถาม 3. นําแบบสอบถามไปทดลองกบั ตัวอย่าง จํานวน 10 ราย เพือ่ หาค่าความเชอ่ื มน่ั 4. ทําการปรบั ปรุงและนาํ เสนอใหอ้ าจารย์ท่ปี รกึ ษาอนุมัตกิ ่อนแจกแบบสอบถาม 5. แจกแบบสอบถามไปยังตัวอยา่ ง การตรวจสอบเครือ่ งมอื การตรวจสอบเนอ้ื หาผูว้ จิ ยั ได้นําเสนอแบบสอบถามทไ่ี ดส้ ร้างข้ึนต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อ ตรวจสอบความครบถว้ น และความสอดคลอ้ งของเนื้อหาของแบบสอบถามทตี่ รงกับเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม

ผู้ทําวิจัยได้ออกแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน พร้อมกับวิธีการตอบคําถาม ดังต่อไปน้ี คือ ส่วนที่ 1 เป็นคําถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบคําถาม ได้แก่ มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) ได้แก่ เพศ, อาชีพ มาตรวัดมาตราอันดับ (Ordinal Scale) ได้แก่ อายุ, ระดับ การศึกษา เปน็ ต้น ลักษณะคาํ ถามเป็นคําถามปลายปดิ แบบใหเ้ ลอื กตอบ สว่ นท่ี 2 เป็นคาํ ถามเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ต่อส่ือส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ลักษณะเป็นคําถามปลายปิด ตัวแปรมาตราอันดับ (Ordinal Scale) โดยคําถามแบง่ เป็น 5 ระดบั ตงั้ แตน่ อ้ ยทสี่ ดุ ถึงมากทีส่ ุด การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผวู้ จิ ยั ไดด้ าํ เนินการเก็บขอ้ มูลตามขั้นตอนต่อไปน้ี คือ 1. ผู้วิจัยอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาภายในแบบสอบถามและวิธีการตอบแก่ ตวั แทนและทีมงาน 2. ผู้วิจัยหรือตัวแทนและทีมงานเข้าไปในสถานที่ต่างๆท่ีต้องการศึกษาตามท่ีระบุไว้ ขา้ งตน้ 3. ผู้วิจัยหรือตัวแทนและทีมงาน ได้แจกแบบสอบถามให้กลุ่มเป้าหมายและรอ จนกระทั่งตอบคําถามครบถ้วน ซ่ึงในระหว่างน้ันถ้าผู้ตอบมีข้อสงสัยเกี่ยวกับคําถาม ผู้วิจัยหรือทีมงานจะ ตอบข้อสงสยั นั้น การแปรผลขอ้ มลู ผู้ทําวิจัยได้กําหนดค่าอันตรภาคชั้น สําหรับการแปลผลข้อมูลโดยคํานวณค่าอันตรภาค ชัน้ เพอื่ กําหนดชว่ งชัน้ ด้วยการใชส้ ตู รคาํ นวณและคําอธิบายสําหรับแต่ละชว่ งช้ัน ดงั นี้ อันตรภาคชั้น คือ คา่ สงู สดุ – คา่ ตํ่าสดุ 5–1 = 0.80 จํานวนชนั้ 5 ชว่ งช้ัน คําอธิบายสาํ หรับการแปลผล 1.00 – 1.80 ระดับน้อยทีส่ ุด 1.81 – 2.61 ระดับนอ้ ย 2.62 – 3.42 ระดบั ปานกลาง 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดับมากทสี่ ดุ สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ ผทู้ าํ วิจัยได้กําหนดคา่ สถิติสาํ หรับการวิเคราะหข์ ้อมลู ไว้ดังน้ี คือ 1. สถิติเชิงพรรณนา ซึ่งได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้บรรยาย เก่ียวกับข้อมูลท่ัวไป และคุณสมบัติของผู้ตอบแบบสอบถาม คือตัวแปรนามบัญญัติ (Nominal Scale) ไดแ้ ก่ เพศ, อาชพี และขอ้ มูลเก่ียวกับตวั แปรมาตราอนั ดบั (Ordinal Scale) ไดแ้ ก่ อายุ, ระดับการศกึ ษา 2. สถิติเชิงอ้างอิง เป็นการวิเคราะห์การเปรียบเทียบและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ ขอ้ มูลที่เกีย่ วข้องกับตัวแปรทีศ่ กึ ษา คอื

2.1 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปกับข้อมูลเก่ียวกับความ พึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อสื่อสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนนใช้ การทดสอบไค-สแควร์ (Chi-square Test) ดว้ ย Crosstabs

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การศึกษาวิจัยส่วนบุคคล หลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่น 10 เรื่องรูปแบบสื่อส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีผลต่อความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจํานวน 49 ชุด ซ่ึงสอบถาม จากนักศึกษาหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 เจ้าหน้าท่ีในระดับ ส่วนกลางของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต และระดับจังหวัด ของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย โดยนําข้อมูลที่ได้มาทําการศึกษา ซึ่งสามารถแบ่งการวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลผลจากข้อมูลออกเปน็ 7 ส่วน ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกับระดับ และหน่วยงานของผู้ตอบแบบสอบถาม (ตารางท่ี 4.1-4.2) สว่ นที่ 2 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, รายได้ (ตารางท่ี 4.3-4.6) ส่วนท่ี 3 ขอ้ มลู ดา้ นความรู้ และความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ส่ือสิ่งพิมพ์ของผู้ตอบแบบสอบถาม (ตารางที่ 4.7-4.12) สว่ นที่ 4 ข้อมูลความพึงพอใจต่อสื่อส่ิงพิมพ์ในด้านการดึงดูดใจเพ่ือให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิด ความสนใจในส่ือสง่ิ พมิ พ์ท่ีใช้สําหรบั การรณรงค์ด้านความปลอดภยั ทางถนน (ตารางท่ี 4.13) ส่วนท่ี 5 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนนในด้านการถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจนและเหมาะสมกับผู้รับสื่อ(ตารางท่ี 4.14) ส่วนท่ี 6 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนนในดา้ นการสรา้ งความประทบั ใจทําใหข้ ้อมูลทส่ี อ่ื สารเป็นท่จี ดจาํ (ตารางที่ 4.15) สว่ นที่ 7 ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ สว่ นที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปเก่ยี วกบั ระดับ และหน่วยงานของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม การเป็นเจ้าหน้าที่สังกัดกรม ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย การเปน็ เจ้าหน้าท่ีสงั กัดของกรมปอ้ งกัน จาํ นวน รอ้ ยละ และบรรเทาสาธารณภยั ระดับกลุ่ม, กอง, สํานกั , ศูนย์ในสว่ นกลาง 16 32.70 วิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรณเทาสาธารณภัย 4 8.20 ศนู ยป์ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 10 20.40 สาํ นกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั 16 32.70 หน่วยงานอ่ืนๆ 3 6.00 รวม 49 100.00 หมายเหตุ หน่วยงานอื่นๆ ได้แก่ ฝ่ายควบคุมไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภมิภาค, ศูนย์ป้องกันวิกฤตนํ้า กรมทรัพยากรน้ําและ ฝา่ ยรกั ษาความปลอดภยั การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

จากตารางท่ี 4.1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเจ้าหน้าที่สังกัดกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ในระดับกลุ่ม, กอง, สํานัก, ศูนย์ในส่วนกลาง คิดเป็นร้อยละ 32.70, สํานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 32.70, ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.40, วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั และบรรณเทาสาธารณภยั คิดเปน็ ร้อยละ 8.20, และเป็นเจ้าหน้าที่ หน่วยงานอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 6.00 ตารางท่ี 4.2 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตาม การเปน็ เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานใน ภูมภิ าค การเป็นเจ้าหนา้ ที่ปฏบิ ัติงานในภูมภิ าคใด จาํ นวน รอ้ ยละ ภาคกลาง 21 42.86 ภาคเหนอื 6 12.24 ภาคอีสาน 6 12.24 ตะวันออก และตะวันตก 10 20.42 ภาคใต้ 6 12.24 รวม 49 100.00 จากตารางที่ 4.2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นเจ้าหน้าท่ีอยู่ในภาคกลาง คิดเป็นร้อย ละ 42.86, เป็นเจ้าหน้าท่ีอยู่ในภาคเหนือ คิดเป็นร้อยละ 12.24, เป็นเจ้าหน้าที่อยู่ใน ภาคอีสาน คิดเป็นร้อยละ 12.24, เป็นเจ้าหน้าที่อยู่ใน ตะวันออกและตะวันตก คิดเป็น รอ้ ยละ 20.42 และเปน็ เจา้ หนา้ ทอี่ ยใู่ นภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ 12.24 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ,อาย,ุ ระดบั การศกึ ษาและรายได้ ตารางท่ี 4.3 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ เพศ จาํ นวน ร้อยละ เพศชาย 32 65.30 เพศหญิง 17 34.70 รวม 49 100.00 จากตารางที่ 4.3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 65.30 และแปน็ เพศหญิง คิดเป็นรอ้ ยละ 34.70 ตารางท่ี 4.4 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามระดับชว่ งอายุ อายุ จาํ นวน รอ้ ยละ ไม่เกินอายุ ๓๐ ปี 0 0.00 อายุ ๓๑ – ๔๐ ปี 12 24.50 อายุ ๔๑ – ๕๐ ปี 31 63.30 ๕๑ ปขี นึ้ ไป 6 12.20 รวม 49 100.00 จากตารางท่ี 4.4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ มชี ่วงอายอุ ยทู่ ี่ ชว่ ง 41-50 ปมี าก ท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 63.30 รองลงมาได้แก่ ช่วงอายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.50 และช่วงอายุ 51 ปี ข้ึนไป คดิ เป็นร้อยละ 12.20

ตารางท่ี 4.5 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามระดับการศึกษา ระดบั การศกึ ษา จํานวน รอ้ ยละ ตํ่ากวา่ ระดับปริญญาตรี 0 0.00 ระดบั ปริญญาตรี 20 40.80 สูงกว่าระดับปรญิ ญาตรี 29 59.20 รวม 49 100.00 จากตารางท่ี 4.5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ท่ีสูงกว่า ระดับปริญญาตรี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59.20 และระดับปริญญาตรี รองลงมา คิดเป็น รอ้ ยละ 40.80 ตารางที่ 4.6 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามรายได้ตอ่ เดือน รายได้ต่อเดอื น จาํ นวน ร้อยละ ไม่เกิน 15,000 บาท 0 0.00 15,001-20,000 บาท 1 2.00 20,001-25,000 บาท 5 10.20 25,001-30,000 บาท 11 22.40 30,001-35,000 บาท 16 32.70 35,001 บาท ขน้ึ ไป 16 32.70 รวม 49 100.00 จากตารางท่ี 4.6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถาม มีรายไดต้ ่อเดือนอยูท่ ่ี 30,001-35,000 บาท และ รายได้ต่อเดือนอยู่ท่ี 35,001 บาท ข้ึนไปมากท่ีสุดเท่ากัน คิดเป็นร้อย 32.70 รองลงมาได้แก่ รายได้ 25,001-30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.40 รายได้ 20,001-25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.20 และ รายได้ 15,001-20,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 2.00 ส่วนที่ 3 ขอ้ มลู ดา้ นความรู้ และความเข้าใจเก่ียวกบั ส่อื ส่งิ พิมพ์ของผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางที่ 4.7 แสดงจํานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามจาํ แนกตามการรูจ้ กั ประเภทสอ่ื ส่งิ พิมพ์ ประเภทส่ือสง่ิ พิมพ์ จํานวน ร้อยละ ใบปลิว 11 22.40 แผน่ พบั 17 34.70 โปสเตอร์ 13 26.50 คู่มอื รณรงค์ 10 20.40 หนังสือพมิ พ์ 6 12.20 สติกเกอร์รณรงค์ 10 20.40 ทกุ ประเภทสือ่ ส่งิ พมิ พ์ 33 67.30 หมายเหตุ ผูต้ อบแบบสอบถาม ตอบไดม้ ากกว่า 1 คาํ ตอบ จากจํานวนผู้ตอบแบบสอบถาม 49 ราย จากตารางท่ี 4.7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญรู้จักสื่อส่ิงพิมพ์ ทุกประเภทส่ือ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 67.30 รองลงมาได้แก่ ส่ือประเภทแผ่นพับ คิดเป็นร้อยละ 34.70, สื่อประเภท โปสเตอร์ คิดเป็นร้อยละ 26.50, สื่อประเภทใบปลิว คิดเป็นร้อยละ 22.40, ส่ือประเภทคู่มือรณรงค์ และ สติกเกอร์รณรงค์ ผู้ตอบแบบสอบถาม รู้จักเท่าๆกัน คิดเป็นร้อยละ 20.40 และส่ือประเภทหนังสือพิมพ์ คดิ เปน็ ร้อยละ 12.20

ตารางที่ 4.8 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามการประเภทสื่อส่ิงพิมพ์ท่ี น่าสนใจทส่ี ุดในการสอ่ื ข่าวสาร ประเภทสอื่ ส่งิ พิมพ์ จาํ นวน ร้อยละ ใบปลวิ 5 10.20 แผ่นพับ 24 49.00 โปสเตอร์ 27 55.10 คมู่ ือรณรงค์ 12 24.50 หนังสือพมิ พ์ 5 10.20 สติกเกอร์รณรงค์ 22 44.90 ทุกประเภทส่อื สงิ่ พิมพ์ 6 12.20 หมายเหตุ ผูต้ อบแบบสอบถาม ตอบได้มากกวา่ 1 คาํ ตอบ จากจาํ นวนผู้ตอบแบบสอบถาม 49 ราย จากตารางท่ี 4.8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่พบว่า ประเภทส่ือสิ่งพิมพ์ที่ น่าสนใจในการสื่อข่าวสารมากท่ีสุด ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทโปสเตอร์ คิดเป็นร้อยละ 55.10 รองลงมา ได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ประเภทแผ่นพับ คิดเป็นร้อยละ 49.00, ส่ือส่ิงพิมพ์ประเภทสติกเกอร์ รณรงค์ คิดเป็น ร้อยละ 44.90, ส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทคู่มือรณรงค์ คิดเป็นร้อยละ 24.50, สื่อส่ิงพิมพ์ทุกประเภทส่ือ คิดเป็น ร้อยละ 12.20 และสือ่ ประเภทใบปลิว กับหนงั สือพิมพม์ คี วามนา่ สนใจในการสอ่ื ขา่ วสาร เท่าๆ กนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.20 ตารางท่ี 4.9 แสดงจํานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาํ แนกตามรูปแบบสื่อส่ิงพิมพ์ที่เหมาะสมท่ี ใช้สําหรบั การรณรงค์ดา้ นความปลอดภัยทางถนน ประเภทส่อื สงิ่ พิมพ์ จาํ นวน ร้อยละ ใบปลิว 1 2.00 แผ่นพับ 21 42.90 โปสเตอร์ 13 26.50 ค่มู อื รณรงค์ 7 14.30 หนงั สือพิมพ์ 3 6.10 สติกเกอร์รณรงค์ 4 8.20 รวม 49 100.00 จากตารางท่ี 4.9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่พบว่า ประเภทส่ือสิ่งพิมพ์ที่ เหมาะสมที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมากท่ีสุด ได้แก่ ส่ือส่ิงพิมพ์ประเภทแผ่นพับ คิดเป็นร้อยละ 42.90 รองลงมาได้แก่ ส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทโปสเตอร์ คิดเป็นร้อยละ 26.50, สื่อส่ิงพิมพ์ ประเภทค่มู อื รณรงค์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.30, สือ่ สิ่งพิมพป์ ระเภทสติกเกอรร์ ณรงค์ คิดเป็นร้อยละ 8.20, สื่อ ส่ิงพิมพป์ ระเภทหนังสือพิมพ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.10 และสื่อสงิ่ พมิ พ์ประเภทใบปลิว คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.00 ตารางท่ี 4.10 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถามทีม่ ตี ่อรปู แบบสื่อสง่ิ พิมพ์ท่เี หมาะสมทใี่ ชส้ าํ หรับการ

รณรงคด์ า้ นความปลอดภยั ทางถนน รูปแบบสอ่ื ส่งิ พิมพท์ ่ีเหมาะสมที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน เพศ ใบปลิว แผ่นพับ โปสเตอร์ คู่มือรณรงค์ หนงั สือพมิ พ์ สติกเกอร์ รวม รณรงค์ ชาย 0 13 5 7 1 2 28 (0.00) (26.50) (10.20) (14.30) (2.00) (4.10) (57.10) หญิง 1 8 8 0 2 2 21 (2.00) (16.30) (16.30) (0.00) (4.10) (4.10) (42.90) รวม 1 21 13 7 3 4 49 (2.00) (42.90) (26.50) (14.30) (6.10) (8.20) (100.00) หมายเหตุ : Chi-Square = 9.408 Degree of freedom = 5 Asymptotic Significance level = 0.094 จากตารางท่ี 4.10 เมื่อทําการทดสอบ Chi-Square ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 พบว่า ค่า Asymptotic Significance level เท่ากับ 0.094 แสดงว่า เพศของผู้ตอบแบบสอบถาม ไม่มี ความสัมพันธ์กับ การเลือกรูปแบบส่ือสิ่งพิมพ์ที่เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทาง ถนนอยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื พิจารณาจากคา่ ร้อยละพบวา่ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่เหมาะสมที่ใช้สําหรับการรณรงค์ ดา้ นความปลอดภัยทางถนนของทงั้ สองเพศ ได้แก่ สือ่ สงิ่ พมิ พป์ ระเภทแผ่นพบั รองลงมา ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทโปสเตอร์ ตารางท่ี 4.11 แสดงเอายุของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อรูปแบบส่ือส่ิงพิมพ์ที่เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการ รณรงคด์ ้านความปลอดภัยทางถนน รปู แบบส่อื สิง่ พิมพ์ที่เหมาะสมที่ใช้สาํ หรบั การรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน อายุ ใบปลวิ แผ่นพบั โปสเตอร์ คมู่ ือ หนังสอื พมิ พ์ สติกเกอร์ รวม รณรงค์ รณรงค์ ไมเ่ กนิ 30 ปี 0 0 0 0 0 00 (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) 31-40 ปี 1 7 2 0 2 0 12 (2.00) (14.30) (4.10) (0.00) (4.10) (0.00) (24.50) 41-50 ปี 0 11 11 5 0 4 31 (8.20) (63.30) (0.00) (22.40) (22.40) (10.50) (0.00) 51 ปีข้ึนไป 0 30 2 1 06 (2.00) (0.00) (12.20) (0.00) (6.10) (16.30) (4.10) รวม 1 21 13 7 3 4 49 (6.10) (8.20) (100.00) (2.00) (42.90) (26.50) (14.30) หมายเหตุ : Chi-Square = 17.988 Degree of freedom = 10 Asymptotic Significance level = 0.055 จากตารางท่ี 4.11 เมื่อทําการทดสอบ Chi-Square ที่ระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 95 พบว่า ค่า Asymptotic Significance level เท่ากับ 0.055 แสดงว่า อายุของผู้ตอบแบบสอบถามไม่มี ความสัมพันธ์กับการเลือกรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ท่ีเหมาะสมที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทาง ถนน อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณาจากค่าร้อยละ พบว่า รูปแบบสื่อส่ิงพิมพ์ที่เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนของแต่ละช่วงอายุ ได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ประเภทแผ่นพับ รองลงมาได้แก่ สือ่ สง่ิ พิมพ์ประเภทโปสเตอร์ โดยชว่ งอายทุ เ่ี ลอื กมากทสี่ ุด คอื ระหว่าง 41-50 ปี

ตารางท่ี 4.12 แสดงระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อรูปแบบส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีเหมาะสมที่ใช้ สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภยั ทางถนน ระดบั รปู แบบสอื่ สิง่ พิมพท์ เี่ หมาะสมทใี่ ชส้ าํ หรับการรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน การศกึ ษา ใบปลิว แผน่ พบั โปสเตอร์ คู่มือ หนังสือพิมพ์ สตกิ เกอร์ รวม รณรงค์ รณรงค์ ต่ํากว่าระดับ 0 0 0 00 0 0 ปรญิ ญาตรี (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) (0.00) ระดบั 09 3 4 1 3 20 ปริญญาตรี (0.00) (18.40) (6.10) (8.20) (2.00) (6.10) (40.80) สูงกว่าระดับ 1 12 10 3 2 1 29 ปริญญาตรี (2.00) (24.50) (20.40) (6.10) (4.10) (2.00) (59.20) รวม 1 21 13 7 3 4 49 (2.00) (42.90) (26.50) (14.30) (6.10) (8.20) (100.00) หมายเหตุ : Chi-Square = 5.196 Degree of freedom = 5 Asymptotic Significance level = 0.392 จากตารางท่ี 4.12 เม่ือทําการทดสอบ Chi-Square ท่ีระดับความเช่ือม่ันร้อยละ 95 พบว่า คา่ Asymptotic Significance level เท่ากบั 0.392 แสดงวา่ ระดบั การศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถาม ไม่ มีความสัมพันธ์ กับการเลือกรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่เหมาะสมที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทาง ถนน อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณาจากค่าร้อยละ พบว่า รูปแบบสื่อส่ิงพิมพ์ท่ีเหมาะสมที่ใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภยั ทางถนนกับระดับการศึกษาตง้ั แต่ปรญิ ญาตรี ได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ประเภทแผ่นพับ รองลงมาได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ประเภทโปสเตอร์ โดยระดับการศึกษาท่ีเลือกมากที่สุด ได้แก่ ระดับสูงกว่า ระดบั ปรญิ ญาตรี สว่ นที่ 4 ขอ้ มูลความพงึ พอใจตอ่ ส่ือส่งิ พิมพ์ในดา้ นการดึงดูดใจเพ่ือให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจในส่ือ ส่ิงพิมพ์ท่ใี ชส้ าํ หรับการรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน ตารางท่ี 4.13 แสดงจํานวนความถ่ี ร้อยละ และคา่ เฉลี่ย ของผู้ตอบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับความ พึงพอใจต่อ ด้านการดึงดดู ใจเพ่ือให้ผทู้ ี่พบเหน็ เกิดความสนใจในสื่อสง่ิ พมิ พ์ ด้านการดึงดูดใจเพ่ือใหผ้ ู้ที่ ระดบั ความพงึ พอใจ รวม ค่าเฉลี่ย ลําดับ พบเห็นเกิดความสนใจ (แปลผล) ในสอ่ื สงิ่ พิมพ์ ระดับ ระดับ ปาน ระดับ ระดับ มาก มาก กลาง น้อย นอ้ ย ท่สี ุด ทส่ี ดุ 1.ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 9 26 14 0 0 49 3.90 3 ทางถนน มีการกําหนดผู้รับ (18.40) (53.10) (28.60) (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก สาร หรือกลุ่มเป้าหมาย อย่างชัดเจน 2.ส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 30 1 0 0 49 4.35 1 ทางถนน มีการออกแบบที่ 18 (61.20) (2.00) (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก มีการดึงดูดให้ผู้รับสาร (36.70) เข้าใจถึงเรื่องการรณรงค์ ทีส่ ดุ ด้านความปลอดภัย

3.สื่อสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนน มีการกําหนด 15 29 5 0 0 49 4.20 2 รูปแบบท่ีดึงดูดให้ผู้รับสาร (30.60) (59.20) (10.20) (0.00) (0.00) (100.00) ระดับมาก เ ข้ า ใ จ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ส่ื อ ส่งิ พิมพน์ ้ัน ค่าเฉลย่ี รวม 4.15 ระดบั มาก หมายเหตุ ค่าเฉล่ีย 1.00-~1.80 ระดับน้อยที่สุด 1.80 – 2.60 ระดับน้อย 2.62 – 3.42 ระดับปานกลาง 3.43 – 4.23 ระดับมาก 4.24 – 5.00 ระดับมากทสี่ ดุ จากตารางที่ 4.13 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความพึงพอใจต่อปัจจัย ด้านการดึงดูดใจ เพื่อให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจในสื่อส่ิงพิมพ์ โดยรวมในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.15 ซ่ึงในปัจจัยย่อย ด้านการ ดึงดูดใจเพ่ือให้ผู้ที่พบเห็นเกิดความสนใจในส่ือสิ่งพิมพ์ พบว่า ปัจจัยย่อยท่ีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ให้ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ได้แก่ ส่ือส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการ ออกแบบทม่ี กี ารดงึ ดดู ให้ผรู้ ับสารเข้าใจถงึ เรอื่ งการรณรงค์ด้านความปลอดภัย มคี า่ เฉล่ีย 4.35 ปัจจัยย่อยท่ีผู้ตอบ แบบสอบถามให้ให้ความพึงพอใจในระดับมากได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทาง ถนน มกี ารกาํ หนดรปู แบบท่ดี งึ ดูดให้ผรู้ บั สารเข้าใจเปา้ หมายของสือ่ สิ่งพิมพน์ น้ั มคี ่าเฉลย่ี 4.20 และส่อื สิ่งพิมพ์ที่ ใช้สําหรบั การรณรงคด์ ้านความปลอดภัยทางถนนมีการกําหนดผู้รับสารหรือกลุ่มเป้าหมายอย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ย 3.90 ตามลําดับ ส่วนที่ 5 ข้อมลู ความพงึ พอใจต่อสอ่ื สิง่ พมิ พ์ในด้านการถ่ายทอดขอ้ มูลที่ตอ้ งการจะสอ่ื สารอย่างชดั เจน และเหมาะสมกบั ผู้รบั ส่อื ในสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ท่ใี ช้สาํ หรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน ตารางท่ี 4.14 แสดงจํานวนความถ่ี ร้อยละ และคา่ เฉล่ยี ของผตู้ อบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับความ พึงพอใจต่อ ด้านการการถ่ายทอดข้อมูลท่ีต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจน และเหมาะสม กบั ผู้รับสื่อ ระดับความพึงพอใจ ด้านการถา่ ยทอดขอ้ มูลท่ี ระดบั ระดบั ปาน ระดับ ระดับ ตอ้ งการจะสอื่ สารอยา่ งชดั มาก มาก กลาง นอ้ ย นอ้ ย รวม คา่ เฉล่ีย ลาํ ดับ (แปลผล) เจนและเหมาะสมกับผรู้ บั สอื่ ท่ีสดุ ทสี่ ุด 1.สื่อส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนนมีการใช้การออก 15 28 6 0 0 49 4.18 5 แบบการกําหนดรูปแบบตัว (30.60) (57.10) (12.20) (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก อักษรที่ทําให้กลุ่มเป้าหมาย เกดิ ความสนใจ 2.ส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 0 0 49 4.24 3 ทางถนนมีการใช้การออก 19 23 7 (0.00) (0.00) (100.00) ระดับมาก แบบกําหนดการจัดวาง (38.80) (46.90) (14.30) ตําแหน่งตัวอักษรท่ีเหมาะ ทส่ี ดุ สมจนทําให้กลุ่มเป้าหมาย

เกดิ ความสนใจ 3.ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนนมีการใช้การออก 20 24 5 0 0 49 4.31 1 แ บ บ ด้ า น ก า ร นํ า รู ป ภ า พ (40.80) (49.00) (10.20) (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก ที่ ม า ป ร ะ ก อ บ สื่ อ เ ป็ น รู ป ท่ีสดุ ภาพท่ีเหมาะกับเน้ือหาใน การรณรงค์ ตารางที่ 4.14 แสดงจํานวนความถ่ี รอ้ ยละ และคา่ เฉลีย่ ของผตู้ อบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับความ พึงพอใจต่อ ด้านการถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกับ ผู้รบั สือ่ (ตารางต่อ) ระดบั ความพงึ พอใจ ด้านการถ่ายทอดข้อมูลที่ ระดบั ระดบั ปาน ระดบั ระดับ ต้องการจะสื่อสารอย่างชัด มาก มาก กลาง นอ้ ย น้อย รวม คา่ เฉลีย่ ลําดบั (แปลผล) เจนและเหมาะสมกบั ผู้รบั สื่อ ที่สุด ที่สุด 4.สื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนน มีการใช้การออก 0 0 49 4.29 2 แบบด้านการจัดองค์ประ 9 26 14 (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก กอบต่างๆของหน้าสื่อได้ (18.40) (53.10) (28.60) อย่างเหมาะสมจนทําให้ ทีส่ ุด กลุ่มเป้าหมายเกิดความ สนใจ 5.ส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 16 28 5 0 0 49 4.22 2 ทางถนนมีการถ่ายทอดข้อ (32.70) (57.10) (10.20) (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก มูลที่ง่ายต่อการอ่านและทํา ทส่ี ดุ ความเขา้ ใจ 4.24 ค่าเฉลี่ยรวม ระดับมาก ทสี่ ุด หมายเหตุ : ค่าเฉล่ีย 1.00-~1.80 ระดับน้อยท่ีสุด 1.81 – 2.61 ระดับน้อย 2.62 – 3.42 ระดับปานกลาง 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดบั มากทส่ี ุด จากตารางท่ี 4.14 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความพึงพอใจตอ่ ปัจจัย ด้านการถ่ายทอดข้อมูลท่ี ต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจนและเหมาะสมกับผู้รับสื่อ โดยรวมในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.24 ซึ่งในปัจจัยย่อย ด้านการถ่ายทอดข้อมูลท่ีต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจนและเหมาะสมกับผู้รับสื่อ พบว่า ปัจจัยย่อยที่ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ ให้ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ได้แก่ ส่ือส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความ ปลอดภัยทางถนนมีการใช้การออกแบบด้านการนํารูปภาพท่ีมาประกอบส่ือเป็นรูปภาพท่ีเหมาะกับเนื้อหาในการ รณรงค์ มีค่าเฉล่ีย 4.31 ปัจจัยย่อยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ให้ความพึงพอใจในระดับมากที่สุดรองลงมา ได้แก่ ส่ือ ส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการใช้การออกแบบด้านการจัดองค์ประกอบต่างๆของ

หน้าสื่อได้อย่างเหมาะสมจนทําให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ มีค่าเฉลี่ย 4.29 ถัดลงมา คือ สื่อส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับ การรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีการใช้การออกแบบการกําหนดการจัดวางตําแหน่งตัวอักษรท่ีเหมาะสมจน ทําให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ มีค่าเฉล่ีย 4.24, ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมี การถ่ายทอดข้อมูลที่ง่ายต่อการอ่านและทําความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ย 4.22 และส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้าน ความปลอดภัยทางถนนมีการใช้การออกแบบการกําหนดรูปแบบตัวอักษรท่ีทําให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ มี คา่ เฉล่ยี 4.18 ตามลาํ ดบั ส่วนที่ 6 ข้อมูลความพึงพอใจต่อสื่อส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนใน ด้านการสร้างความประทับใจทาํ ใหข้ ้อมูลท่สี อ่ื สารเปน็ ทจี่ ดจํา ตารางที่ 4.15 แสดงจํานวนความถี่ ร้อยละ และค่าเฉล่ีย ของผตู้ อบแบบสอบถาม จําแนกตามระดับความ พึงพอใจต่อ ดา้ นการสรา้ งความประทับใจทาํ ให้ขอ้ มลู ท่ีส่ือสารเป็นท่ีจดจาํ ระดับความพึงพอใจ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ระดบั ระดับ ปาน ระดบั ระดบั ป ร ะ ทั บ ใ จ ทํา ใ ห้ข้ อมู ล ที่ มาก มาก กลาง นอ้ ย น้อย รวม ค่าเฉลยี่ ลําดบั (แปลผล) ส่ือสารเป็นท่ีจดจํา ทีส่ ดุ ท่ีสดุ 1.สื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 15 28 6 0 0 49 4.31 1 ทางถนนมีการใช้ข้อความ (30.60) (57.10) (12.20) (0.00) (0.00) (100.00) ระดับมาก หรือบทความท่ีเป็นท่ีน่าจด ที่สุด จําและนา่ ติดตาม 2.ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 19 23 7 0 0 49 4.14 4 ทางถนนมีการใช้รูปภาพใน (38.80) (46.90) (14.30) (0.00) (0.00) (100.00) ระดบั มาก การสร้างภาพที่น่าจดจํา และนา่ ตดิ ตาม 3.ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนนมีการจัดองค์ประ 20 24 5 0 0 49 4.20 3 กอบของสอื่ จนดึงดูดใจผู้รับ (40.80) (49.00) (10.20) (0.00) (0.00) (100.00) ระดับมาก สารเกิดความจดจํา และน่า ตดิ ตาม 4.สื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้สําหรับการ รณรงค์ด้านความปลอดภัย 0 0 49 4.24 2 ทางถนน มีการออกแบบที่ 20 24 5 (0.00) (0.00) (100.00) ระดับมาก โดดเด่นไม่ซํ้าใครจนดึงดูด (40.80) (49.00) (10.20) ใจผู้รับสารเกิดความจดจํา ท่ีสดุ และน่าตดิ ตาม คา่ เฉล่ยี รวม 4.22 ระดบั มาก หมายเหตุ : ค่าเฉล่ีย 1.00-~1.80 ระดับน้อยท่ีสุด 1.81 – 2.61 ระดับน้อย 2.62 – 3.42 ระดับปานกลาง 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดบั มากทีส่ ดุ

จากตารางท่ี 4.15 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความพึงพอใจต่อปัจจัย ด้านการสร้าง ความประทับใจทําให้ข้อมูลท่ีส่ือสารเป็นท่ีจดจํา โดยรวมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.22 ซึ่งในปัจจัยย่อย ด้านการสร้างความประทับใจทําให้ข้อมูลท่ีสื่อสารเป็นท่ีจดจํา พบว่า ปัจจัยย่อย ที่ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ให้ความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ได้แก่ ส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับ การรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีการใช้ข้อความหรือบทความที่เป็นท่ีน่าจดจําและน่าติดตาม มี ค่าเฉล่ีย 4.31 ปัจจัยย่อยท่ีผู้ตอบแบบสอบถามให้ให้ความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุดรองลงมา ได้แก่ ส่ือ สิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการออกแบบที่โดดเด่นไม่ซํ้าใครจนดึงดูดใจ ผู้รับสารทําให้เกิดความจดจําและน่าติดตาม มีค่าเฉลี่ย 4.24 ถัดลงมาท่ีผู้ตอบแบบสอบถามให้ความพึง พอใจในระดับมาก คือ ส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีการจัด องค์ประกอบของส่ือจนดึงดูดใจผู้รับสารทําให้เกิดความจดจําและน่าติดตาม มีค่าเฉล่ีย 4.20 และส่ือ ส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีการใช้รูปภาพในการสร้างภาพท่ีน่าจดจํา และน่าตดิ ตาม มีคา่ เฉลี่ย 4.14 ตามลาํ ดับ ส่วนท่ี 7 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ จากข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดจํานวน 49 ราย มีผู้ตอบแบบสอบถามให้ความ คดิ เห็นขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม จํานวน 5 ราย ดงั มีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี 1. การรณรงค์ด้วยส่ือสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ควรรณรงค์ปลูกจิตสํานึก ตัง้ แตร่ ะดับประถมศกึ ษา จนถึงระดบั ประชาชนทวั่ ไปใหต้ ระหนักถึงความสูญเสยี ท่เี กิดขนึ้ 2. การออกแบบ ควรใช้รูปภาพ ข้อความ ควรเน้นสีสรร และให้มีการรณรงค์อย่าง ตอ่ เนอ่ื ง และจริงจัง 3. ส่ือส่ิงพิมพ์ที่เป็นรูปภาพแบบภาพการ์ตูน หรือมีเร่ืองราวแบบการ์ตูนจะเป็นท่ียอมรับ และสนใจกับบุคลทั่วไป เวลาออกกิจกรรมโครงการรณรงค์ 4. ควรจดั ทําสือ่ สง่ิ พิมพร์ ณรงคด์ า้ นความปลอดภยั ใครอบคลมุ ในทกุ ๆ อบุ ัติภัย 5. การจัดทําสื่อเพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ในเร่ืองความปลอดภัยทางถนนควรที่จะ จดั แยกตามระดับของผทู้ ี่ตอ้ งการเผยแพร่ เช่น 5.1 ถ้าจะผลิตสอื่ เพื่อประชาชนท่ัวไปควรเป็นเนื้อหาที่เข้าใจได้อยา่ งงา่ ย 5.2 ถ้าจะผลิตส่อื เพอ่ื เดก็ และนักเรยี น ควรจัดทําเปน็ ฉบบั การ์ตนู

บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษา อภิปรายผล ขอ้ คน้ พบ และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาเร่ือง การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ รูปแบบส่ือสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีผลต่อความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อสื่อส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทาง ถนน จํานวน 49 คน ผลการศึกษาทีไ่ ด้นาํ มาสรปุ ผล อภิปรายผล ขอ้ ค้นพบข้อเสนอแนะไดด้ ังน้คี ือ สรุปผลการศกึ ษา สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไปเกี่ยวกับระดบั และหนว่ ยงานของผตู้ อบแบบสอบถาม จากผลการศึกษาด้านข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อความพึงพอใจของ เจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อสื่อสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน พบว่าผู้ตอบ แบบสอบถาม เปน็ เจา้ หนา้ ทขี่ องกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย สว่ นท่ี 2 ข้อมลู ท่วั ไปเกยี่ วกบั เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา และรายได้ จากผลการศึกษาด้านข้อมูลทั่วไปเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อความพึงพอใจของ เจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อสื่อสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน พบว่าผู้ตอบ แบบสอบถามเป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 41-50 ปี มีระดับการศึกษาในระดับสูงกว่าปริญญาตรี และมีรายได้ เฉลย่ี ต่อเดือนอยูท่ ่ี 30,000-35,000 บาท ข้นึ ไป ส่วนท่ี 3 ข้อมลู ดา้ นความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับส่ือส่งิ พิมพ์ จากผลการศึกษาด้านข้อมูลทั่วไปเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อความพึงพอใจของ เจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อส่ือส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามมีความรู้ และความเขา้ ใจเกย่ี วกับส่อื สิ่งพิมพ์ โดยรู้จักส่ือส่ิงพิมพ์ทุกชนิดประเภท ท้ังใบปลิว, แผ่นพับ, โปสเตอร,์ คู่มอื รณรงค์, หนังสือพมิ พ์ และสติกเกอร์รณรงค์ ประเภทสือ่ ส่ิงพิมพ์ท่ีน่าสนใจท่ีสุดใน การส่ือข่าวสาร ได้แก่ โปสเตอร์, แผ่นพับ และคู่มือรณรงค์ และให้ความเห็นว่ารูปแบบส่ือสิ่งพิมพ์ที่ เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน ได้แก่ แผ่นพับ และโปสเตอร์ จากการ ทดสอบค่าความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามกับข้อมูลด้านความรู้ และความ เข้าใจเก่ียวกับส่ือสิ่งพิมพ์ พบว่าความสัมพันธ์กัน แบบไม่มีนัยสําคัญ คือมีค่า Asymptotic Significance level เกินกว่าร้อยละ 5 ทั้งสิ้น โดยเมื่อพิจารณาจากค่าร้อยละจะพบว่า เพศชายจะให้ความสําคัญต่อ รูปแบบส่ือสิ่งพิมพ์ที่เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มากกว่าเพศหญิง คิด เป็นร้อยละ 42.90 โดยช่วงอายุ 41-50 ปี จะให้ความสําคัญต่อรูปแบบส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีเหมาะสมท่ีใช้สําหรับ การรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 63.20 และระดับการศึกษาที่สูงกว่า ปริญญาตรีจะให้ความสําคัญต่อรูปแบบสื่อส่ิงพิมพ์ที่เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัย ทางถนนมากท่ีสดุ คดิ เป็นร้อยละ 59.20 ส่วนที่ 4 ขอ้ มลู ความพึงพอใจต่อส่ือสิง่ พิมพ์ในดา้ นการดงึ ดดู ใจเพ่อื ใหผ้ ู้ทพี่ บเห็นเกิดความสนใจในส่ือ สิง่ พมิ พท์ ใี่ ช้สาํ หรบั การรณรงคด์ า้ นความปลอดภัยทางถนน จากการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีระดับความพึงพอใจต่อด้านการดึงดูดใจ เพื่อให้ผู้ที่พบเห็นเกิดความสนใจในส่ือส่ิงพิมพ์ คือ มีการออกแบบที่มีการดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจถึงเรื่อง การรณรงค์ด้านความปลอดภัย, มีการกําหนดรูปแบบท่ีดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจเป้าหมายของส่ือส่ิงพิมพ์ และมีการกําหนดผรู้ บั สาร หรือกลุ่มเปา้ หมายอยา่ งชดั เจน ตามลาํ ดับ

สว่ นท่ี 5 ข้อมลู ความพึงพอใจต่อสอ่ื ส่งิ พมิ พใ์ นดา้ นการถา่ ยทอดข้อมูลท่ีต้องการจะสอ่ื สารอยา่ งชัดเจน และเหมาะสมกับผูร้ บั ส่อื ในส่อื สง่ิ พิมพท์ ีใ่ ช้สําหรับการรณรงคด์ ้านความปลอดภัยทางถนน จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีระดับความพึงพอใจต่อด้านการถ่ายทอด ข้อมูลท่ีต้องการจะสื่อสารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกับผู้รับสื่อ คือมีการใช้การออกแบบด้านการนํา รูปภาพท่ีมาประกอบสื่อเป็นรูปภาพท่ีเหมาะกับเนื้อหาในการรณรงค์, มีการใช้การออกแบบด้านการจัด องค์ประกอบต่างๆ ของหน้าสื่อได้อย่างเหมาะสมจนทําให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ, มีการออกแบบ กําหนดการจัดวางตําแหน่งตัวอักษรท่ีเหมาะสม, มีการถ่ายทอดข้อมูลท่ีง่ายต่อการอ่านและทําความเข้าใจ และมีการออกแบบกําหนดรูปแบบตัวอกั ษรที่ทําใหก้ ลมุ่ เป้าหมายเกิดความสนใจ ส่วนที่ 6 ข้อมูลความพึงพอใจต่อสื่อสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนใน ด้านการสร้างความประทบั ใจทาํ ใหข้ ้อมูลที่สื่อสารเป็นท่ีจดจาํ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจต่อด้านการสร้างความ ประทับใจทําให้ข้อมูลที่ส่ือสารเป็นท่ีจดจํา คือ มีการใช้ข้อความ หรือบทความท่ีเป็นที่น่าจดจําและน่า ติดตาม, มีการออกแบบที่โดดเด่นไม่ซ้ําใครจนดึงดูดใจผู้รับสารเกิดความจดจําและน่าติดตาม, มีการจัด องค์ประกอบของส่ือจนดึงดูดใจผู้รับสารเกิดความจดจํา และน่าติดตาม และมีการใช้รูปภาพในการสร้าง ภาพที่นา่ จดจํา และนา่ ตดิ ตาม สว่ นที่ 7 ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความคิดเห็นเพิ่มเติม คือ การรณรงค์ด้วยส่ือ สิ่งพิมพ์ ควรรณรงค์ปลูกจิตสํานึกตั้งแต่ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับประชาชนท่ัวไปให้ตระหนักถึง ความสูญเสียท่ีเกิดขึ้น การออกแบบควรใช้รูปภาพ ข้อความ ควรเน้นสีสรร และให้มีการรณรงค์อย่าง ต่อเน่ือง และจริงจัง สื่อส่ิงพิมพ์ที่เป็นรูปภาพแบบภาพการ์ตูน หรือมีเร่ืองราวแบบการ์ตูนจะเป็นที่ยอมรับ และสนใจกับบุคลท่ัวไป และควรจัดทําสื่อสิ่งพิมพ์รณรงค์ด้านความปลอดภัยใครอบคลุมในทุกๆอุบัติภัย การจัดทําสื่อเพอื่ เผยแพร่ ประชาสัมพันธใ์ นเร่ืองความปลอดภัยทางถนนควรท่ีจะจัดแยกตามระดับของผู้ท่ี ต้องการเผยแพร่ เช่น ถ้าจะผลิตสื่อเพ่ือประชาชนท่ัวไปควรเป็นเน้ือหาที่เข้าใจได้อย่างง่าย และถ้าจะผลิต ส่ือเพื่อเด็ก และนกั เรยี น ควรจดั ทาํ เป็นฉบับการ์ตนู อภิปรายผล จากการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อ สอื่ สงิ่ พิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ใช้แนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับตัวแปรเรื่องความพึง พอใจ (Satisfaction) และแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับตัวแปรเรื่องการออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์ (The Media Design) นาํ มาอภิปรายผลได้ดังน้ี แนวคดิ และความสาํ คญั ของการออกแบบส่อื สงิ่ พมิ พ์ (The Media Design) จากผลการศึกษาข้อมูลความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อสื่อส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ด้านการดึงดูดใจเพื่อให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจ เก่ียวกับ ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อสื่อส่ิงพิมพ์ ด้านความปลอดภัยทางถนน ในระดับความพึงพอใจมาก โดยมีการกําหนดรูปแบบท่ีดึงดูดให้ผู้รับสาร เข้าใจเป้าหมายของส่ือสิ่งพิมพ์ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ดิเรก รัตน์สุข (2538) ได้ศึกษาเรื่อง ความ พึงพอใจของบุคคลท่ีมีต่อการทํางานในเชิงบวก กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของ บุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง และสอดคล้องกับผลการศึกษาของสุชลา วัฒนาพานิชกุล (2550) ได้ศึกษาเร่ือง

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ พบว่า การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์นั้น ออกแบบได้เหมาะสม สวยงามดึงดูดความสนใจ มคี วามสะดวกในการอ่าน จากผลการศึกษาด้านการการถ่ายทอดข้อมูลท่ีต้องการจะส่ือสารอย่างชัดเจน และ เหมาะสมกับผู้รับส่ือ เก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ ความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยต่อสื่อสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีการ ออกแบบด้านการนาํ รูปภาพท่ีมาประกอบสื่อเป็นรูปภาพที่เหมาะกับเนื้อหาในการรณรงค์สอดคล้องกับผล การศึกษาของ วิภูษิต รอดแสวง (2551) ได้ศึกษาเรื่อง การออกแบบส่ือประชาสัมพันธ์เพ่ือการโฆษณา สินค้า พบว่า การจัดวางภาพสินค้า ความเหมือนภาพสินค้าในสิ่งพิมพ์กับสินค้าจริง การดึงดูดความสนใจ และสอดคล้องกับผลการศึกษาของ สุชลา วัฒนาพานิชกุล (2550) ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ พบว่า ภาพประกอบมีความคมชัดและสวยงาม นอกจากน้ันผู้ เข้ามาใช้บริการส่วนมากยังรู้สึกว่าภาพในโบรชัวร์หรือโปสเตอร์เป็นภาพท่ีดูแล้วไม่เกินจริง ทั้งยังมีความ เหมาะสมของภาพถ่าย จากผลการศึกษาด้านการสร้างความประทับใจทําให้ข้อมูลท่ีส่ือสารเป็นท่ีจดจํา เก่ียวกับ ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ ความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อสื่อสิ่งพิมพ์ ด้านความปลอดภัยทางถนน ในระดับความพึงพอใจมาก โดยมีการใช้ข้อความ หรือบทความที่เป็นที่น่า จดจาํ และนา่ ติดตาม สอดคล้องกบั ผลการศึกษา วิภูษิต รอดแสวง (2551) ได้ศึกษาเร่ือง การออกแบบส่ือ ประชาสัมพันธ์เพื่อการโฆษณาสินค้า พบว่า การเลือกใช้ตัวอักษร (ข้อความ) บนสื่อสิ่งพิมพ์สามารถใช้ ตัวอักษรให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์จึงสามารถสื่อความหมายให้ผู้รับสารรับรู้และเข้าใจได้อย่าง สะดวก และสอดคล้องกับผลการศึกษาของ สุชลา วัฒนาพานิชกุล (2550) ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ พบว่า การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์น้ันออกแบบได้ เหมาะสม สวยงามดึงดูดความสนใจ มีความสะดวกในการอ่าน ข้อความ มีความชัดเจน สมดุล และอ่าน เข้าใจงา่ ย ขอ้ ค้นพบ ส่ิงที่ค้นพบจากการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยต่อสื่อส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้ และความเข้าใจ เก่ียวกับส่ือสิ่งพิมพ์ อยู่ในระดับความเข้าใจมาก คือรู้จักสื่อส่ิงพิมพ์ทุกประเภทส่ือมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 67.30 โดยผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าสื่อสิ่งพิมพ์ท่ีน่าสนใจในการสื่อข่าวสารมากท่ีสุด ได้แก่ ส่ือสิ่งพิมพ์ ประเภทโปสเตอร์ คิดเป็นร้อยละ 55.10 และส่ือสิ่งพิมพ์ที่เหมาะสมท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความ ปลอดภัยทางถนนมากที่สุด ได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ประเภทแผ่นพับ คิดเป็นร้อยละ 42.90 และผู้ตอบ แบบสอบถาม ให้ความพึงพอใจมากท่ีสุด ในด้านการดึงดูดใจเพื่อให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความสนใจในส่ือ สิ่งพิมพ์ ในเรื่อง การออกแบบที่มีการดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจถึงเรื่องการรณรงค์ด้านความปลอดภัย, ด้าน การการถ่ายทอดข้อมูลที่ต้องการจะส่ือสารอย่างชัดเจน และเหมาะสมกับผู้รับสื่อ ในเร่ือง การใช้การ ออกแบบด้านการนํารูปภาพท่ีมาประกอบส่ือเป็นรูปภาพที่เหมาะกับเน้ือหาในการรณรงค์ และด้านการ สร้างความประทับใจทําให้ข้อมูลท่ีสื่อสารเป็นที่จดจํา ในเร่ืองการใช้ข้อความ หรือบทความท่ีเป็นที่น่าจด จาํ และนา่ ติดตาม ข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อ สอ่ื ส่ิงพิมพ์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน ผู้ศึกษามขี ้อเสนอแนะ ดังนี้ การสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั สอ่ื ส่ิงพมิ พ์ด้านความปลอดภัยทางถนน ผู้รับส่ือข่าวสารส่วนใหญ่รู้จักส่ือสิ่งพิมพ์หลากหลายประเภท เป็นที่นิยมใช้สื่อสารกันอยู่ ในปัจจุบัน แต่มีเพียงส่ือสิ่งพิมพ์บางประเภท อาทิ แผ่นพับ และใบปลิวเท่านั้นที่ผู้รับส่ือข่าวสาร ส่วนใหญ่ พบเห็น และมีการใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน ฉะนั้นการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ผู้ที่ เก่ียวข้องในการผลิตสื่อ สามารถที่จะนําส่ือรูปแบบอื่นๆ มาใช้ในการรณรงค์เพ่ือเพ่ิมรูปแบบ ช่องทางใน การสื่อสารส่ผู ู้รับขา่ วสารได้อกี หลายรปู แบบ การสร้างการออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์ (The Media Design) ด้านความปลอดภัยทาง ถนน ผู้รับส่ือข่าวสารส่วนใหญ่ ให้คําแนะนําในการออกแบบ โดยมีการดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจ ถึงเร่ืองการรณรงค์ด้านความปลอดภัย ด้านข้อความในการรณรงค์ท่ีชัดเจน มีรูปแบบตัวอักษรที่มีขนาด ใหญ่ เหมาะสม และข้อความจะต้องเห็นและจดจําได้ง่าย รูปภาพท่ีใช้ประกอบต้องมีความเกี่ยวข้อง และ รูปภาพชัดเจน มีขนาดท่ีเหมาะสม และมีการจัดองค์ประกอบทางการออกแบบท่ีเหมาะสมสวยงาม มีการ ใช้สีสัน ที่โดดเด่นดึงดูดสายตา และชวนให้น่าติดตาม การเลือกรูปแบบสื่อควรที่จะคํานึงถึงช่วงอายุ วุฒิ ภาวะของผู้รบั ส่ือ โดยอาจมีการผลิตส่ือใหเ้ หมาะสมกบั ผรู้ บั สอ่ื แต่ละช่วงวัยต่างๆ กัน ขอ้ จํากดั ของการศกึ ษา การสอบถามถึงความพึงพอใจ ควรถามท้ังผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการรณรงค์ และผู้ท่ีรับ การรณรงค์ เพ่ือทําให้ทราบถึงความคิดเห็นว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อท่ีผู้ผลิตสื่อจะได้เข้าใจว่า ความต้องการท่ีแท้จริงของผู้ใช้สื่อ และผู้รับส่ือต้องการอย่างไร ซึ่งอาจจะได้คําตอบท่ีใช้เป็นแนวทางได้ หลากหลายกว่าที่ไดจ้ ากการศึกษาในครั้งนี้

บรรณานุกรม กาญจนา สรุ วัฒน์. 2546. การส่อื สารการตลาด.กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ฉัตรชัย พงษ์พิจิตร.2535. ทัศนคติท่ีมีต่อการรับรู้เร่ืองในปัจจัยด้านต่างๆเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร. การค้นควา้ แบบอิสระเชงิ วิทยานพิ นธ์ บัณฑิตวทิ ยาลยั ส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร.์ ชัยสิทธ์ิ เฉลิมมีประเสริฐ. 2544. สถิติเพ่ือนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ชาริณี กวีวุฒิการ.2536. พฤติกรรมการรับรู้ของบุคคลท่ีมีความพึงพอใจต่อสิ่งเร้า. การค้นคว้า แบบอิสระเชงิ วิทยานิพนธ์ บณั ฑิตวิทยาลยั สังคมศาตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา. ซิกมันด์ ฟรอยด์ (S. M. Freud) อ้างจาก สุวรรณา สินธ์สุวรรณ และคณะ.2549 พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพค์ ร้งั ท่ี 4. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พมิ พซ์ เี อด็ บคุ๊ พลบั ลชิ ช่ิง. ดิเรก รัตน์สุข. 2538. ความพึงพอใจของบุคคลที่มีต่อการทํางานในเชิงบวก.การค้นคว้าแบบอิสระ เชงิ วทิ ยานิพนธ์ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. นภารัตน์ ดวงคําดี. 2544. จิตวิทยาอุตสาหกรรม. พิมพ์คร้ังท่ี 1.กรุงเทพมหานคร สํานักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. ประกายดาว พรหมศรี.2536. ความพึงพอใจของบุคคลที่มีต่อการเลือกประกันภัยรถยนต์. การค้นควา้ แบบอิสระเชงิ วิทยานิพนธ์ บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ปรียากร สมบูรณา. 2535. จิตวิทยาผู้บริโภค. พิมพ์คร้ังท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ซีเอ็ด บคุ๊ พลับลิชชง่ิ . พิทักษ์ ชมทอง. 2538. แรงจูงใจที่ผลต่อการตัดสินใจเลือกยี่ห้อรถยนต์ในเขตจังหวัดลําปาง. การคน้ ควา้ แบบอิสระเชิงวทิ ยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ พัฒนา สารการุณ. 2556. การออกแบบและจัดทําร่างสิ่งพิมพ์.พิมพ์คร้ังท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พ์ซีเอ็ดบ๊คุ พลับลชิ ช่งิ .

วิชัย พรหมทองศรี. 2536. ความพึงพอใจท่ีมีผลต่อการเลือกผลิตภัณฑ์ของบริษัทประกันภัย. การคน้ คว้าแบบอิสระเชงิ วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลยั บริหารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่ วิรุฬ คชมาศ. 2542. ความพึงพอใจท่ีมีผลต่อการรับรู้ด้านตราสินค้า. การค้นคว้าแบบอิสระ เชงิ วทิ ยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลยั บริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ วิภูษิต รอดแสวง. 2551. การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อการโฆษณาสินค้า. การค้นคว้าแบบอิสระ เชงิ วทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑติ วิทยาลยั มณั ฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. ศิริวรรณ เสรีรตั น.์ 2543. หลกั การตลาด. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัทธีระฟิลม์ และไซแท็กซ์. สง่า จาตุรกรณ์. 2540. ความพึงพอใจท่ีมีผลต่อการเลือกซื้อสินค้า. การค้นคว้าแบบอิสระ เชงิ วทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑิตวิทยาลยั บริหารธุรกิจ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ สุเทพ เทพกรณ์. 2541. แรงจูงใจในการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้า แบบอสิ ระเชิงวทิ ยานิพนธ์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั บริหารธุรกิจ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่ สชุ ลา วฒั นาพานิชกุล. 2550. ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์เพ่ือการประชาสัมพันธ์.การ ค้นควา้ แบบอสิ ระเชิงวิทยานิพนธ์ บณั ฑิตวิทยาลัย สือ่ สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. อับราฮัม มาสโลว์ (A.H. Maslow) อ้างจาก สุวรรณา สินธ์สุวรรณ และคณะ 2549. พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพค์ ร้ังที่ 4. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพซ์ เี อด็ บ๊คุ พลบั ลิชช่ิง. Philip Kotler and Armstrong อ้างจาก ธนวรรณ แสงสวุ รรณ และคณะ. 2547. การบริหารการตลาด. พิมพค์ รงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พมิ พ์ซเี อ็ดบุ๊คพลับลชิ ชิ่ง. Shelly A. Peterson. อ้างจาก ประกายดาว อนุพงศ์สมิธกร. 2536. ความพึงพอใจท่ีมีผล ต่อปัจจัยพื้นฐานในการดําเนินชีวิต.วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่

ภาคผนวก

แบบสอบถาม แบบสอบถามเลขท…ี่ …… รูปแบบส่ือส่ิงพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนนมีผลต่อความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แบบสอบถามน้ีจัดทําข้ึนเพื่อเป็นส่วนหนึ่งเพ่ือประกอบการวิจัยส่วนบุคคล (Independent Study Research) หลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 เพื่อศึกษาความพึง พอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่อส่ือสิ่งพิมพ์ด้านความปลอดภัยทางถนน โดยคําตอบท่ีได้จะใช้เป็นส่วนในการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือการศึกษาเท่านั้น ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงใน ความอนเุ คราะห์ของท่านทใ่ี ห้ข้อมูลในครั้งน้ี คําช้ีแจง แบบสอบถามชุดนี้ใช้สอบถาม ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยตอ่ สอ่ื ส่งิ พิมพด์ ้านความปลอดภัยทางถนน โดยแบบสอบถามนีแ้ บง่ ออกเป็น 7 สว่ นดงั นี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปเกยี่ วกบั ระดับ และหนว่ ยงานของผตู้ อบแบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 ข้อมูลทว่ั ไปเกีย่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม ส่วนที่ 3 ข้อมูลดา้ นความรู้ และความเข้าใจเก่ยี วกบั สอ่ื สงิ่ พิมพ์ ส่วนท่ี 4 ข้อมูลความพึงพอใจต่อสื่อสิ่งพิมพ์ในด้านการดึงดูดใจเพื่อให้ผู้ที่พบเห็นเกิดความ สนใจในสือ่ ส่ิงพิมพท์ ีใ่ ช้สาํ หรบั การรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน ส่วนท่ี 5 ข้อมูลความพึงพอใจต่อสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทาง ถนนในดา้ นการถา่ ยทอดขอ้ มูลท่ีต้องการจะส่อื สารอย่างชัดเจนและเหมาะสมกับผู้รับ ส่อื ส่วนที่ 6 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทาง ถนนในด้านการสรา้ งความประทับใจทาํ ใหข้ ้อมลู ที่สอ่ื สารเปน็ ทจี่ ดจํา สว่ นท่ี 7 ข้อเสนอแนะ อ่นื ๆ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปเกยี่ วกับระดบั และหน่วยงานของผ้ตู อบแบบสอบถาม กรุณาทาํ เคร่อื งหมาย  หน้าขอ้ ความที่เปน็ คําตอบของท่าน 1. ทา่ นเปน็ เจา้ หน้าท่สี ังกัดในหนว่ ยงานใดของกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (1) ระดบั กลมุ่ , กอง, สํานัก, ศูนยใ์ นส่วนกลาง (2) วิทยาลยั ป้องกนั และบรรณเทาสาธารณภัย (3) ศูนยป์ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต (4) สาํ นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด (5) หน่วยงานอน่ื ๆ 2. ท่านเป็นเจา้ หน้าท่ปี ฏิบัตงิ านในภมู ิภาค (2) ภาคเหนือ (4) ตะวันออก และตะวนั ตก (1) ภาคกลาง (3) ภาคอสี าน (5) ภาคใต้ ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู ทว่ั ไปเกย่ี วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม กรณุ าทําเครอ่ื งหมาย  หน้าขอ้ ความท่ีเปน็ คําตอบของท่าน 3. เพศ  (1) ชาย  (2) หญงิ 4. อายุ  (1) ไมเ่ กิน 30 ปี  (2) 31-40 ปี  (4) 41-50 ปี  (5) 51 ปีขนึ้ ไป 5. ระดับการศึกษา  (1) ตํา่ กว่าระดับปรญิ ญาตรี  (2) ปริญญาตรี  (3) สูงกว่าปรญิ ญาตรี 6. รายได้ (ต่อเดือน) ของผตู้ อบแบบสอบถาม  (1) ไมเ่ กิน 15,000 บาท  (2) 15,001 – 20,000 บาท  (3) 20,001 – 25,000 บาท  (4) 25,001 – 30,000 บาท  (5) 30,001 – 35,000 บาท  (6) 35,001 บาทข้นึ ไป ส่วนที่ 3 ข้อมูลดา้ นความรู้ และความเข้าใจเกีย่ วกับสอื่ สง่ิ พมิ พ์ กรุณาทําเครื่องหมาย  หน้าข้อความทเ่ี ป็นคาํ ตอบของทา่ น 7. ท่านรู้จกั สอ่ื สง่ิ พิมพป์ ระเภทใดบ้าง ? (ตอบไดม้ ากกว่า 1 คําตอบ)  (1) ใบปลวิ  (2) แผ่นพับ  (3) โปสเตอร์  (4) คู่มอื รณรงค์  (5) หนงั สอื พิมพ์  (6) สตกิ เกอรร์ ณรงค์  (7) ทุกประเภท 8. ส่อื ส่ิงพิมพ์ประเภทใด ? ท่ีท่านมีความคดิ เห็นว่า นา่ สนใจทส่ี ดุ ในการส่อื ขา่ วสาร (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คําตอบ)  (1) ใบปลวิ  (2) แผ่นพับ  (3) โปสเตอร์  (4) ค่มู อื รณรงค์  (5) หนังสือพิมพ์  (6) สตกิ เกอรร์ ณรงค์  (7) ทกุ ประเภท

9. ท่านคดิ วา่ สื่อสงิ่ พิมพท์ ใี่ ช้สาํ หรบั การรณรงคด์ ้านความปลอดภัยทางถนน ในรปู แบบใด ? เหมาะสมทส่ี ดุ  (1) ใบปลิว  (2) แผ่นพับ  (3) โปสเตอร์  (4) คู่มอื รณรงค์  (5) หนังสือพมิ พ์  (6) สติกเกอรร์ ณรงค์ ส่วนที่ 4 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนใน ด้านการดงึ ดูดใจเพ่ือให้ผทู้ พี่ บเหน็ เกิดความสนใจในส่ือสิง่ พิมพ์ กรุณาทําเคร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ความทเี่ ป็นคําตอบของทา่ น โดยแทนคา่ ความคดิ เหน็ ด้านความพงึ พอใจ จาก (5) มีระดับมากท่ีสุด, (4) มีระดับมาก, (3) มรี ะดับปานกลาง, (2) มรี ะดบั น้อย และ (1) มีระดับนอ้ ยที่สดุ ดา้ นการดึงดูดใจเพอื่ ให้ผทู้ พ่ี บเหน็ เกดิ ความสนใจในสอื่ ส่ิงพมิ พ์ (5) (4) (3) (2) (1) 10. สื่อส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการกาํ หนดผรู้ ับสาร หรือกลุ่มเป้าหมายอยา่ งชัดเจน สื่อสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 11. มกี ารออกแบบทมี่ กี ารดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจถึงเรื่องการรณรงค์ ดา้ นความปลอดภัย สื่อส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 12. มีการกําหนดรูปแบบที่ดึงดูดให้ผู้รับสารเข้าใจเป้าหมายของสื่อ สงิ่ พมิ พน์ ัน้ ส่วนท่ี 5 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือสิ่งพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนใน ดา้ นการถ่ายทอดขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการจะส่ือสารอยา่ งชัดเจนและเหมาะสมกบั ผรู้ ับส่ือ กรณุ าทําเครอ่ื งหมาย  หน้าขอ้ ความทเี่ ปน็ คาํ ตอบของท่าน โดยแทนคา่ ความคิดเหน็ ดา้ นความพงึ พอใจ จาก (5) มรี ะดับมากท่ีสดุ , (4) มีระดบั มาก, (3) มีระดบั ปานกลาง, (2) มีระดับนอ้ ย และ (1) มรี ะดับนอ้ ยท่สี ุด ดา้ นการถ่ายทอดข้อมลู ท่ตี ้องการจะสอื่ สารอยา่ งชัดเจน (5) (4) (3) (2) (1) และเหมาะสมกบั ผ้รู ับสือ่ สื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 13. มีการใช้การออกแบบการกําหนด รูปแบบตัวอักษรท่ีทําให้ กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ ส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 14. มีการใช้การออกแบบการกําหนดการจัดวางตําแหน่งตัวอักษรท่ี เหมาะสมจนทําใหก้ ลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจ สื่อส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 15. มีการใช้การออกแบบด้านการนํารูปภาพท่ีมาประกอบสื่อเป็น รปู ภาพทเี่ หมาะกับเน้ือหาในการรณรงค์ ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 16. มีการใช้การออกแบบด้านการจัดองค์ประกอบต่างๆของหน้าสื่อ ไดอ้ ย่างเหมาะสมจนทาํ ให้กล่มุ เปา้ หมายเกิดความสนใจ 17. สื่อส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการถ่ายทอดขอ้ มลู ทีง่ า่ ยตอ่ การอ่าน และทาํ ความเข้าใจ

ส่วนท่ี 6 ข้อมูลความพึงพอใจต่อส่ือส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนนใน ดา้ นการสรา้ งความประทับใจทําใหข้ อ้ มลู ทสี่ อื่ สารเปน็ ทีจ่ ดจํา กรุณาทําเครือ่ งหมาย  หน้าขอ้ ความทเี่ ป็นคําตอบของท่าน โดยแทนคา่ ความคิดเหน็ ดา้ นความพึงพอใจ จาก (5) มีระดับมากที่สุด, (4) มรี ะดบั มาก, (3) มรี ะดบั ปานกลาง, (2) มีระดับนอ้ ย และ (1) มรี ะดบั น้อยทสี่ ดุ ดา้ นการสร้างความประทบั ใจทาํ ให้ขอ้ มูลที่สอื่ สารเป็นท่จี ดจาํ (5) (4) (3) (2) (1) 18. สื่อส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มกี ารใช้ข้อความ หรือบทความทเี่ ปน็ ทนี่ ่าจดจํา และนา่ ตดิ ตาม 19. สื่อส่ิงพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการใชร้ ปู ภาพในการสรา้ งภาพท่ีนา่ จดจาํ และนา่ ตดิ ตาม 20. ส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน มีการใช้กราฟฟิคท่ดี ึงดดู จนทาํ ใหน้ ่าจดจํา และนา่ ตดิ ตาม ส่ือส่ิงพิมพ์ที่ใช้สําหรับการรณรงค์ด้านความปลอดภัยทางถนน 21. มีการออกแบบท่ีโดดเด่นไม่ซํ้าใครจนดึงดูดใจผู้รับสารทําให้เกิด ความจดจาํ และน่าตดิ ตาม สว่ นท่ี 7 ข้อเสนอแนะ อน่ื ๆ กรุณาระบุความคิดเหน็ ของทา่ นเพม่ิ เติมในพ้ืนทวี่ ่างดา้ นลา่ ง 22. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ (โปรดระบุ) .......................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................ขอบคณุ ใน การสละเวลาตอบแบบสอบถาม

ประวัตผิ ู้วิจัย ช่ือ – นามสกลุ นางสาวศกนุ ตลา ราษฎรอาศัย รหสั ประจําตวั นักศึกษา 29 วนั เกดิ 22 ตลุ าคม 2513 การศึกษา ศึกษาศาสตรบณั ฑติ (ศลิ ปกรรม) สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล ตาํ แหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ สถานท่ปี ฏิบตั ิงาน ฝ่ายผลติ สือ่ โสตทศั นูปกรณ์และสิง่ พิมพ์ กองเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทอี่ ยู่ 69/7 หมู่ 10 ตาํ บลบ้านปรก อําเภอเมอื ง จังหวัดสมทุ รสงคราม 75000 E-mail [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook