รายงานการศึกษา เรอ่ื ง พนื้ ที่ท่เี สยี่ งภยั แลง้ ของประเทศไทย จดั ทาํ โดย ศิริวัฒน์ จิตตนนู ท์ รหสั ประจาํ ตัวนักศึกษา 30 เอกสารนี้เปน็ ส่วนหน่ึงในการศกึ ษาอบรม หลักสตู รนกั บริหารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 ระหวา่ งวันที่ 7 มกราคม -10 เมษายน 2557 วทิ ยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
ก คํานาํ การศึกษาเรอ่ื ง พ้ืนที่ทีเ่ ส่ยี งภัยแลง้ ของประเทศไทย โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อศกึ ษาหาจงั หวดั ที่ เส่ียงภัยแล้งของประเทศไทย และนาํ เสนอเปน็ แผนทสี่ ารสนเทศภูมสิ าสตร์ (GIS) เพ่ือเพิ่มศกั ยภาพในการ วางมาตรการในการแกไ้ ขปัญหา ระยะสั้น กลางและยาว อันจะเป็นประโยชนส์ ําหรบั การบริหารจดั การภัย แลง้ ทัง้ ในการเตรียมการป้องกนั แก้ไข และลดผลกระทบที่จะเกิดข้นึ โดยผลการศึกษาที่ไดร้ บั คาดว่าจะ เปน็ ประโยชน์ต่อการบรหิ ารจัดการภัยแลง้ ของกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้บริหาร และ หน่วยงานตา่ งๆที่เกย่ี วขอ้ ง ผ้ศู ึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ ผลการศึกษาครงั้ น้จี ะเปน็ ประโยชนแ์ ละเป็นแนวทางสําหรับกบั ผูส้ นใจ และผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ ง สามารถประยกุ ตห์ ลักการเทคนิค จากพ้ืนฐานข้อมลู ดังกลา่ ว จนสามารถนําไปขยายผล ต่อไป ในทัศนะทก่ี ว้างมากขนึ้ อันจะเป็นประโยชน์ ในการอธบิ ายปรากฏการณ์ และปัญหาทางดา้ นการ บริหารจัดการภยั แล้งได้อย่างตรงจดุ ละเอยี ดยิ่งขึ้นและชดั เจนยง่ิ ขน้ึ จนสามารถใชว้ ิเคราะห์ไดใ้ นระดับ หมู่บ้าน ในแตล่ ะจังหวัด พร้อมท้งั ประยุกตใ์ ช้ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรไ์ ด้เป็นอยา่ งดี ดงั นนั้ หากเอกสารงานวจิ ยั สว่ นบุคคลฉบบั นี้ มีขอ้ บกพรอ่ งหรือผิดพลาดประการใด ผู้ศกึ ษาวจิ ยั ขอนอ้ มรับดว้ ยความเคารพ และจะนาํ ไปปรบั ปรงุ แก้ไข ในโอกาส ตอ่ ไป ศิรวิ ัฒน์ จิตตนูนท์ มีนาคม 2557
กติ ติกรรมประกาศ ข เอกสารการศึกษาวิจัยส่วนบุคคล เร่ืองพื้นท่ีท่ีเสี่ยงภัยแล้งของประเทศไทยฉบับนี้ สําเร็จลุล่วง ดว้ ยดี เพราะได้รับความเมตตาและความกรุณาให้คําแนะนํา แนวทาง คําปรึกษา และตรวจสอบแก้ไข จน สมบรูณ์จากท่านอาจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ ขนิษฐบุตร และอาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษา งานวิจัยนักศึกษา นบ.ปภ. รุ่นที่ 10 อย่างใกล้ชิด และขอขอบพระคุณผู้บริหารกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีได้กรุณาคัดเลือกให้ผู้วิจัยได้มีโอกาสเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ในครั้งน้ี โดยเฉพาะ ผู้อํานวยการ วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นางสาวลักขณา มนิมนากร) รองผู้อํานวยการวิทยาลัยป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ฝ่ายฝึกอบรม (นายวิจารณ์ เหล่าธรรมย่ิงยง) และเจ้าหน้าที่วิทยาลัยป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ทกุ คน นอกจากน้ี ขอขอบคุณ เพื่อนนักศึกษานักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รุ่นท่ี 10 ทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือเสียสละเวลา ให้ข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ และคําแนะนําในการศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้ หากเอกสารงานวิจัยส่วนบุคคลฉบับน้ี มีข้อบกพร่องผิดพลาดประการใด ผู้ศึกษา ขอน้อมรับด้วย ความเคารพ และจะนาํ ไปปรับปรงุ แกไ้ ข ในโอกาส ต่อไป ศิรวิ ัฒน์ จิตตนูนท์ มีนาคม 2557
ค บทสรุปผู้บริหาร น้ําเป็นทรพั ยากรธรรมชาติอันมคี ณุ ค่ายิง่ ดังกระแสพระราชดํารัสท่ีกล่าววา่ “หลักสําคัญตอ้ งมนี ้ํา นํา้ บรโิ ภคและนํา้ ใช้ นาํ้ เพ่ือการเพาะปลูกเพราะชีวิตอยู่ท่ีนน่ั ถ้ามีนํา้ คนอยู่ได้ ถา้ ไมม่ นี ํ้าคนอยู่ไม่ได้ ไมม่ ีไฟฟา้ คนอย่ไู ด้ แตถ่ ้าไม่มไี ฟฟ้า ไม่มนี ้าํ คนอยไู่ ม่ได้” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว เม่ือวนั ที่ 17 มีนาคม 2529 ณ พระตําหนักจติ รลดารโหฐาน ปญั หาวกิ ฤติภยั แลง้ ซ่งึ เกิดจากช่วงฤดฝู น แต่ฝนไม่ตกตอ้ งตามฤดกู าล ทําใหเ้ กิดภาวะฝนทิ้งชว่ ง เปน็ ระยะเวลายาวนาน ทาํ ให้แหล่งเก็บกกั น้ํามปี ริมาณนาํ้ ไมเ่ พยี งพอ ประชาชนมปี รมิ าณเพิ่มขึ้นของท้งั ในชนบท ใน เมอื งและในเขตอุสาหกรรม ทําให้มคี วามต้องการใชน้ ํ้ามากข้ึน ทาํ ใหใ้ นหลายพน้ื ทีป่ ระสบปัญหาภาวะภยั แล้ง จงึ มคี วามจําเปน็ ทจี่ ะตอ้ งทําการศกึ ษาเร่อื ง พ้นื ทที่ ี่เสีย่ งภัยแล้งของประเทศไทย เพื่อให้ ผู้บริหาร ทราบถึงสถานการณภ์ ัยแลง้ ท่กี ําลงั จะเกิดขึ้น และมขี อ้ มลู ประกอบเพ่อื ใชส้ งั่ การในการประสานงานกบั หน่วยงานราชการตา่ งๆทีเ่ ก่ียวขอ้ ง และเตรียมการบรรเทาความเดอื ดรอ้ นทก่ี าํ ลงั จะเกดิ ข้นึ การศึกษาในคร้ังน้ี มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษาหาจงั หวดั ทีเ่ สี่ยงภยั แลง้ ของประเทศไทย และ นาํ เสนอเปน็ แผนที่สารสนเทศภมู ิสาสตร์ (GIS) ผศู้ กึ ษาได้กาํ หนดขอบเขตของการศกึ ษา โดยรวบรวม ข้อมูลจากจาก Website ของหน่วยงานต่างๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง เชน่ กรมอตุ ุนิยมวิทยา กรมชลประทาน การ ไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย กรมทรัพยากรนา้ํ บาดาล กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ต้นโดย มีขอบเขตดา้ นตวั แปร ทีเ่ กย่ี วข้องกับการศึกษา ได้แก่ ปรมิ าณฝนสะสม ฝนขาดช่วง ระดบั นาํ้ ในลาํ นาํ้ สาย หลัก ปริมาณนาํ้ ในอา่ งเก็บน้ํา พ้ืนท่ที ี่ขาดแคลนน้ําอปุ โภค-บริโภค-จุดจ่ายนา้ํ บาดาล พ้ืนทท่ี ่ีประสบปญั หา ภัยแลง้ ซ้าํ ซาก โดยใชค้ า่ เปอรเ์ ซ็นต์ในการถว่ งนาํ้ หนัก ประโยชน์ที่ใช้ในการศกึ ษาเพอ่ื ใหห้ น่วยงานต่างๆที่เก่ียวข้องและผู้บริหารทราบถึงสถานการณ์ภัย แล้งที่กําลังจะเกิดข้ึน และเป็นข้อมูลประกอบเพื่อใช้ส่ังการในการประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง และเตรียมการบรรเทาความเดือดร้อนท่ีกําลังจะเกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นเรื่องเร่งด่วน และใช้ พิจารณาตัดสินใจ ในการจัดทําแนวทาง เพื่อจัดทําเป็นแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการในการแก้ไข ปัญหาทรัพยากรนํ้าในพื้นท่ีลุ่มนํ้าต่างๆ ท้ัง 25 ลุ่มน้ํา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดท้ังในระยะส้ันระยะ กลาง และระยะยาวต่อไป ขอ้ เสนอแนะสําหรับการนําผลไปใช้ สาํ หรบั นาํ ผลของข้อมูลจากการศกึ ษา แม้ว่าจะมีการนําเสนอ โดยการบรรยาย อย่างน้อยเดือนละคร้ังในที่ประชุม คณะอนุกรรมการติดตามและแก้ไขปัญหาเร่ืองน้ํา (ณ ห้องประชุม สายชล ชั้น 9 กรมทรัพยากรน้ํา) เพ่ือให้หน่วยงานต่างๆท่ีเก่ียวข้องและผู้บริหาร ได้รับ ทราบถึงสถานการณ์ภยั แล้งที่คาดว่าจะเกดิ ขน้ึ อย่างไรก็ตาม ภายใต้งบประมาณอันจํากัด กรมทรัพยากรนํ้า ก็ให้ความช่วยเหลือประชาชนใน พื้นท่ี เปน็ ประจําทกุ ปอี ยา่ งสม่าํ เสมอ นอกจากนป้ี ระโยชนท์ ไ่ี ด้รับ ภายหลงั การบรรยาย มีดังนี้ คือ 1. ผู้บริหารทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งที่กําลังจะเกิดข้ึน และเป็นข้อมูลประกอบเพื่อใช้ส่ังการใน การประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง และเตรียมการบรรเทาความเดือดร้อนที่กําลังจะ เกิดข้นึ ซงึ่ ถือเปน็ เรอ่ื งเรง่ ดว่ นในดาํ เนนิ การแกไ้ ขปัญหาในระยะส้ัน
ง 2. สามารถนําผลทไี่ ดจ้ ากการวเิ คราะห์สถานการณ์ภัยแล้ง ท่กี ําลังเกดิ ข้นึ ในปปี จั จบุ นั เปรยี บเทยี บกบั สถานการณภ์ ยั แลง้ ที่ผ่านมาในอดีต นําไปใช้โดยจัดเรียงลําดบั ความสาํ คญั ของพื้นทเ่ี สยี่ งภยั ในแตล่ ะจงั หวดั เพือ่ ใหผ้ ู้บรหิ ารสามารถใชข้ อ้ มูลดังกล่าว ประกอบการพจิ ารณาตัดสินใจ ในการจัดทําแนวทาง พร้อมทั้ง วางกรอบ เพ่ือจัดทําเปน็ แผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนปฏบิ ตั ิการในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรนํ้าในพนื้ ท่ีลุม่ นํา้ ต่างๆ ท้งั 25 ลมุ่ น้าํ เพอ่ื ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุดทงั้ ในระยะส้ันระยะกลาง และระยะยาวต่อไป สรุปผล ท่ไี ด้จากการวิเคราะห์ พบวา่ จงั หวัดทม่ี โี อกาสขาดแคลนนา้ํ อุปโภคและบริโภค ซ่ึงรวม ไปถึง พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมซึ่งอยู่นอกเขตชลประทาน โดยมีจงั หวดั ท่ีเสย่ี งภัยแลง้ สูง มี 20 จงั หวัด จังหวัดที่ เส่ียงภยั แลง้ ปานกลาง มี 23 จังหวัด และจงั หวดั ทเ่ี สี่ยงภัยแล้งน้อย มี 13 จงั หวดั และมขี ้อจํากดั กล่าวคือ ผลการคาดการวเิ คราะห์สถานการณ์ภยั แลง้ จะมคี วามถกู ตอ้ งในช่วงปัจจบุ นั และ 1-2 สปั ดาห์ ขา้ งหน้า ขอ้ เสนอแนะสาํ หรับการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป สามารถนาํ ผลของข้อมลู จากการศึกษา ในครงั้ น้ีมาขยาย ผลในทศั นะทก่ี วา้ งมากข้นึ และแก้ปัญหาทางดา้ นการบริหารจดั การภยั แลง้ ไดอ้ ยา่ งตรงจดุ ละเอียดยิ่งข้ึน และชัดเจนย่ิงขึ้น ในระดับหมู่บา้ น ซ่ึงผทู้ าํ วจิ ัย ขอเสนอแนะประเด็นสําหรับการทําวิจยั คร้ังตอ่ ไปดังน้ี พฒั นาปรบั ปรงุ ฐานข้อมลู ใหท้ ันสมยั และเปน็ ปัจจุบัน พัฒนาและเพิม่ เตมิ ฐานข้อมลู ในส่วนของหนองนาํ้ ธรรมชาติ รวมถึงแหล่งนํ้า ที่สรา้ งข้ึนภายใตโ้ ครงการปรบั ปรุงและฟ้นื ฟูแหล่งนา้ํ ใช้ขอ้ มูลภาพถา่ ย ดาวเทียมเพอื่ ดสู ภาพพืน้ ท่ี วา่ มสี ภาวะแห้งแล้ง ในระดับใด
สารบญั จ คาํ นํา หนา้ กติ ตกิ รรมประกาศ ก บทสรุปสําหรับผบู้ รหิ าร ข สารบญั ค-ง บทท่ี 1 บทนํา จ ความสาํ คัญและทีม่ าของการวิจยั 1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา 1 ขอบเขตการศกึ ษา 2 ประโยชนท์ ่ีใช้ในการศกึ ษา 2 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 2 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง 3 4 2.1 ภยั แลง้ 6 2.2 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร(์ Geographic Information System) 7 2.3 การวเิ คราะหเ์ ชิงพน้ื ที่ (Spatial Analysis) 8 2.4 วรรณกรรมที่เก่ยี วข้อง 2.5 กรอบแนวคิด 9 9 บทท่ี 3 ระเบียบวิธีวจิ ยั 9 9 วิธีดําเนินการวิจยั 10 ประชากร 10 กลมุ่ ตัวอยา่ ง เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 19 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 19 การแปรผลขอ้ มลู 27 บทท่ี 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 28 29 การวิเคราะห์พ้ืนทท่ี ีเ่ ส่ียงภัยแล้งของประเทศไทย ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลในแต่ละปจั จัย 30 31 บทที่ 5 สรุปและอภปิ รายผล บทสรปุ การวิเคราะหพ์ ้ืนที่ทเี่ สี่ยงภัยแลง้ ของประเทศไทย ขอ้ เสนอแนะสาํ หรับการนําผลไปใช้ ข้อเสนอแนะสาํ หรบั การวิจัยครั้งตอ่ ไป บรรณานกุ รม ภาคผนวก แบบเสนอโครงรา่ งการศกึ ษาวจิ ัยสว่ นบุคคล (Proposal) ประวตั ิผศู้ ึกษาวิจยั
บทท่ี 1 บทนํา พื้นทท่ี ีเ่ สยี่ งภยั แล้งของประเทศไทย ความสาํ คญั และทีม่ าของการวิจัย อาหาร ท่ีอยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค เป็นปัจจัย 4 ท่ีสําคัญในดํารงชีวิตของมนุษย์ น้ําก็มี บทบาทที่สาํ คญั และเป็นสงิ่ จําเปน็ สาํ หรับการดํารงชีวิต เพราะในร่างกายของมนุษย์ มีน้ําเป็นองค์ประกอบอยู่ถึง 80 % ของร่างกาย นอกจากน้ีมนุษย์ยังต้องใช้น้ําทางด้านการเกษตร เล้ียงสัตว์ การประมง และอุตสาหกรรม นํ้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติอันมีคุณค่าย่ิง ดังกระแสพระราชดํารัสที่กล่าวว่า “หลักสําคัญต้องมีนํ้า น้ําบริโภคและ นํ้าใช้ น้ําเพ่ือการเพาะปลูกเพราะชีวิตอยู่ท่ีน่ัน ถ้ามีน้ําคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้ําคนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถ้าไม่มีไฟฟ้า ไม่มีน้ําคนอยู่ไม่ได้” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2529 ณ พระตาํ หนักจติ รลดารโหฐาน ในการพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ทําให้เกิดการเปล่ียนทางกายภาพของภูมิประเทศ พ้ืนที่ป่าไม้ได้ถูก ทําลายและมีปริมาณลดลงอย่างมาก สืบเน่ืองมาจากการบุกรุกถางป่า เพ่ือใช้เป็นที่ทํากินและที่อยู่อาศัย ประชากรมีปริมาณเพ่ิมมากข้ึนทําให้เกิดความต้องการตัดไม้มาเพ่ือใช้ประโยชน์เพ่ิมข้ึนเป็นเงาตามตัว ยังผลให้ เกิดการขยายเขตเมืองเพิ่มมากขึ้น ประชากรมีความต้องการใช้น้ําเพ่ือการอุปโภค บริโภคเพิ่มมากข้ึน จากการ เปล่ียนแปลงดังกล่าวได้ส่งผลกระทบตามมา คือทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ เน่ืองจากพ้ืนที่ ป่าต้นน้ําตอนบนได้ถูกทําลายลง ทําให้ขาดภาวะสมดุลทางธรรมชาติ เนื่องจากผิวดินสูญเสียการซึมซับน้ําตาม ธรรมชาติ เมอื่ เกิดภาวะฝนตกหนัก ทําให้ปริมาณนํ้าท้ังหมดไหลหลากลงมาจากภูเขาอย่างรวดเร็ว เกิดเป็นนํ้าป่า ไหลหลากเข้าสู่พื้นที่ใกล้เชิงเขาและพ้ืนท่ีบริเวณใกล้เคียงทําให้เกิดน้ําท่วมอย่างฉับพลัน ซึ่งปริมาณนํ้าดังกล่าว จะไหลลงสู่ลํานํ้า จนมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้นเรื่อยจนเอ่อล้นตลิ่ง และเข้าท่วมพ้ืนท่ีเพาะปลูกทําให้เกิดความ เสียหาย ซ่ึงในบางคร้ังก็มีพ้ืนที่น้ําท่วมขังในท่ีลุ่มเป็นระยะเวลายาวนาน หรือท่ีเรียกกันว่าอุทกภัย น่ันเอง และ บางพื้นทีอ่ าจมีการพงั ทลายของดนิ หรอื เรยี กว่า ดินโคลนถลม่ ส่วนประเด็นปัญหาสําคัญที่จะกล่าวถึงอีกด้านหน่ึงก็คือปัญหาวิกฤติภัยแล้ง ซ่ึงเกิดจากช่วงฤดูฝน แต่ ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ทําให้เกิดภาวะฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลายาวนาน เป็นผลให้พื้นที่ลุ่มน้ําตอนบนขาด แคลนแหล่งเก็บกักนํ้าขนาดใหญ่ ทําให้แหล่งเก็บกักนํ้ามีปริมาณน้ําไม่เพียงพอ สืบเน่ืองจากการเพ่ิมข้ึนของ ประชาชนท้ังในชนบท ในเมืองและในเขตอุสาหกรรม ทําให้มีความต้องการใช้นํ้ามากข้ึน ทําให้ในหลายพ้ืนที่ ประสบปัญหาภาวะภัยแล้ง ทําให้เกิดปัญหาการขาดแคลนนํ้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค เพื่อการเกษตร เพื่อ การอตุ สาหกรรมและกจิ กรรมอน่ื ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นท่ีจะต้องทําการศึกษาเรื่อง พ้ืนท่ีท่ีเส่ียงภัยแล้งของประเทศไทย เพื่อให้ มี ผู้บริหารทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งท่ีกําลังจะเกิดขึ้น และมีข้อมูลประกอบเพ่ือใช้ส่ังการในการ ประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆท่ีเก่ียวข้อง และเตรียมการบรรเทาความเดือดร้อนที่กําลังจะ เกิดข้ึน ซึ่งถือเป็นเร่ืองเร่งด่วนในดําเนินการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงการ ปฏบิ ัตงิ านใหเ้ กดิ ผลสําเรจ็ ตามเป้าหมายตอ่ ไปในอนาคต วัตถุประสงค์ของการศึกษา การศึกษาในคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาพื้นที่ท่ีเส่ียงภัยแล้งของประเทศไทย และนําเสนอ เป็นแผนที่สารสนเทศภูมิสาสตร์ (GIS) เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการวางมาตรการในการแก้ไขปัญหา ระยะส้ัน กลางและยาว ตอ่ ไป
2 ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งน้ี ผ้ศู ึกษาได้กาํ หนดขอบเขตของการศกึ ษาดังน้ี 1 วธิ ีการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลจากจาก Website ของหน่วยงานต่างๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา กรมชลประทาน การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย กรมทรัพยากรนํ้า บาดาล กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย เปน็ ต้น 2 ขอบเขตการศึกษา นําขอ้ มูลดงั กล่าว มาวเิ คราะห์โดยใหค้ ะแนนในแต่ละปจั จยั และคิดเป็นร้อย ละ เพื่อหาค่าความน่าจะเป็น ว่ามีจังหวัดใดบ้างในประเทศไทย ท่ีมีโอกาสเส่ียงท่ีจะเป็นพื้นท่ีประสบภัย แลง้ ประเทศไทย 3 ขอบเขตด้านตัวแปร ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา ซ่ึงพิจารณาเลือกแนวทางการคาดการณ์ภัยแล้ง จาก 6 ปัจจัยหลัก โดยใชค้ า่ เปอร์เซน็ ตใ์ นการถ่วงนํ้าหนกั ดงั นี้ 3.1 การพจิ ารณาปริมาณฝนสะสม ปี 2556 เทยี บกับคา่ ฝนเฉล่ีย 30 ปี (10%) 3.2 การพจิ ารณาฝนขาดช่วง ต้งั แต่เดอื น ต.ค. 2556 ถงึ ปจั จบุ นั (20%) 3.3 การพิจารณาระดับนํา้ ในลาํ น้ําสายหลกั (20%) 3.4 การพจิ ารณาปรมิ าณนํ้าในอา่ งเก็บนา้ํ (15%) 3.5 การพจิ ารณาพื้นท่ี ทีข่ าดแคลนนํา้ อุปโภค-บรโิ ภค-จดุ จา่ ยนา้ํ บาดาล (20%) 3.6 การพิจารณาพ้ืนที่ทป่ี ระสบปัญหาภยั แล้งซาํ้ ซากในปี 2548 ถึง 2556 (15%) 4 ระยะเวลาในการศกึ ษา 3 เดอื น ตง้ั แต่เดอื นมกราคม – มีนาคม 2557 ประโยชน์ท่ีใช้ในการศกึ ษา นําข้อมูลจากการศึกษา และได้มีการนําเสนอโดยการบรรยาย อย่างน้อยเดือนละคร้ังในท่ีประชุม คณะอนุกรรมการติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องนํ้า (ณ ห้องประชุม สายชล ช้ัน 9 กรมทรัพยากรนํ้า) เพื่อให้ หน่วยงานต่างๆท่ีเก่ียวข้องและผู้บริหาร ได้รับทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในช่วงปัจจุบัน และ 1-2 สปั ดาห์ ข้างหนา้ และมแี นวโนม้ มที ิศทางเป็นอยา่ งไร ซ่งึ จะมปี ระโยชน์ดังน้ี คือ 1. เพอ่ื ให้ผู้บริหารทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งที่กําลังจะเกิดข้ึน และเป็นข้อมูลประกอบเพื่อใช้ส่ัง การในการประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆที่เก่ียวข้อง และเตรียมการบรรเทาความเดือดร้อนที่ กําลังจะเกิดข้ึน ซง่ึ ถอื เป็นเรอื่ งเรง่ ดว่ นในดาํ เนนิ การแกไ้ ขปัญหาในระยะสนั้ 2. สามารถนําการวิเคราะห์สถานการณ์ภัยแล้ง ที่กําลังเกิดขึ้นในปีปัจจุบันเปรียบเทียบกับ สถานการณภ์ ัยแลง้ ทผ่ี า่ นมาในอดีต โดยสาํ นักนโยบายและแผน กรมทรัพยากรน้ําได้ขอข้อมูลดังกล่าว ท่ีผู้ ศึกษาเก็บรวบรวมในฐานข้อมูล นําไปใช้โดยจัดเรียงลําดับความสําคัญของพ้ืนที่เส่ียงภัยในแต่ละจังหวัด เพื่อให้ผู้บริหารสามารถใช้ข้อมูลดังกล่าว ประกอบการพิจารณาตัดสินใจ ในการจัดทําแนวทาง พร้อมทั้ง วางกรอบ เพอื่ จัดทาํ เป็นแผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนปฏิบัตกิ ารในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรนํ้าในพ้ืนท่ีลุ่มน้ํา ต่างๆ ทง้ั 25 ลุม่ นํา้ เพือ่ ให้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ ทง้ั ในระยะส้ันระยะกลาง และระยะยาวต่อไป นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. ภยั แลง้ (Droughts) หมายถึง ความแหง้ แลง้ ของลมฟา้ อากาศ อนั เกดิ จากการที่มีฝนน้อยกว่า ปกติ หรอื ฝนไมต่ กตอ้ งตามฤดูกาล เป็นระยะเวลานานกวา่ ปกติ 2. ฝนท้ิงช่วง หมายถึง ช่วงที่มีปริมาณฝนตกไม่ถึงวันละ 1 มิลลิเมตรติดต่อกันเกิน 15 วัน ในช่วงฤดฝู น ซึ่งเดือนท่ีมีโอกาสเกิดฝนท้ิงชว่ งสงู คอื เดอื นมิถนุ ายนและกรกฎาคม
3 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง บทนเ้ี ปน็ การนําเสนอ แนวคดิ ทฤษฎแี ละวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับภยั แล้งซ่ึงได้ทาํ การสืบค้น จาก เอกสารทางวิชาการและงานวจิ ัยจากแหล่งต่างๆ ซึ่งจะอธบิ ายให้ทราบถึงความหมาย ลักษณะ ช่วงเวลาใน การเกิดรวมถงึ ระบบสารสนเทศภูมสิ าสตร์ และการประยกุ ต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิสาสตร์ .ในการกําหนด พ้นื ท่ีทีเ่ ส่ียงภัยแล้งของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดทําวิจัยคร้ังนี้ สรุปสาระสําคัญแบ่ง ออกเปน็ 5 สว่ น ดงั น้ี 2.1 ภัยแลง้ 2.2 ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ 2.3 การวิเคราะหเ์ ชิงพืน้ ท่ี 2.4 งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2.5 กรอบแนวคิด 2.1 ภัยแล้ง ภัยแล้ง (Droughts) หมายถึง ความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศ อันเกิดจากการท่ีมีฝนน้อยกว่าปกติ หรอื ฝนไมต่ กต้องตามฤดูกาล เป็นระยะเวลานานกว่าปกติ ภยั แลง้ จาํ แนกประเภทได้ 3 ประเภทคอื ภยั แล้งเชิงอุตุนยิ มวทิ ยา ( Meteorological Drought) เกิดขน้ึ เนอ่ื งจากการมีฝนตกน้อยกว่าปกตหิ รอื มจี าํ นวนวันท่ฝี นตกนอ้ ยผดิ ปกติเปน็ บริเวณกวา้ งและเป็นระยะเวลานานต่อเนื่องกัน ภัยแล้งเชิงอุทกวิทยา (Hydrological Drought) เกดิ ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณน้าํ ทา่ ซึ่งได้แก่ นาํ้ ในแมน่ า้ํ ลาํ คลอง หนอง บงึ อา่ งเก็บนา้ํ ตา่ งๆ เป็นต้น มีปริมาณนาํ้ น้อยกวา่ ปกติ ภยั แล้งเชิงเกษตรกรรม (Agricultural Drought) มีความสมั พันธ์เก่ยี งข้องกับภยั แล้งเชิงอตุ ุนยิ มวิทยาและ ภัยแลง้ เชงิ อทุ กวิทยา เป็นสภาวะที่พืชขาดนา้ํ ซงึ่ เกิดเนอื่ งจากปรมิ าณฝนรวมและการกระจายตัวของ นา้ํ ฝนมีความน้อยกวา่ ปกติ สําหรับภัยแลง้ ในประเทศไทย ส่วนใหญ่เกิดจาก ฝนแล้งและฝนทิ้งช่วง (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2550) ซึ่ง ฝนแล้งเป็นภาวะท่ีฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ส่วนฝนท้ิงช่วง หมายถึง ช่วงท่ีมี ปรมิ าณฝนตกไมถ่ ึงวันละ 1 มลิ ลิเมตร ตดิ ตอ่ กนั เกิน 15 วนั ในชว่ งฤดูฝน ซ่ึงเดือนท่ีมีโอกาสเกิดฝนท้ิงช่วง คือ เดอื นมิถุนายนและกรกฎาคม ภัยแล้ง (Drought) เป็นภัยพิบัติตามธรรมชาติที่เกิดจากการมีนํ้าไม่เพียงพอ ส่งผลกระทบต่อการ ดําเนินชีวิตและต่อระบบเศรษฐกิจ รวมท้ังพืชและสัตว์ การเกิดภัยแล้งไม่มีการบอกหรือแจ้งล่วงหน้าหรือ การพยากรณ์ไดว้ า่ จะเกดิ ข้นึ เม่ือใด (จริ าพร พนั ธ์ประสทิ ธ์ิ,2549 : 7) ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2543: 36) ภัยแล้ง (Drought) เป็นภัยธรรมชาติหรือ ปรากฏการณท์ ่ีเกิดในช่วงเวลาซ่งึ อากาศแห้งผดิ ปกตหิ รือขาดฝน ทําใหเ้ กิดจากการขาดแคลนน้ําใช้ และถ้า มีความรุนแรงอาจทําให้พืชผลเสียหาย ตลอดจนสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ได้รับผลกระทบ ความรุนแรงของความแห้งแล้ง มีความสัมพันธส์ อดคล้องกับสภาวะฝนแล้งหรอื ความแหง้ แล้งของลมฟ้าอากาศ ซงึ่ เกิดจากการมฝี นตกน้อย กวา่ ปกติ หรือฝนไม่ตกตามฤดกู าล โดยสรุป ภัยแล้ง หมายถึงภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้ําในพื้นท่ีใดพื้นท่ีหนึ่งเป็นเวลานาน ฝนแล้งไม่ ตกต้องตามฤดูกาลจนก่อให้เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อชุมชน สําหรับภัยแล้งในประเทศไทย
4 ส่วนใหญ่เกิดจากฝนแล้งและฝนท้ิงช่วง ซึ่งฝนแล้งเป็นภาวะปริมาณฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้อง ตามฤดูกาล กับการเคลือ่ นผา่ นของพายหุ มนุ เขตร้อนทีน่ ้อยกว่าปกติ ชว่ งเวลาในการเกดิ ภยั แลง้ โดยทว่ั ไป (กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา) จะเกดิ ขึ้น 2 ชว่ ง ดังน้ี 1. ในฤดูหนาวระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ และต่อเนื่องมาถึงฤดูร้อน ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม คือช่วงสิ้นสุดของฤดูฝน ซ่ึงเร่ิมจากคร่ึงหลังของเดือนตุลาคม เป็นต้นไป บริเวณประเทศไทยตอนบนจะไม่มีฝนตกมา หรือถ้ามีก็จะมีเพียงจํานวนเล็กน้อย ส่วนมากจะเป็นฝนจาก พายฝุ นฟา้ คะนอง จึงทาํ ให้เกดิ ความแหง้ แล้งเปน็ ประจําทุกปีในชว่ งนี้ และมกั จะมไี ฟป่าเกิดขึ้นตามมาดว้ ย 2. ในฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ในช่วงของกลางฤดูฝน ตั้งแต่ปลายเดือน มิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม ในบริเวณประเทศไทยตอนบนจะเกิดความแห้งแล้ง เนื่องจากมีฝนทิ้งช่วง เกิดขึ้น ประมาณ 1 - 2 สัปดาห์ หรืออาจถึง 1 เดือน ปริมาณฝนในช่วงนี้จะลดลงมีผลกระทบต่อ การเกษตรมาก ทําให้พืชขาดนํา้ เห่ยี วเฉา และแห้งตายไปในที่สุด 2.2 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร(์ Geographic Information System) ในประเทศไทยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Geographic Information System หรอื GIS มกี ารใชค้ ําในความหมายทีห่ ลากหลายแตกตา่ งกนั เชน่ เดยี วกบั ในภาษาอังกฤษก็มีใช้กัน หลายคําด้วยกันเช่น Geo Information System, Spatial Information System, Land Information System และ Geographic Information System หรือ Geo-Informatics GIS. เปน็ ระบบคอมพวิ เตอรแ์ บบหนึง่ ทีใ่ ชใ้ นจดั การจดั การ การวิเคราะหแ์ ละการแสดงผล ข้อมูลในรูป แผนที่ หรือขอ้ มลู เชิงพนื้ ท่ี ที่เก่ยี วข้องกบั ภูมศิ าสตร์โลก(Mc Donell and Kemp, 1995:42) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) หมายถึงระบบที่ใช้ คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณห์ ลกั ในการจดั การเก่ียวกบั ขอ้ มลู ต้งั แต่การรวมรวม การจัดเก็บ การวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจน การเสนอผลการวเิ คราะห์ ประเมินผลข้อมูลเชิงซ้อนทั้งหมดให้อยู่ในรูปท่ีสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ตาม ต้องการ โดยอาศัยลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (วิเชียร ฝอยพิกุล, 2550: 82) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือ ระบบสารสนเทศระบบหนึ่งท่ีนําเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาใช้ใน การนําเข้าข้อมูล การจัดเก็บ การสืบค้น การประมวลผล และการแสดงผลข้อมูลแผนท่ี (Geographic data) โดยข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ท้ังข้อมูลเชิงพื้นท่ี (Spatial data) และข้อมูลเชิงลักษณะ (Attribute data) สามารถอ้างถิงถึงตําแหน่งท่ีมีอยู่จริงบนพื้นโลกได้โดยอาศัย ระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Geocode) (จินตนา อมรสงวนสนิ , 2551: 22) จากท่ีกล่าวมาข้างต้นจึงสรุปได้ว่า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) จึงเป็นระบบสารสนเทศท่ีใช้ในการรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ สามารถนําออกมาใช้หรือดัดแปลง ข้อมลู อย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะของข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) และข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) ที่มีความซ้ําซ้อนและมีจํานวนมากด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือ ความรวดเร็วในการวางแผน การคาดการณ์ การกําหนดนโยบาย หรือการตัดสินใจเพ่ือการเปลี่ยนแปลง ทางด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 2.2.1 องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการทํางานของระบบคอมพวิ เตอร์จาํ เป็นต้องมอี งคป์ ระกอบหลายอย่างเพือ่ ใหร้ ะบบสามารถทํางาน ร่วมกนั ได้ ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตรจ์ ําเป็นต้องมีองค์ประกอบหลายอยา่ งเพ่ือใหส้ ามารถจดั การขอ้ มลู ได้
5 อย่างเป็นระบบและมีประสทิ ธภิ าพ องคป์ ระกอบหลักของระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์แบง่ ออกเป็น 5 สว่ น ใหญ่ ๆ คือ (วิเชยี ร ฝอยพกิ ลุ , 2550: 101) 1) อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ (Hardware) ได้แกเ่ ครอ่ื งคอมพิวเตอรร์ วมไปถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ เชน่ Digitizer, Plotter, Printer เป็นต้น หนา้ ทหี่ ลักของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์คือ หนว่ ยรบั ขอ้ มลู หนว่ ย ประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผล 2) โปรแกรม (Software) คอื ชุดของคําสัง่ ที่สามารถส่งั ใหร้ ะบบทํางานได้ เชน่ โปรแกรมสําเรจ็ รปู ARCVIEW, ARCGIS, ARC/Info, MAP/Info เปน็ ต้น ซ่งึ จะมีฟงั ก์ชัน่ การทํางานต่าง ๆ ท่ีจาํ เปน็ สาํ หรบั การ นาํ เข้า การจัดเก็บหรือการวิเคราะห์ขอ้ มลู 3) ข้อมลู (Data) ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรจ์ ะถูกจดั เกบ็ ในรูปแบบของ ฐานขอ้ มลู ประเภทขอ้ มูลในระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตรแ์ บ่งได้ 2 ประเภทคอื 3.1) ข้อมลู เชงิ พนื้ ที่ (Spatial Data) หรอื ขอ้ มลู ภาพกราฟรกิ (Graphic based or location Data) มกี ารบอกลักษณะ 3 ประการคอื บอกตําแหน่งท่อี ยู่ ชนดิ และความเกย่ี วข้องของส่ิงท่ี อยใู่ นบนแผนที่ 3.2) ข้อมูลคุณลักษณะ (Attribute Characteristic) เป็นข้อมูลเชิงบรรยายคุณลักษณะ ของข้อมูลภาพ อธิบายลักษณะประจําตัว หรือลักษณะท่ีมีการแปรผันในการช้ีบ่งปรากฎการณ์ต่าง ๆ ของ ตําแหน่งน้ัน ๆ โดยแสดงในรูปตัวเลข ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆข้อมูลเชิงพ้ืนที่และข้อมูลคุณลักษณะ มคี วามสมั พนั ธ์ซง่ึ กนั และกันรวมอยใู่ นลักษณะของข้อมูลพืน้ ที่ 4) บุคลากร (People Ware) เป็นผู้ท่ีปฏิบัติงานเก่ียวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ซ่ึง ประกอบด้วยบุคลากรหลายฝ่ายเช่น ฝ่ายบันทึกข้อมูล ฝ่ายเทคนิค ฝ่ายวิเคราะห์ข้อมูล ฝ่ายบริหาร ซึ่ง บคุ ลากรเป็นองค์ประกอบทีส่ าํ คัญทสี่ ุดในระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 5) กระบวนการทํางาน (Process) คือการกําหนดข้ันตอนของการทํางานให้สอดคล้องกัน แต่ละ ขั้นตอนมีกระบวนการท่ีแตกต่างกันผู้ปฏิบัติงานจึงต้องเลือกวิธีที่เหมาะสมท่ีสุดเพื่อให้เกิดมาตรฐานของ องค์กรและรองรับการทาํ งานได้อยา่ งเปน็ ปกติ 2.2.2 ขั้นตอนการใชง้ านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ขน้ั ตอนการใชง้ านระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรป์ ระกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1) การจัดหาข้อมูล เป็นขั้นตอนการจําแนกและจัดหาข้อมูลที่จะนํามาใช้ในการประยุกต์งาน ตา่ ง ๆ เชน่ การจัดหาแผนท่ี ภาพถา่ ย การสาํ รวจขอ้ มูลท่ีเก่ียวข้องอน่ื ๆ 2) การบันทึกและการเรียกข้อมูล เป็นข้ันตอนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ โดย การเปล่ียน ข้อมูลที่รวบรวมมาได้ให้อยู่ในรูปแบบที่ระบบต้องการ เช่นการนําแผนที่เข้าด้วยการใช้อุปกรณ์ดิจิไทเซอร์ และบันทึกรายละเอียดของวตั ถุตา่ ง ๆ ลงในฐานข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบ 3) การจัดเก็บข้อมูล ส่วนประกอบสําคัญอีกอย่างหน่ึงของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ก็คือ ฐานขอ้ มูล ซึ่งควรมกี ารจดั การทีด่ ีเปน็ ระบบเพ่ือใหส้ ามารถทาํ งานไดร้ วดเร็วและถกู ต้อง 4) การวิเคราะห์ข้อมูล เปน็ ข้ันตอนหลักระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้แก่ การจําแนกและจัด กลุ่มขอ้ มลู การดาํ เนนิ การดา้ นสถิติ การหมนุ หรอื การเลื่อนภาพ การเปลี่ยนโครงข้อมูล การปฏิบัติการต่างๆ ที่ เก่ยี วขอ้ งกับภูมศิ าสตร์ เชน่ การเชือ่ มโยงข้อมูล การวัดระยะ การคํานวณ เปน็ ต้น 5) การแสดงผล เป็นการนําข้อมูลด้านภูมิศาสตร์มาแสดงทางจอภาพเครื่องพิมพ์ หรือเครื่อง วาดภาพ ข้อมลู ท่ไี ดอ้ าจเปน็ ตวั เลข แผนที่ หรืออาจเป็นผลการวเิ คราะหใ์ นเชิงสถิตกิ ไ็ ด้
6 วิธีการทาํ งานของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรเ์ ปน็ ลกั ษณะการนําเอาขอ้ มูลหลายประเภทมาผสมผสาน กันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามท่ีต้องการ ซ่ึงในกระบวนการทํางานต้องเก่ียวข้องกับส่วนต่างๆ เช่น เคร่ือง คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําหรับใช้ประมวลผล ข้อมูลนําเข้าข้อมูลที่ได้จากการประมวลผล ตลอดจนการนําข้อมลู ทไี่ ด้ไปใชง้ าน (อทุ ัย สุขสงิ ห์, 2547: 26) วิธีการทาํ งานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แหลง่ ทม่ี า: ดดั แปลงจาก อทุ ยั สขุ สงิ ห,์ 2547: 26 2.3 การวเิ คราะหเ์ ชงิ พื้นท่ี (Spatial Analysis) การวิเคราะห์เชิงพ้ืนท่ีเป็นการวิเคราะห์โดยใช้สมการเชิงเส้นตรง เพ่ือใช้วิเคราะห์พ้ืนที่ที่ให้มีการใช้ พ้ืนที่อย่างเหมาะสมในอนาคต โดยมีการเพ่ิมค่าทางคณิตศาสตร์ในพ้ืนท่ีต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ (สุระ พฒั นเกยี รติ, 2546: 82) ซงึ่ มีขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ดังน้ี 2.3.1 การคัดเลือกปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการศึกษา โดยพิจารณาจากปัจจัยหลักที่เก่ียวข้อง เช่น การศึกษาศักยภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อการพัฒนาเขตท่ีอยู่อาศัย จะพิจารณาจากปัจจัยที่ส่งผล กระทบทางกายภาพ ไดแ้ ก่ ความลาดชนั ทศิ ด้านลาด และปัจจัยดา้ นสาธารณปู ระโภคตา่ ง ๆ เป็นตน้ 2.3.2 การเตรียมข้อมูลเชิงพ้ืนที่ เป็นข้อมูลปัจจัยต่าง ๆ ในรูปแบบแผนท่ีท่ีมีรายละเอียดและมาตรา ส่วนที่เหมาะสม ซึ่งควรเป็นข้อมูลที่มาตราส่วนเดียวกัน พร้อมทาการตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลเพื่อความ ถกู ตอ้ งกอ่ นนาไปประยกุ ต์ใช้ 2.3.3 การนําเข้าและจัดเก็บข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นการจัดการข้อมูลให้อยู่ใน รปู แบบโครงสร้างแบบราสเตอรห์ รือเวคเตอร์ตามตอ้ งการ 2.3.4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการกําหนดค่าของปจั จยั ดังนี้ 2.3.4.1 การกําหนดค่าความสามารถของปัจจัย (Rating Value) เป็นการกําหนดค่าระดับ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบหรือปัจจัยย่อยของปัจจัยหลักว่ามีมากน้อยเพียงใดซึ่งกําหนดให้ค่าปัจจัยที่ ไม่มีความสมั พันธ์หรือไม่มีศักยภาพ มคี ่าเป็นศนู ย์ โดยเร่ิมจากหน่ึงและเพิม่ ข้ึนจนถงึ ความสมั พนั ธม์ ากทีส่ ดุ
7 2.3.4.2 การกําหนดค่าน้ําหนักความสําคัญของปัจจัย (Weighting Value) โดยการปรับค่าของ ทกุ ปัจจยั ให้อยใู่ นชว่ งคะแนนเดียวกัน (0 -1) จากนัน้ จงึ ให้คา่ นํ้าหนกั ของแตล่ ะปัจจัย เกณฑ์การกําหนดค่า นํ้าหนักของแต่ละปัจจัยจะให้ค่าความสําคัญ คือ ปัจจัยที่มีความสําคัญมากจะให้ค่านํ้าหนักมาก แต่ถ้ามี ความสาํ คัญนอ้ ยจะมีคา่ ต่าง และการกาํ หนดค่านํา้ หนักจะต้องมคี ่ามากกวา่ ศนู ย์ 2.3.4.3 สามารถนําไปวิเคราะห์หาพ้ืนท่ีที่เสี่ยงภัยแล้ง โดยการคํานวณค่าคะแนนรวมแบบถ่วง นาํ้ หนกั (Weighting Linear Total) จากสมการ S = (W1 R1) + (W2 R2) + (W3 R3) + ……..+ (Wn Rn) S = คา่ คะแนนระดับพน้ื ทีท่ ่ีเสย่ี งภยั แลง้ W1….n = คา่ คะแนนความสําคัญของปัจจยั หลกั 1-n R1….n = คา่ คะแนนของปจั จัยย่อย 1-n 2.3.4.4 การแสดงผล โดยนําผลการคํานวณมาจัดเป็นกลุ่มแล้วนําเสนอเป็นแผนที่แสดงพื้นที่ ท่ี เสีย่ งภยั แล้งของประเทศไทย ตอ่ ไป 2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดข้างต้นแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่าระดับพ้ืนที่ท่ีเส่ียงภัยแล้ง กับ ค่านํ้าหนักของแต่ ละปัจจัย เกณฑ์การกําหนดค่านํ้าหนักของแต่ละปัจจัย โดยการคํานวณค่าคะแนนรวมแบบถ่วงนํ้าหนัก (Weighting Linear Total) ซึ่งในเบ้ืองต้น สามารถใช้เชื่อมโยงกับภายใต้แนวความคิดกับวรรณกรรมใน เรอื่ ง การวเิ คราะห์ตวั ช้วี ดั ภัยแล้งเชิงเกษตรที่เหมาะสมในประเทศไทย กรณีศึกษาลุ่มน้ํามูลตอนบน จัดทํา โดย นายวีรวัฒน์ พิลากุล สาขาวิศวกรรมแหล่งน้ําและส่ิงแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2552 ซ่ึงนํามาเปรียบเทียบกับวรรณกรรมในเร่ือง การ วิเคราะห์ความเสี่ยงต่อความแห้งแล้งในพ้ืนท่ีอําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยการประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ จัดทาํ โดย นายประวิทย์ จันทร์แฉ่ง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ,2553 และรวมวรรณกรรมในเรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการวิเคราะห์พ้ืนท่ีเสี่ยงภัยแล้ง กรณี ศึกษา จังหวัดชัยภูมิ จัดทําโดย นายพงษ์ศักดิ์ ธีระกิตติวัฒนา หลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.รุ่นที่ 6) ,2553 ซ่ึงมีภาพโดยรวมที่คล้ายกัน มีการใช้ข้อมูลท่ีเหมือนกัน ใน หลายด้าน เช่น 1) ใช้ข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลปริมาณฝนรายเดือนเทียบกับค่าเฉลี่ย ข้อมูลความชื้น ขอั มลู อตั ราการระเหย ขอ้ มลู อุณหภมู ิ 2) ใช้ขอ้ มลู ภยั แลง้ ที่เกดิ ขน้ึ จรงิ ในพืน้ ท่ี 3) ใชข้ ้อมลู การใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เพอ่ื บอกตาํ แหน่งพน้ื ท่เี กษตรกรรมท่ปี ระสบภัยแลง้ 4) ใชข้ อ้ มลู พนื้ ที่ชลประทาน 5) ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาช่วยวิเคราะห์พ้ืนที่เส่ียงภัยแล้ง และจัดทําแผนท่ีใน รปู แบบเดียวกนั สําหรับข้อมูลในบางส่วน ท่ีมีความแตกต่างกัน ข้ึนอยู่การตั้งเกณฑ์ปัจจัยเส่ียงกับการนําไปใช้และ ความละเอียดของข้อมูลที่สามารถหาได้ เช่น ความหนาแน่นของลํานํ้า ปริมาณน้ําบาดาล ลักษณะเน้ือดิน การระบายน้ําของดนิ ระยะห่างจากคลองชลประทาน เป็นตน้
8 2.5 กรอบแนวคดิ จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้องสามารถสรปุ เป็นกรอบแนวคิดซึ่งจะนํามาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยใน คร้งั น้ี ดงั น้ี ภาพที่ 2.1:ความสัมพันธ์ระหว่างปจั จัยจากการไดร้ ับการสนับสนนุ ดา้ นต่างๆ ทมี่ ผี ลต่อความสาํ เร็จใน การหาพนื้ ทีท่ ี่เสี่ยงภยั แลง้ ของประเทศไทย ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม ปัจจยั จากการไดร้ บั การ ความสาํ เร็จในการหาพื้นที่ที่ สนบั สนนุ ดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี เสย่ี งภัยแล้งของประเทศไทย - ปรมิ าณฝนสะสม - ฝนขาดชว่ ง - ระดบั นํ้าทา่ - ปรมิ าณนา้ํ ในอ่างเก็บนํา้ - พืน้ ท่ที ขี่ าดแคลนนา้ํ - พื้นทท่ี ปี่ ระสบปญั หา ภัยแล้งซาํ้ ซาก
9 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจยั การวิจัยเรื่อง “พื้นที่ที่เสี่ยงภัยแล้งของประเทศไทย” ผู้วิจัยได้กําหนดรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับ ระเบียบวิธีวิจัย ประกอบด้วย วิธีดําเนินการวิจัย ประชากร ตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา เครื่องมือท่ีใช้ใน การศกึ ษา การสร้างเครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การแปรผลข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งมรี ายละเอียดดงั น้ี วธิ ีดําเนินการวิจัย การศึกษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาแบบเชิงปริมาณ (Quantity value) และเป็นการเก็บข้อมูลใน ลกั ษณะทุติยภูมิ (Secondary data) ซงึ่ ได้จากการติดต่อประสานงาน ขอขอ้ มูลกับหน่วยงานนั้นๆโดยตรง สว่ นทางออ้ มได้จากการเผยแพรข่ ่าวสารข้อมูลจากเว็บไซต์ “Website” ของหน่วยงานตา่ งๆทเี่ ก่ียวขอ้ ง ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา คือข้อมูลปริมาณฝนสะสม ปี 2556 ข้อมูลปริมาณฝนเฉลี่ย 30 ปี ขอ้ มลู ปรมิ าณฝนต้ังแต่เดือน ต.ค. 2556 ถึง ปัจจุบัน ข้อมูลระดับน้ําในลําน้ําสายหลัก ข้อมูลปริมาณนํ้าใน อ่างเก็บนํา้ ข้อมูลพ้ืนท่ที ่ีขาดแคลนนาํ้ อุปโภค-บริโภค-จุดจ่ายนํ้าบาดาล และข้อมูลพื้นท่ีท่ีประสบปัญหาภัย แล้งซ้าํ ซากในปี 2548 ถึง 2556 กลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา คือ การเก็บรวบข้อมูลในลักษณะทุติยภูมิ (Secondary data) ซ่ึงได้จากการ ติดตอ่ ประสานงาน เพ่อื ขอข้อมลู โดยตรง และขา่ วสารข้อมูลจากเว็บไซต์ “Website” ของหน่วยงานต่างๆ อาทิ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมทรัพยากรน้ํา กรม ทรัพยากรนํา้ บาดาล กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น ผู้ทาํ วจิ ัยไดด้ ําเนนิ การเก่ียวกบั การเลอื กตัวอยา่ งดังนี้ รวบรวมขอ้ มูลสถิตปิ รมิ าณฝนเฉลีย่ 30 ปี โดยเรม่ิ ตงั้ แต่ปี 2524 จนถงึ ปี 2554 รวบรวมขอ้ มูลสถิตปิ รมิ าณฝนสะสม ปี 2556 รวบรวมข้อมูลสถติ ิปริมาณฝนสะสม ตั้งแตเ่ ดอื น ต.ค. 2556 ถงึ ปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลสถิติระดับนํา้ ในลาํ นํา้ สายหลกั รวบรวมขอ้ มูลสถิตปิ ริมาณนาํ้ ในอา่ งเกบ็ นํา้ จาํ นวน 33 อา่ ง รวบรวมข้อมลู สถิตพิ ื้นทที่ ่ขี าดแคลนนา้ํ อุปโภค-บรโิ ภค-จดุ จา่ ยนํา้ บาดาล รวบรวมข้อมูลสถติ ิพื้นที่ทีป่ ระสบปญั หาภัยแล้งซํา้ ซากตง้ั แตป่ ี 2548 จนถงึ ปี 2556 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศึกษา ผวู้ จิ ยั ได้รวบรวมปัจจัยจากการได้รับการสนับสนุนด้านต่างๆ ที่มีผลต่อความสําเร็จในการหาพื้นที่ ที่เสี่ยงภัยแล้งของประเทศไทย โดยใช้ค่าน้ําหนักความสําคัญของปัจจัย (Weighting Value) และค่า คะแนนรวมแบบถ่วงน้ําหนัก (Weighting Linear Total) และการประมวลผลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบ สารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ (GIS) เปน็ เครื่องมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษาครง้ั นี้
10 การเก็บรวบรวมข้อมลู ฐานข้อมูลเพ่ือใช้ในการคาดการณ์ภัยแล้งมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ปริมาณฝน สภาพความขาด แคลนน้ําในพ้ืนท่ี และปริมาณน้ําต้นทุนในแต่ละพ้ืนท่ี รวมถึงการนําน้ําไปใช้ (Demand-Supply-Logistics) ซึ่งในการรวบรวมข้อมูล ข้ันตอนที่สําคัญที่สุดคือการดําเนินการตรวจสอบข้อมูล ก่อนนําเข้าฐานข้อมูลทุก ครั้ง ซึ่ง กรมทรัพยากรน้ําได้พิจารณาเลือกแนวทางในการคาดการณ์ภัยแล้งจาก 6 ปัจจัยหลัก โดยใช้ค่า เปอร์เซ็นตใ์ นการถว่ งนํา้ หนกั ดงั นี้ 1) การพจิ ารณาปรมิ าณฝนสะสม ปี 2556 เทยี บกับคา่ ฝนเฉล่ยี 30 ปี (10%) 2) การพจิ ารณาฝนทิง้ ชว่ ง ต้งั แต่เดอื น ต.ค. 2556 ถงึ ปจั จบุ ัน (20%) 3) การพิจารณาระดับนาํ้ ในลาํ น้ําสายหลัก (20%) 4) การพิจารณาปรมิ าณน้ําในอ่างเกบ็ นํ้า (15%) 5) การพจิ ารณาพืน้ ทีท่ ่ีขาดแคลนน้ําอุปโภค-บรโิ ภค-จุดจา่ ยน้ําบาดาล (20%) 6) การพจิ ารณาพ้นื ท่ีท่ีประสบปญั หาภัยแลง้ ซํา้ ซากในปี 2548 ถึง 2556 (15%) นอกจากแนวทางในการคาดการณ์ภัยแล้งจาก 6 ปัจจัยหลัก ท่ีใช้ค่าเปอร์เซ็นต์ในการถ่วงนํ้าหนัก แล้ว สอดคล้องกับรูปแบบการวิเคราะห์เชิงพ้ืนท่ี (สุระ พัฒนเกียติ,2546 :82) โดยคํานวณค่าคะแนนรวม แบบถ่วงนํ้าหนัก Weighting Linear Total S = (W1 R1) + (W2 R2) + (W3 R3) + ……..+ (Wn Rn) อีกทั้ง ยงั ต้องอาศยั อาศัยสถานการณ์น้ําในปัจจุบัน มาประกอบการพิจารณาด้วย เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการ มองภาพรวมของประเทศ เช่น ปริมาณฝนคาดการณ์จากกรมอุตุนิยมวิทยา ปริมาณฝนสะสมรายปีท้ัง ประเทศ ปริมาณฝนเฉลี่ยสะสมรายเดือนทั้งประเทศและรายภาค ปริมาณฝนคาดการณ์จากกรม อุตุนิยมวิทยา เปรียบเทียบสถานการณ์นํ้าในอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่ในปัจจุบันกับในปีที่แล้ว ณ ช่วงเวลา เดียวกัน เพ่ือประกอบการพิจารณาในกรอบใหญ่ให้ชัดเจนอีกครั้ง ว่าสถานการณ์น้ําในปีนํ้า จะมีสภาวะ ภัยแล้งเกิดข้ึนหรือไม่ เมื่อได้คาดการณ์ระยะยาวแล้วก็จะต้องติดตามสถานการณ์เป็นระยะๆ โดยการ วเิ คราะห์เปน็ รายอาทิตย์ เน่ืองจากสภาวะอากาศมคี วามเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ การแปรผลขอ้ มูล ปัจจัยท่ี 1 พิจารณาปริมาณฝนสะสม ในปีที่ผ่านมา (2556) เทียบกับค่าฝนเฉลี่ย 30 ปี (10%) โดยใช้ ข้อมูลในอดีตที่ผ่านมาและในปัจจุบัน ท่ีได้มาจากเว็บไซต์ “http://www.tmd.go.th” ของกรม อุตุนิยมวิทยา ซ่ึงได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นประจําทุกวันอย่างต่อเน่ือง ซึ่งมีสถานีวัดปริมาณ น้ําฝนทีใ่ ชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู ในการหาปรมิ าณฝนสะสม มีจาํ นวนสถานีท้งั สน้ิ 124 สถานี โดยสามารถแบ่งเป็น ภาคได้ ดงั น้ี 1) ภาคเหนือ มสี ถานีวัดปริมาณฝนจํานวน 31 สถานี 2) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีสถานีวัดปริมาณฝนจาํ นวน 28 สถานี 3) ภาคกลาง มสี ถานวี ดั ปริมาณฝนจาํ นวน 21 สถานี 4) ภาคตะวนั ออก มีสถานีวัดปรมิ าณฝนจํานวน 15 สถานี 5) ภาคใต้ มสี ถานวี ดั ปรมิ าณฝนจํานวน 29 สถานี สําหรับข้อมูลที่ใช้ปริมาณฝนสะสม ในปีที่ผ่านมา (2556) มีจํานวนสถานีทั้งส้ิน 124 สถานี ถือ เห็นตัวแทนข้อมูลสําหรับพ้ืนที่ใน76 จังหวัด และนํามาเปรียบเทียบกับปริมาณฝนเฉล่ียสะสม 30 ปี โดย คิดได้จากข้อมูลในอดีต 30 ปี เร่ิมต้ังแต่ปี 2524 จนถึงปี 2553 จากน้ันหาความสัมพันธ์ ในรูปเปอร์เซ็นต์ ดัง จะกลา่ วต่อไป
11 ในปัจจัยที่ 1 น้ี มกี ารแบ่งชั้นสถานะสภาพ ระดับความเสี่ยงภยั ไว้ 5 ระดับ ดงั น้ี 1) ไม่เส่ยี งตอ่ ภัยแลง้ 2) เสย่ี งภัยแล้งในระดับน้อยมาก 3) เสีย่ งภยั แลง้ ในระดับนอ้ ย 4) เสี่ยงภยั แล้งในระดับปานกลาง 5) เสี่ยงภัยแล้งในระดับสูง ดังนั้นในปัจจัยที่ 1 ผลลัพธ์ท่ีหาได้ในแต่ละสถานีจะต้องนํามาแบ่งเปอร์เซ็นต์ให้ได้ 5 ระดับ เพ่ือให้ เข้ากบั หลกั เกณฑ์ ระดบั ความเส่ียงภยั ทก่ี ล่าวมาในตอนตน้ มากกวา่ 95 % ไม่เส่ียงตอ่ ภัยแล้ง อยู่ระหวา่ ง 90 - 95 % เสี่ยงภยั แล้งในระดับนอ้ ยมาก อยรู่ ะหวา่ ง 85 - 90 % เส่ยี งภัยแลง้ ในระดบั น้อย อยู่ระหว่าง 75 - 85 % เสี่ยงภยั แล้งในระดบั ปานกลาง นอ้ ยกว่า 75 % เสย่ี งภัยแล้งในระดับสงู แตใ่ นการถว่ งนาํ้ หนกั ในปัจจยั นมี้ เี พยี ง ร้อยละ 10 ซึง่ ต้องแบ่งเปน็ ชว่ งๆคะแนนอกี คร้ัง เพือ่ ใหเ้ ข้า กับหลักเกณฑ์ ระดับความเสีย่ งภยั ในตอนต้น 0 คะแนน ไมเ่ สี่ยงตอ่ ภยั แลง้ 4 คะแนน เสี่ยงภยั แล้งในระดบั น้อยมาก 6 คะแนน เสยี่ งภัยแล้งในระดับน้อย 8 คะแนน เส่ยี งภัยแล้งในระดับปานกลาง 10 คะแนน เสยี่ งภัยแลง้ ในระดบั สูง ผลลัพธ์ที่หาได้ในปัจจัยท่ี 1 จะแสดงผลของระดับความเสี่ยงในแต่ละจังหวัด โดยแสดงผลเป็นค่า เปอร์เซ็นต์ที่แตกต่างกันตามผลลัพธ์ท่ีได้ในแต่ละจังหวัด แม้ว่าจะแบ่งเป็น 5 ระดับ แต่ก็ยังดูยากเพราะแสดง ในรูปตาราง และมีรายละเอยี ดมาก ทําอยา่ งไรใหล้ ดความยุ่งยากต่อการนําเสนอ เพ่อื ให้ผบู้ ังคับบัญชา สามารถ เหน็ ภาพและเกดิ ความเขา้ ใจง่าย จงึ นําเสนอการแสดงผลลพั ธโ์ ดยใช้ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ มากกว่า 95 % ไมเ่ สีย่ งตอ่ ภยั แล้ง อยู่ระหว่าง 90 - 95 % เส่ียงภยั แลง้ ในระดบั นอ้ ยมาก อยรู่ ะหว่าง 85 - 90 % เส่ียงภยั แล้งในระดับนอ้ ย อยรู่ ะหว่าง 75 - 85 % เสีย่ งภัยแลง้ ในระดับปานกลาง นอ้ ยกว่า 75 % เสีย่ งภัยแลง้ ในระดับสงู การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ท่ีได้ ออกมาในลักษณะแผนท่ี ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ที่ได้แบ่งไว้ในเบ้ืองต้น สําหรับสีท้ัง 5 สี คือ สีแดง สีเหลือง สีนํ้าตาล และสีเขียว ส่วนสีขาว คือไม่เส่ียงต่อภัยแล้ง การใช้สีเป็น ตัวแทนระดับความเสี่ยงใน 76 จังหวดั ปัจจัยท่ี 2 การพิจารณาฝนขาดช่วง ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2556 ถึง ปัจจุบัน (20%) โดยใช้ข้อมูล ที่ได้มาจากเว็บไซต์ “http://www.tmd.go.th” ของกรมอุตุนิยมวิทยา ซ่ึงได้ดําเนินการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลเปน็ ประจําทกุ วนั อยา่ งต่อเน่อื ง ซึ่งมสี ถานีวดั ปริมาณนํา้ ฝนที่ใชเ้ ปน็ ฐานข้อมูลในการหาปริมาณฝน
12 ขาดช่วง มีจํานวนสถานีทั้งสิ้น 124 สถานี ซึ่งเป็นสถานีเดียวกันกับปัจจัยท่ี 1 แต่ใช้ช่วงเวลาของข้อมูล ตา่ งกนั ฐานขอ้ มลู ในการหาปริมาณฝนขาดชว่ ง สามารถแบง่ เป็นภาคๆได้ ดังนี้ ภาคเหนือ มสี ถานวี ดั ปรมิ าณฝนจํานวน 31 สถานี ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีสถานวี ัดปริมาณฝนจาํ นวน 28 สถานี ภาคกลาง มีสถานวี ัดปรมิ าณฝนจาํ นวน 21 สถานี ภาคตะวนั ออก มีสถานีวัดปรมิ าณฝนจาํ นวน 15 สถานี ภาคใต้ มสี ถานีวดั ปริมาณฝนจํานวน 29 สถานี สําหรับเกณฑ์ในการพิจารณา โดยเริ่มนับจากระยะเวลาท่ีมีฝนขาดช่วง ต่อเนื่องกันเป็นเวลาไม่ น้อยกว่า 15 วัน และในแต่ละวัน จะมีปริมาณฝนตกได้ไม่เกิน 1 ม.ม. สําหรับระยะเวลาเร่ิมต้นเก็บ ข้อมลู เรม่ิ ตง้ั แตเ่ ดือนตุลาคม 2556 จนปัจจบุ ัน เนื่องจากการเก็บข้อมูล และการนับระยะเวลาท่ีมีฝนขาดช่วง ของสถานีวัดปริมาณฝนทั้งหมดได้ นับเป็นวันๆ ดังนั้นจะต้องกําหนดใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ได้กําหนดไว้แล้ว โดยแบ่งเป็นช่วงๆอีกครั้ง โดย แบ่งเป็นอาทติ ย์ ซง่ึ ไดก้ ําหนดไว้ 4 ระดับ ดังน้ี ฝนขาดช่วงต่อเนอ่ื งกนั 4 สัปดาห์ เส่ียงภยั แล้งในระดับนอ้ ยมาก ฝนขาดชว่ งตอ่ เนอื่ งกัน 6 สปั ดาห์ เสยี่ งภัยแลง้ ในระดับนอ้ ย ฝนขาดช่วงตอ่ เนอื่ งกนั 8 สัปดาห์ เสย่ี งภัยแลง้ ในระดบั ปานกลาง ฝนขาดชว่ งต่อเนื่องกันมากกว่า 10 สัปดาห์ เส่ียงภยั แลง้ ในระดับสงู สําหรับในการถ่วงนํ้าหนักในปัจจัยท่ี 2 คิดการถ่วงน้ําหนัก ร้อยละ 20 เนื่องจากหลักเกณฑ์ที่ได้ กําหนดไว้แล้ว โดยแบ่งเปน็ ชว่ งสปั ดาห์ และต้องกาํ หนดคา่ คะแนน ตามคะแนนการถว่ งน้ําหนักในปัจจยั ท่ี 2 8 คะแนน ฝนขาดช่วงต่อเน่อื งกนั 4 สัปดาห์ 12 คะแนน ฝนขาดชว่ งต่อเนือ่ งกนั 6 สัปดาห์ 16 คะแนน ฝนขาดชว่ งต่อเนือ่ งกัน 8 สัปดาห์ 20 คะแนน ฝนขาดชว่ งตอ่ เนื่องกันมากกวา่ 10 สปั ดาห์ จากนนั้ แบ่งชั้นคะแนนตามเกณฑ์ท่ีไดก้ ําหนดไว้ 4 ระดบั ดังนี้ ฝนขาดช่วงตอ่ เนอื่ งกัน 4 สปั ดาห์ เสีย่ งภัยแลง้ ในระดบั น้อยมาก ฝนขาดช่วงตอ่ เนอื่ งกัน 6 สปั ดาห์ เสี่ยงภยั แลง้ ในระดบั น้อย ฝนขาดช่วงตอ่ เน่อื งกัน 8 สปั ดาห์ เสีย่ งภัยแลง้ ในระดับปานกลาง ฝนขาดช่วงตอ่ เนอ่ื งกนั 10 สปั ดาหข์ น้ึ ไป เสี่ยงภัยแล้งในระดับสงู ผลลัพธ์ท่ีหาได้ในปัจจัยที่ 2 จะแสดงผลของระดับความเส่ียงในแต่ละจังหวัด โดยแสดงผลเป็นค่า เปอร์เซ็นต์ท่ีแตกต่างกันตามผลลัพธ์ท่ีได้ตามสภาวะฝนท้ิงช่วงในแต่ละจังหวัด แม้ว่าจะแบ่งคะแนนเป็น 4 ระดับ ตามสภาวะฝนขาดช่วงแต่ก็ยังดูยากเพราะแสดงในรูปตาราง และมีรายละเอียดมาก ทําอย่างไรให้ลด ความยุ่งยากต่อการนําเสนอ เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชา สามารถเห็นภาพและเกิดความเข้าใจง่าย จึงนําเสนอการ แสดงผลลัพธโ์ ดยใช้ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ 8 คะแนน ฝนขาดช่วงตอ่ เน่อื งกนั 4 สัปดาห์ 12 คะแนน ฝนขาดช่วงต่อเนื่องกนั 6 สัปดาห์ 16 คะแนน ฝนขาดชว่ งตอ่ เน่ืองกนั 8 สัปดาห์ 20 คะแนน ฝนขาดช่วงต่อเนอื่ งกนั มากกวา่ 10 สปั ดาห์
13 การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ที่ได้ ออกมาในลักษณะแผนที่ ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ที่ได้แบ่งไว้ในเบื้องต้น สาํ หรบั สที งั้ 4 สี คอื สแี ดง สเี หลือง สีนํา้ ตาล และสีเขยี ว เปน็ ตัวแทนระดับความเสีย่ งใน 76 จงั หวดั ปัจจัยท่ี 3 การพิจารณาระดับน้ําในลําน้ําสายหลัก (20%) โดยใช้ข้อมูล สถานีวัดระดับนํ้า ของกรม ชลประทานมจี ํานวนท้ังสิ้น 142 สถานใี น 76 จงั หวัด ได้มาจากเวบ็ ไซต์ “http://www.rid.go.th” ของกรม ชลประทาน ช่วงเวลาของข้อมูลที่นํามาพิจารณาใช้ช่วงเวลา ณ ปัจจุบันของแต่ละสัปดาห์ ซ่ึงเป็นตาม ภาคๆดังนี้ ภาคเหนือตอนบน มีสถานวี ดั ระดบั นํา้ ของกรมชลประทานจาํ นวน 21 สถานี G.10 สถานีบ้านฟูฝาง อ.แม่สรวย จ.เชยี งราย แมน่ ้าํ ลาว G.8 สถานีบ้านต้นยาง อ.แม่ลาว จ.เชียงราย แม่นา้ํ ลาว I.17 สถานบี ้านเจดยี ์งาม อ.เมือง จ.พะเยา แมน่ า้ํ นา้ํ องิ Sw.5A สถานบี ้านทา่ โป่งแดง อ.เมือง จ.แมฮ่ อ่ งสอน แม่น้าํ ปาย P.67 สถานีบา้ นแมแ่ ตง อ.แม่แตง จ.เชยี งใหม่ แม่นํ้าปงิ P.1 สถานีสะพานนวรัฐ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ แม่นํา้ ปิง P.82 สถานบี ้านสบวนิ อ.แม่วาง จ.เชยี งใหม่ แม่นํ้าแม่วาง P.84 สถานบี า้ นพนั ตน อ.แมว่ าง จ.เชยี งใหม่ แมน่ า้ํ แมว่ าง P.81 สถานีบา้ นโป่ง อ.สันกําแพง จ.ลําพนู แมน่ ํา้ แม่กวง P.5 สถานีสะพานทา่ สงิ หพ์ ทิ กั ษ์ อ.เมอื ง จ.ลําพนู แมน่ ํา้ แม่กวง P.76 สถานีบ้านแมอ่ ีไฮ อ.ลี้ จ.ลําพูน น้าํ ล้ี แม่นํ้าล้ี P.87 สถานบี ้านป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลาํ พูน แม่น้าํ ทา P.2A สถานีบ้านท่าแค อ.เมือง จ.ตาก แมน่ ้าํ ปิง P.7A สถานที ่ีสะพานบ้านหว้ ยยาง อ.เมอื ง จ.กาํ แพงเพชร แมน่ าํ้ ปงิ P.17 สถานบี ้านท่าง้วิ อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ แมน่ าํ้ ปงิ W.10A สถานที า้ ยเข่ือนกว่ิ ลม อ.แจห้ ม่ จ.ลําปาง แม่น้ําวงั W.1C สถานสี ะพานเสตุวารี อ.เมือง จ.ลําปาง แม่นํา้ วัง Y.20 สถานีสะพานบ้านห้วยสัก อ.สอง จ.แพร่ แม่นา้ํ ยม Y.1C สถานบี า้ นนํ้าโคง้ อ.เมือง จ.แพร่ แมน่ ้ํายม N.64 สถานีบา้ นผาขวาง อ.ทา่ วังผา จ.น่าน แม่นา้ํ นา่ น N.1 สาํ นักงานปา่ ไม้ อ.เมอื ง จ.นา่ น แมน่ าํ้ นา่ น ภาคเหนือตอนล่าง มีสถานวี ดั ระดบั นาํ้ ของกรมชลประทาน จํานวน 21 สถานี W.4A สถานบี า้ นวังหมนั อ.สามเงา จ.ตาก แมน่ ้ําวงั Y.14 สถานบี ้านดอนระเบยี ง อ.ศรสี ัชนาลยั จ.สโุ ขทัย แมน่ ้ํายม Y.3A สถานบี า้ นวงั ไม้ขอน อ.สวรรคโลก จ.สโุ ขทัย แม่นํ้ายม Y.33 สถานีบา้ นคลองตาล อ.ศรีสาํ โรง จ.สุโขทยั แม่นํ้ายม Y.6 สถานีบ้านแก่งหลวง อ.ศรสี ชั นาลัย จ.สุโขทัย แม่นา้ํ ยม Y.4 สถานสี ะพานตลาดธานี อ.เมอื ง จ.สโุ ขทยั แม่น้าํ ยม Y.16 สถานีบ้านบางระกาํ อ.บางระกาํ จ.พิษณโุ ลก แม่นาํ้ ยม
14 Y.17 สถานีบา้ นสามงา่ ม อ.สามง่าม จ.พิจติ ร แม่น้าํ ยม N.12A สถานบี า้ นบุญนาค อ.ทา่ ปลา จ.อตุ รดติ ถ์ แม่น้ํานา่ น N.60 สถานบี ้านเดน่ สาํ โรง อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ แม่นาํ้ น่าน N.27A สถานีท้ายเขอ่ื นนเรศวร อ.พรหมพริ าม จ.พิษณุโลก แม่น้ํานา่ น N.22 สถานีบ้านยางปา่ คาย อ.วดั โบสถจ์ .พิษณุโลก แม่น้าํ แควน้อย N.5A ในเมือง อ.เมอื ง จ.พิษณุโลก ( ทา้ ยเข่อื นนเรศวร ) แม่นํา้ นา่ น N.24A สถานีบา้ นวังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณโุ ลก แม่นาํ้ เขก็ N.7A สถานีบ้านราชช้างขวัญ อ.เมือง จ.พจิ ิตร แม่น้ํานา่ น N.8A สถานบี างมูลนาก บางมลู นาก พิจิตร แมน่ ํ้านา่ น N.14A สถานหี น้าวัดหลวงพ่อแก้ว อ.ชมุ แสง จ.นครสวรรค์ แมน่ ํ้าน่าน S.33 สถานีบ้านห้วยท่ายาง อ.หล่มเก่า จ.เพชรบรู ณ์ แม่น้ําปา่ สัก S.3 สถานีบ้านตาลเดย่ี ว อ.หล่มสกั จ.เพชรบรู ณ์ แม่น้ําปา่ สัก S.4B สถานสี ะพานพฒั นาภาคเหนือ3 อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ แมน่ ้าํ ป่าสัก S.42 สถานีบา้ นบอ่ วัง อ.วเิ ชียรบุรี จ.เพชรบรู ณ์ แม่นาํ้ ป่าสกั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีสถานวี ดั ระดับน้ํา ของกรมชลประทาน จํานวน 14 สถานี Kh.97 อ.เชียงคาน จ.เลย แม่นํา้ โขง Kh.58A สถานบี า้ นฟากเลย อ.เมอื ง จ.เลย นาํ้ เลย Kh.1 สถานีวัดลาํ ดวน อ.เมือง จ.หนองคาย แม่น้าํ โขง Kh.16B สถานบี า้ นท่าควาย อ.เมือง จ.นครพนม แมน่ า้ํ โขง Kh.104 สถานีวดั ศรบี ุญเรือง อ.เมอื ง จ.มกุ ดาหาร แม่นาํ้ โขง E.23 สถานีบา้ นคา่ ย อ.เมอื ง จ.ชัยภมู ิ แม่น้าํ ชี E.9 สถานีบ้านโจด อ.มญั จาครี ี จ.ขอนแก่น แมน่ ้ําชี E.16A สถานบี ้านทา่ พระ อ.เมือง จ.ขอนแกน่ แม่น้ําชี E.22B สถานีบา้ นทา่ เม้า อ.นา้ํ พอง จ.ขอนแกน่ แม่น้ําชี E.8A สถานบี า้ นดินดํา อ.เมือง จ.มหาสารคราม แมน่ ้าํ ชี E.91 อ.โกสมุ พสิ ยั จ.มหาสารคาม แมน่ ้าํ ชี E.75 สถานีบ้านหนองม่วง อ.เมอื ง จ.กาฬสนิ ธ์ุ แม่นํา้ ชี(ท้ายเขื่อนลําปาว) E.18 สถานีบ้านทา่ ไคร้ ก่ิงอ.ท่งุ เขาหลวง จ.ร้อยเอ็ด แมน่ าํ้ ชี E.20A สถานแี นวสะพาน อ.มหาชนะชยั จ.ยโสธร แมน่ ้าํ ชี ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง มสี ถานวี ดั ระดับน้ํา ของกรมชลประทานจาํ นวน 15 สถานี M.145 สถานบี า้ นวงั กะโล่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า ลาํ พระเพลงิ M.89 สถานสี ะพานอาคารเซร่มุ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ลําตะคอง M.2A สถานบี ้านด่านตะกา อ.เฉลิมพระเกยี รติ จ.นครราชสมี า แม่นํา้ มลู M.8 สถานีบ้านหนองแสง อ.ลําปลายมาศ จ.บุรรี ัมย์ ลําปลายมาศ M.185 สถานบี ้านไผน่ ้อย อ.ลาํ ปลายมาศ จ.บรุ รี ัมย์ ลาํ ปลายมาศ M.6A สถานีบ้านสตกึ อ.สตกึ จ.บรุ รี ัมย์ แมน่ ํ้ามูล M.26 สถานีบา้ นลาํ ชี อ.เมอื ง จ.สุรินทร์ ลาํ ชี M.42 สถานีบ้านหว้ ยทบั ทนั อ.หว้ ยทับทัน จ.ศรีษะเกษ หว้ ยทับทัน
15 M.176 สถานบี ้านโนนศรไี คล อ.กนั ทรารมย์ จ.ศรษี ะเกษ หว้ ยขะยุง M.5 สถานีบา้ นเมอื งคง อ.ราศีไศล จ.ศรสี ะเกษ แมน่ าํ้ มลู M.155 สถานีบา้ นนาผือ อ.เมอื ง จ.อาํ นาจเจรญิ หว้ ยละโอง M.9 สถานบี ้านหนองหญา้ ปลอ้ ง อ.เมอื ง จ.ศรีสะเกษ หว้ ยสําราญ M.179 สถานีบา้ นทา่ วารี อ.เขอื่ นใน จ.อุบลราชธานี ลาํ เซบาย M.7 สถานีสะพานเสรีประชาธปิ ไตย อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี แมน่ าํ้ มลู K.54 สถานีสะพานฯ บ้านล่นิ ถิน่ อ.ทองผาภมู ิ จ.กาญจนบุรี แควนอ้ ย ภาคกลาง มสี ถานีวัดระดับน้ํา ของกรมชลประทาน จํานวน 16 สถานี P.17 สถานีบา้ นท่างว้ิ อ.บรรพตพสิ ยั จ.นครสวรรค์ แมน่ ํา้ ปิง N.67 สถานบี ้านเกยไชย อ.ชมุ แสง จ.นครสวรรค์ แม่นาํ้ นา่ น C.2 สถานีคา่ ยจริ ะประวตั ิ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ แมน่ ํ้าเจา้ พระยา C.3 สถานีบา้ นบางพุดทรา อ.เมือง จ.สิงหบ์ รุ ี แมน่ า้ํ เจ้าพระยา C.7A สถานีบา้ นบางแกว้ อ.เมอื ง จ.อ่างทอง แมน่ ้ําเจา้ พระยา C.35 สถานีสะพานรถยนต์ อ.พระนครศรอี ยธุ ยา จ.อยธุ ยา แมน่ ํา้ เจ้าพระยา C.30 สถานีบ้านสมอทอง อ.หว้ ยคต จ.อทุ ยั ธานี แม่นํ้าห้วยขุนแกว้ Ct.7 สถานบี า้ นใหม่คลองเจริญ ก่ิง อ.แมเ่ ปิน จ.นครสวรรค์ คลองโพธ์ิ Ct.2A สถานีบ้านอทุ ัยใหม่ อ.เมือง จ. อุทัยธานี แมน่ ้าํ สะแกกรงั C.13 สถานีท้ายเข่อื นเจา้ พระยา อ.สรรพยา จ.ชันนาท แมน่ ้ําเจ้าพระยา Ct.9 สถานีบา้ นบุ้งอ้ายเจีย้ ม อ.ลานสกั จ.อทุ ยั ธานี หว้ ยทบั เสลา Ct.5A สถานีบ้านปางมะค่า อ.ขาณวุ รลกั ษบรุ ี จ.กาํ แพงเพชร แมน่ าํ้ สะแกกรงั S.39 สถานบี า้ นบวั ชมุ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี แมน่ าํ้ ป่าสัก S.28A สถานีบ้านคําพราน อ.วังม่วง จ.สระบุรี แม่นํ้าป่าสัก S.9 สถานีบ้านทา่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี (ท้ายเขื่อนป่าสกั ) แมน่ าํ้ ป่าสกั S.5 สถานีรพ.ปัญจมาธิราชอุทศิ จ.พระนครศีอยุธยา แม่นา้ํ ป่าสกั ภาคตะวนั ออก มสี ถานวี ัดระดับนาํ้ ของกรมชลประทาน จํานวน 15 สถานี Ny.1B สถานีบ้านเขานางบวช อ.เมอื ง จ.นครนายก แม่นา้ํ นครนายก Kgt.10 สถานีบา้ นสระขวญั อ.เมอื ง จ.สระแก้ว แม่นาํ้ พระสทงึ Kgt.12 สถานีบา้ นแก้ง อ.เมืองจ.สระแกว้ ค.พระปรง Kgt.14 สถานบี า้ นทงุ่ แฝก อ.นาดี จ.ปราจนี บุรี คลองยาง Kgt.15A สถานบี ้านแกง่ ดินสอ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี หว้ ยโสมง Kgt.1 สถานบี า้ นในเมอื ง อ.เมือง จ.ปราจนี บรุ ี แมน่ ํ้าปราจีนบุรี Kgt.19 สถานบี า้ นเขานางนม อ.พนสั นิคม จ.ชลบรุ ี คลองหลวง Z.21 สถานบี ้านโปง่ นํา้ ร้อน จ.จันทบรุ ีคลองหนิ ดาด แม่นาํ้ จนั ทบรุ ี Z.11 สถานีบ้านเขาจิก อ.แกลงประแสร์ จ.ระยอง ประแสร์ Z.18 สถานบี ้านบา้ นซําฆ้อ ก่ิง อ.เขาชะเมา จ.ระยอง คลองโพล้ Kgt.3 สถานบี า้ นกบนิ ทรบ์ ุรี อ.กบินทรบ์ รุ ี จ.ปราจนี บุรี แม่นาํ้ ปราจนี บุรี Z.14 สถานบี ้านฉมนั อ.มะขาม จ.จันทบุรี คลองพยาธิ์ Z.13 สถานบี า้ นปกึ อ.มะขาม จ.จันทบรุ ี แมน่ าํ้ จันทบรุ ี
16 จนั ทบรุ ี สถานีสะพานวัดจันทร์ อ.เมอื ง จ.จันทบุรี แม่นํ้าจนั ทบรุ ี Z.10 สถานีบา้ นศรบี วั ทอง อ.เขาสมงิ จ.ตราด คลองใหญ่ ภาคตะวันตก มสี ถานวี ัดระดบั นา้ํ ของกรมชลประทาน จาํ นวน 11 สถานี K10 สถานีบ้านลุ่มสมุ่ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี แควนอ้ ย K.37 สถานีบ้านวงั เย็น อ.เมือง จ.กาญจนบรุ ี แควน้อย K.35A สถานบี ้านหนองบวั อ.เมือง จ.กาญจนบรุ ี แควใหญ่ T.1 สถานีหน้าท่ีวา่ การ อ.นครไชยศรี จ.นครปฐม แม่นํา้ ทา่ จีน K.17 สถานบี า้ นบ่อ อ.สวนผงึ้ จ.ราชบรุ ี แควน้อย K.12 สถานบี ้านทุ่งนานางหรอก อ.เมอื ง จ.กาญจนบุรี ลําตะเพนิ K.3 สถานีหน้าวดั ไชยชุมพล(วัดใต้) อ.เมือง จ.กาญจนบุรี แม่กลอง B.10 สถานีทา้ ยเขือ่ นเพชรบรุ ี บ้านทา่ ยาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบรุ ี แมน่ า้ํ เพชรบรุ ี B.3A สถานที ้ายเขอ่ื นแก่งกระจาน อ.แกง่ กระจาน จ.เพชรบรุ ี แมน่ ้าํ เพชรบรุ ี Gt.7 สถานีบา้ นวงั ยาว อ.บางสะพาน จ.ประจวบฯ ค.บางสะพาน Gt.9 สถานบี า้ นกลาง อ.ทบั สะแก จ.ประจวบฯ ค.ทบั สะแก ภาคใต้ มสี ถานีวัดระดับน้าํ ของกรมชลประทาน จํานวน 29 สถานี X.158 สถานีบา้ นวงั ครก อ.ทา่ แซะ จ.ชุมพร คลองทา่ ตะเภา X.180 สถานสี ะพานเทศบาล 2 อ.เมือง จ.ชมุ พร คลองท่าตะเภา X.53A สถานบี ้านวังไผ่ อ.เมอื ง จ.ชุมพร คลองชุมพร X.213 สถานีบา้ นพะโต๊ะ อ.พะโตะ๊ จ.ชมุ พร ค.หลังสวน X.109 สถานบี า้ นควนอนิ นอโม อ.ตะโหมด จ.พทั ลุง คลองบางแกว้ X.170 สถานบี า้ นลํา ก่งิ อ.ศรีนครินทร์ จ.พทั ลงุ ค.นาท่อม X.68 สถานีบา้ นทา่ แค อ.เมือง จ.พัทลุง คลองท่าแค X.266 สถานบี ้านโหละ๊ หาร อ.ปา่ บอน จ.พัทลุง คลองป่าบอน X.37A สถานบี ้านย่านดินแดง อ.พระแสง จ.สรุ าษฎรธ์ านี แมน่ า้ํ พระแสง X.90 สถานบี า้ นบางศาลา อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา คลองอู่ตะเภา X.44 สถานบี ้านหาดใหญ่ใน อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา คลองอ่ตู ะเภา X.204 สถานบี ้านหาดส้มแปน้ อ.เมอื ง จ.ระนอง ค.หาดสม้ แป้น X.188 สถานีบา้ นรมณีย์ อ.กะปง จ.พังงา ตะกัว่ ป่า X.187 สถานบี ้านหนิ ดาน อ.ตะกว่ั ป่า จ.พงั งา ตะกัว่ ปา่ X.186 สถานีบา้ นหนิ ดาน อ.ตะกว่ั ป่า จ.พงั งา ตะก่วั ปา่ X.245 สถานีบา้ นบางตง อ.เมือง จ.พงั งา คลองพงั งา X.190A สถานีบา้ นเกต็ โฮ่ อ.กระทู้ จ.ภเู กต็ ค.บางใหญ่ X.191 สถานรี .ร.สตรีภเู ก็ต อ.เมือง จ.ภเู กต็ ค.บางใหญ่ X.55 สถานีบ้านท่าใหญ่ อ.ลานสกา จ.นครศรธี รรมราช คลองทา่ ดี X.203 สถานีบ้านนาปา่ อ.เมือง จ.นครศรธี รรมราช คลองท่าดี X.149 สถานีบ้านหวั นา อ.นบพิตํา จ.นครศรีธรรมราช คลองกลาย X.56 สถานีบา้ นทา่ ประดู่ อ.หว้ ยยอด จ.ตรงั แมน่ ้ําตรัง
17 X.236 สถานบี า้ นย่านตาขาว อ.ยา่ นตาขาว จ.ตรัง ค.ปะเหลยี น X.150 สถานีบ้านท่าเคียน อ.ละงู จ.สตูล คลองละงู X.239 สถานบี า้ นฉลงุ เหนือ อ.เมอื ง จ.สตูล คลองดสุ น X.40A สถานบี ้านท่าสาบ อ.เมอื ง จ.ยะลา แม่นํ้าปตั ตานี X.40B สถานีท้ายเข่อื นปตั ตานี อ.เมือง จ.ยะลา แม่น้ําปัตตานี X.119A สถานบี ้านปาเสมัส อ.สไุ หงโก-ลก จ.นราธิวาส แมน่ ํ้าโก-ลก X.184 สถานีบ้านซากอ อ.ศรีสาคร จ.นราธวิ าส สายบรุ ี จากน้นั แบง่ ชน้ั คะแนนตามเกณฑ์ทีไ่ ด้กําหนดไว้ 3 ระดับ ดังนี้ ระดบั นํา้ ปกติ ไมเ่ สยี่ งภัยแล้ง (0 %) ระดับนาํ้ นอ้ ย เส่ยี งภยั แล้งในระดบั ปานกลาง (16 %) ระดบั น้าํ นอ้ ยวิกฤติ เส่ียงภยั แล้งในระดบั สงู (20 %) การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ท่ีได้ ออกมาในลักษณะแผนท่ี ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเส่ียงภัย ตามเกณฑ์ท่ีได้แบ่งไว้ในเบื้องต้น สําหรับสีทั้ง 2 สี คอื สีขาว สีเหลือง เป็นตัวแทนระดับความเส่ียงใน 76 จังหวดั ปัจจัยที่4 การพิจารณาปริมาณน้ําในอ่างเก็บนํ้า (15%) โดยใช้ข้อมูล จากเว็บไซต์ “http://www.rid.go.th” ของกรมชลประทาน ซึ่งศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์นํ้าเป็นผู้รวบรวม จัดทําตารางสรปุ สภาพน้าํ ในอา่ งเกบ็ นาํ้ ขนาดใหญ่ทง้ั ประเทศ โดยตารางดงั กลา่ วมีอ่างเก็บนํ้าจํานวนท้ังส้ิน 33 อา่ ง จากนั้นแบ่งชน้ั คะแนนตามเกณฑ์ทไี่ ด้กําหนดไว้ 4 ระดบั ดังน้ี น้าํ ในอา่ งเก็บน้ํา มากกว่า 60% น้าํ มเี พียงพอและไม่เสี่ยงภัยแล้ง (0 %) นํ้าในอ่างเกบ็ น้ํา ตง้ั แต่ 50-60% นาํ้ มปี านกลางและเส่ยี งภัยแล้งน้อยมาก (7.5 %) นา้ํ ในอ่างเก็บนํ้า ตัง้ แต่ 40-50% นาํ้ มนี อ้ ยและเสยี่ งภยั แล้งนอ้ ย (11.25 %) น้ําในอ่างเกบ็ น้ํา นอ้ ยกวา่ 40% นํา้ น้อยวิกฤติ และเสย่ี งภัยแลง้ สงู (15 %) การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรใ์ นการแสดงผลผลลัพธ์ท่ีได้ ออกมาในลกั ษณะแผนที่ ภูมศิ าสตร์ โดยใช้สเี ปน็ ตัวแทนสญั ลกั ษณ์ ของระดบั ต่างๆ ของการเส่ยี งภยั ตามเกณฑ์ที่ไดแ้ บ่งไวใ้ นเบ้ืองต้น สาํ หรบั สีทั้ง 5 สี คอื สแี ดง สีเหลอื ง สีนาํ้ ตาล สีขาว และสเี ทา เป็นตวั แทนระดบั ความเส่ยี งใน 76 จงั หวดั ปัจจัยท่ี5 การพิจารณาพ้ืนที่ที่ขาดแคลนน้ําอุปโภค-บริโภค-จุดจ่ายนํ้าบาดาล (20%) โดยข้อมูลที่ ใช้สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ส่วน คอื ระบบประปาหมูบ่ ้าน และระบบประปาบาดาล ระบบประปาหมู่บ้าน เป็นส่วนหน่ึงของการช่วยเหลอื เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนใน การขาดแคลนน้ําอุปโภค-บริโภค และเปน็ ปจั จยั ขนั้ พืน้ ฐานในการยกระดบั ใหป้ ระชาชนมชี วี ิตความเปน็ อยู่ ท่ดี ขี ้นึ สาํ หรบั แหล่งนํา้ ดิบทใี่ ชใ้ นระบบประปาหมูบ่ ้านได้จากแหล่งนาํ้ ผิวดินและนํา้ บาดาล การสูบจา่ ย น้าํ ประปาโดยการปลอ่ ยนํ้าจากหอถงั สงู หรอื สบู อดั นาํ้ เข้าไปในระบบท่อจ่ายน้ําเพื่อเพ่ิมแรงดนั นาํ้ ทาํ ให้ส่ง นาํ้ ไปไดไ้ กลและใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนได้อยา่ งทวั่ ถึงมากขนึ้ ทาํ ใหล้ ดหมู่บ้านขาดแคลนน้ํา โดยสํานกั บรกิ ารจัดการน้ํา กรมทรพั ยากรนํา้ ได้รวบรวมขอ้ มลู ประปาหมู่บา้ นทัง้ ในส่วนประปาใช้การได้และในสว่ น ท่ปี ระปาชาํ รุด รวมท้งั ในสว่ นท่หี มูบ่ า้ นทไี่ มม่ ปี ระปา ข้อมูลพ้ืนที่ท่ีขาดแคลนนํ้า ระบบประปาหมู่บ้าน โดยพิจารณาพื้นที่ท่ีขาดแคลนน้ํา อปุ โภค-บรโิ ภค (10%)โดยแบง่ เป็น 3 ระดบั คอื
18 ระดับท่ี 1 พนื้ ทที่ ขี่ าดแคลนนํ้าอุปโภค-บรโิ ภคตั้งแต่ 0-20% ระดบั ที่ 2 พ้ืนท่ีทข่ี าดแคลนนํ้าอุปโภค-บรโิ ภคตงั้ แต่ 20-50% ระดบั ที่ 3 พืน้ ทที่ ี่ขาดแคลนน้าํ อุปโภค-บริโภค มากกว่า 50% ระบบประปาบาดาล รวบรวมขอ้ มลู โดยกรมทรพั ยากรนํา้ บาดาล โดยการพิจารณา พนื้ ท่ีที่ขาดแคลนนํ้าจดุ จา่ ยนํา้ บาดาล (10%) โดยแบง่ เปน็ 4 ระดบั คอื ระดับที่ 1 พืน้ ท่ีทีข่ าดแคลนน้าํ อปุ โภค-บริโภคต้งั แต่ 0-20% ระดบั ท่ี 2 พ้นื ทีท่ ขี่ าดแคลนนา้ํ อุปโภค-บรโิ ภคตัง้ แต่ 20-40% ระดบั ท่ี 3 พืน้ ทีท่ ่ขี าดแคลนน้ําอปุ โภค-บรโิ ภคตัง้ แต่ 40-60% ระดับที่ 4 พ้ืนท่ที ่ขี าดแคลนน้ําอุปโภค-บรโิ ภคตัง้ แต่ 60-100% การใชร้ ะบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรใ์ นการแสดงผลผลลัพธ์ทไ่ี ด้ ออกมาในลกั ษณะแผนที่ ภูมศิ าสตร์ โดยใช้สเี ปน็ ตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเส่ียงภัย ตามเกณฑ์ท่ไี ด้แบ่งไวใ้ นเบอ้ื งตน้ สาํ หรบั สีท้งั 3 สี คือ สแี ดง สีเหลอื ง และสเี ขยี ว เป็นตัวแทนระดับความเสีย่ งใน 76 จังหวัด ปจั จยั ท6ี่ การพจิ ารณาพื้นท่ที ีป่ ระสบปัญหาภัยแลง้ ซํ้าซากในปี 2548 ถึง 2556 (15%) พน้ื ที่ที่ประสบปญั หาภยั แล้งซ้ําซากแปดปี ติดตอ่ กนั ผลการวเิ คราะห์แบง่ เปน็ 4 ระดับคือ เสี่ยงภัยแล้งสูง โดยคิดจากจังหวัดที่มีพืน้ ทท่ี ปี่ ระสบภัยแล้งซาํ้ ซากมากกวา่ 60% ของ พืน้ ทจ่ี ังหวดั เสย่ี งภยั แลง้ ปานกลางโดยคิดจากจงั หวัดท่ีมีพ้นื ทีท่ ่ีประสบภัยแล้งซํ้าซากระหว่าง 40%- 60% ของพ้นื ท่ีจงั หวัด เสยี่ งภัยแล้งนอ้ ยโดยคดิ จากจงั หวัดทมี่ ีพื้นท่ีท่ีประสบภัยแล้งซํ้าซากระหวา่ ง 20%- 40% ของพ้นื ทจ่ี ังหวดั ไม่ประสบภยั แลง้ โดยคิดจากจงั หวัดที่มพี ้ืนทีท่ ีป่ ระสบภยั แล้งซา้ํ ซากนอ้ ยกว่า 20% ของ พืน้ ท่จี ังหวัด การใช้ระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรใ์ นการแสดงผลผลลพั ธ์ท่ีได้ ออกมาในลกั ษณะแผนท่ี ภูมศิ าสตร์ โดยใชส้ เี ปน็ ตัวแทนสญั ลักษณ์ ของระดบั ต่างๆ ของการเสยี่ งภยั ตามเกณฑ์ท่ไี ดแ้ บง่ ไว้ในเบื้องตน้ สําหรับสีท้ัง 4 สี คอื สีแดง สีเหลือง สเี ขยี ว และสขี าวเปน็ ตวั แทนระดบั ความเส่ียงใน 76 จังหวัด บทสรปุ ของปัจจยั เสีย่ งทั้ง 6 ปจั จยั ที่ไดจ้ ากการคิดการถว่ งนาํ้ หนกั ตามแต่ละปจั จัย โดยมี คา่ สูงสุด 100 คะแนนเตม็ ทาํ ให้ไดค้ ่าการพยากรณ์ว่าพืน้ ท่ที คี่ าดว่าจะเสยี่ งภยั แลง้ มีจงั หวัดใดบา้ ง ซง่ึ ค่าท่ี ได้จะแบ่งเปน็ 3 ระดับคือ เสย่ี งภัยแล้งมาก เสี่ยงภยั แลง้ ปานกลางและเสยี่ งภยั แล้งนอ้ ย การใชร้ ะบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตรใ์ นการแสดงผลผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ ออกมาในลกั ษณะแผนที่ ภมู ิศาสตร์ โดยใชส้ ีเป็นตัวแทนสญั ลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ทไี่ ด้แบ่งไวใ้ นเบือ้ งตน้ สาํ หรับสที งั้ 3 สี คอื สแี ดง สเี หลือง และสเี ขยี ว เป็นตวั แทนระดับความเส่ียงใน 76 จังหวัด
19 บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะหพ์ ้ืนทีท่ เี่ ส่ยี งภัยแล้งของประเทศไทย บทนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการอธิบายสถานการณ์ภัยแล้ง ที่กําลังเกิดขึ้นในปีปัจจุบัน และ อธบิ ายผล ของตวั แปร หรือ 6 ปจั จัยหลกั ทใ่ี ช้เป็นฐานขอ้ มูลเพื่อใชใ้ นการคาดการณ์ภัยแลง้ ดังได้เคย กล่าวมาแล้วในบทที่แล้ว กรมทรัพยากรน้ํา ได้มีการประชุมกลุ่มคณะทํางานย่อย ซ่ึงมี อธิบดีเป็นประธาน โดยมีคณะทํางานร่วมกันคิด หาแนวทาง ความเป็นไปได้ของฐานข้อมูล ที่เหมาะสม และเปน็ ไปได้ ของปจั จยั ตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง โดยสามารถใช้ข้อมูล ที่มีอยู่ในอดีตและข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ซึ่ง ข้อมูลดังกล่าวมีความต่อเน่ือง และสม่ําเสมอของข้อมูล มีแหล่งที่มาข้อมูลชัดเจน และเป็นข้อมูลที่เชื่อถือ ได้จากหน่วยงานราชการ เพื่อใช้ในการคาดการณ์ภัยแล้งมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ปริมาณฝน สภาพความ ขาดแคลนนํ้าในพ้ืนที่ และปริมาณนํ้าต้นทุนในแต่ละพื้นที่ รวมถึงการนํานํ้าไปใช้ (Demand-Supply- Logistics) ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ในแตล่ ะปัจจยั ปัจจัยที่ 1 พิจารณาปริมาณฝนสะสม ในปีท่ีผ่านมา (2556) เทียบกับค่าฝนเฉล่ีย 30 ปี (10%) โดยใช้ ข้อมูลในอดีตท่ีผ่านมาและในปัจจุบัน ที่ได้มาจากเว็บไซต์ “http://www.tmd.go.th” ของกรม อุตุนิยมวิทยา ซ่ึงได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นประจําทุกวันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีสถานีวัดปริมาณ นา้ํ ฝนที่ใช้เปน็ ฐานข้อมูลในการหาปริมาณฝนสะสม มีจํานวนสถานีท้ังส้ิน 124 สถานี ซ่ึงมีแนวทางและผล การศึกษา ดงั น้ี ผลลัพธ์ที่หาได้ในปัจจัยท่ี 1 จะแสดงผลของระดับความเส่ียงในแต่ละจังหวัด โดยแสดงผลเป็นค่า เปอรเ์ ซน็ ต์ท่ีแตกต่างกันตามผลลัพธ์ท่ีได้ในแต่ละจังหวัด โดยมีผลของระดับความเส่ียงในแต่ละจังหวัด ดังน้ี มี ความเส่ียงภยั แลง้ ในระดบั สงู โดยมปี รมิ าณฝนน้อยกว่าร้อยละ 75 มีจํานวน 6 จังหวัดได้แก่ น่าน สระบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร ยโสธร กาฬสินธุ์ มีความเสี่ยงภัยแล้งในระดับปานกลาง โดยมีปริมาณฝนอยู่ ระหว่างร้อยละ 75 ถึง 85 มีจํานวน 8 จังหวัดได้แก่ อุทัยธานี ตาก สมุทรปราการ นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ขอนแก่น มีความเสี่ยงภัยแล้งในระดับน้อย โดยมีปริมาณฝนอยู่ ระหว่างร้อยละ 85 ถึง 90 มีจํานวน 4 จังหวัดได้แก่ นครปฐม นครนายก นครพนม สุราษฎร์ธานี มีความ เสี่ยงภัยแล้งในระดับน้อยมาก โดยมีปริมาณฝนมากกว่าร้อยละ 90 มีจํานวน 2 จังหวัดได้แก่ อุตรดิตถ์ ปตั ตานี การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ท่ีได้ ออกมาในลักษณะแผนที่ ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ท่ีได้แบ่งไว้ในเบื้องต้น สําหรับสีท้ัง 5 สี คือ สีแดง สีเหลือง สีน้ําตาล และสีเขียว ส่วนสีขาว คือไม่เส่ียงต่อภัยแล้ง การใช้สีเป็น ตวั แทนระดบั ความเสีย่ งใน 76 จังหวัด สรุปผล ในปัจจัยท่ี 1 จังหวัดที่เส่ียงภัยแล้งระดับสูง มี 6 จังหวัด เสี่ยงภัยแล้งระดับปานกลาง มี 8 จังหวดั เสย่ี งภยั แล้งระดบั นอ้ ย มี 4 จงั หวัด และเสี่ยงภยั แลง้ ระดับน้อยมาก มี 2 จงั หวัด
20 ปัจจัยท่ี 2 การพิจารณาฝนท้ิงช่วง ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2556 ถึง ปัจจุบัน (20%) โดยใช้ข้อมูล ที่ ได้มาจากเว็บไซต์ “http://www.tmd.go.th” ของกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นประจําทุกวันอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงมีสถานีวัดปริมาณน้ําฝนท่ีใช้เป็นฐานข้อมูลในการหาปริมาณฝนท้ิงช่วง มีจํานวนสถานที ้ังส้นิ 124 สถานี ซงึ่ มีแนวทางและผลการศกึ ษา ผลลัพธ์ที่หาได้ในปัจจัยที่ 2 จะแสดงผลของระดับความเส่ียงในแต่ละจังหวัด โดยแสดงผลตาม ผลลัพธ์ท่ีได้ตามสภาวะฝนขาดช่วง ดังนี้ ฝนขาดช่วงต่อเนื่องกัน มากกว่า 10 สัปดาห์ มีจํานวน 33 จังหวัดได้แก่ สมุทรปราการ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ชัยนาท ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง แพร่ พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ ตาก พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ชัยภูมิ หนองบัวลําภู อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด สกลนคร มุกดาหาร และระนอง ฝนขาดช่วงต่อเน่ืองกัน 6 สัปดาห์ มีจํานวน 6 จังหวัดได้แก่ กระบี่ ภูเก็ต ชุมพร สตูล ตรัง และปัตตานี และฝนขาดช่วงต่อเนื่องกัน 4 สัปดาห์ มีจํานวน 4 จังหวัด ไดแ้ ก่ นครศรีธรรมราช สรุ าษฎรธ์ านี พัทลุง และยะลา การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ที่ได้ ออกมาในลักษณะแผนที่ ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ท่ีได้แบ่งไว้ในเบื้องต้น สาํ หรบั สที งั้ 4 สี คือ สแี ดง สีเหลือง สีน้าํ ตาล และสีเขียว เปน็ ตวั แทนระดบั ความเสี่ยงใน 76 จังหวดั สรปุ ผล ในปจั จัยที่ 2 จังหวดั ทฝ่ี นขาดช่วงมากวา่ 10 สปั ดาห์ มี 33 จงั หวดั ขาดชว่ ง 6 สัปดาห์ มี 6 จังหวัด และขาดชว่ ง 4 สปั ดาห์ มี 4 จังหวัด
21 ปัจจัยท่ี 3 การพิจารณาระดับนํ้าในลําน้ําสายหลัก (20%) โดยใช้ข้อมูล สถานีวัดระดับนํ้า ของกรม ชลประทานมีจํานวนท้ังส้ิน 142 สถานีใน 76 จังหวัด ได้มาจากเว็บไซต์ “http://www.rid.go.th” ของกรม ชลประทาน ช่วงเวลาของข้อมูลท่ีนํามาพิจารณาใช้ช่วงเวลา ณ ปัจจุบันของแต่ละสัปดาห์ ซึ่งมีแนวทาง และผลการศึกษา ในทางปฎิบัติข้อมูล แม้ว่าขัอมูลในการวิเคราะห์ จะกําหนดไว้ 3 ระดับ คือ ระดับน้ํา ปกติ นํ้าน้อยและน้ําน้อยวิกฤติ ซึ่งผลการวิเคราะห์ พบว่าระดับนํ้าในลําน้ําสายหลัก มีนํ้าน้อยวิกฤติ 46 จังหวัดได้แก่ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ ตาก สุโขทัย พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ นครราชสมี า บุรรี ัมย์ สรุ ินทร์ ศรีสะเกษ อบุ ลราชธานี ยโสธร อํานาจเจริญ ขอนแก่น อุดรธานี เลย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ราชบุรี จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี นครนายก ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง นราธิวาส และระดับน้ําในลําน้ําสายหลัก มีน้ําน้อย 5 จังหวัดได้แก่ อุตรดิตถ์ พิจิตร กาญจนบุรี เพชรบุรี ยะลา การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ท่ีได้ ออกมาในลักษณะแผนท่ี ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ที่ได้แบ่งไว้ในเบ้ืองต้น สําหรับสที งั้ 2 สี คือ สขี าว สีเหลือง เป็นตวั แทนระดบั ความเสี่ยงใน 76 จงั หวดั สรุปผล ในปัจจัยท่ี 3 เพื่อหลีกเลี่ยงความตกใจของประชาชน ได้มีความเห็นให้แสดงเพียงระดับ นาํ้ น้อยเทา่ นัน้ ซึง่ จะไม่แสดงภาพในระดบั น้ําน้อยวิกฤติ ดังน้ันจังหวัดท่ีมีระดับน้ําน้อยในลําน้ําสายหลัก มี 51 จงั หวัด
22 ปัจจัยที่4 การพิจารณาปริมาณน้ําในอ่างเก็บนํ้า (15%) โดยใช้ข้อมูล จากเว็บไซต์ “http://www.rid.go.th” ของกรมชลประทาน ซ่ึงศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ําเป็นผู้รวบรวม จดั ทําตารางสรุปสภาพน้าํ ในอ่างเก็บนาํ้ ขนาดใหญท่ ้งั ประเทศ โดยตารางดงั กล่าวมีอ่างเก็บนํ้าจํานวนท้ังส้ิน 33 อ่าง จากนั้นกระจายนํ้าในอ่างเก็บนํ้าเข้าสู่พื้นท่ีในแต่ละจังหวัด และแบ่งชั้นคะแนนตามเกณฑ์ท่ีได้ กําหนดไว้ 5 ระดับ ดังน้ี ปริมาณนํ้าในอ่างเก็บนํ้า มีมากกว่า 60% มีปริมาณน้ําปกติและไม่เสี่ยงภัยแล้ง มีจํานวน 8 จังหวัดได้แก่ ระยอง สุพรรณบุรี นครปฐม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ลําปาง นครราชสีมา บุรีรัมย์ ปริมาณนํ้าในอ่างเก็บน้ํา ตั้งแต่ 50-60% มีปริมาณนํ้ามีปานกลางและเส่ียงภัยแล้งน้อยมาก มี จํานวน 4 จังหวัดได้แก่เชียงใหม่ ลําพูน สุราษฎร์ธานี ยะลา ปริมาณนํ้าในอ่างเก็บนํ้า ต้ังแต่ 40-50% มี ปริมาณน้ํามีน้อยและเส่ียงภัยแล้งน้อย มีจํานวน 7 จังหวัดได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี ชลบุรี ปริมาณน้ําในอ่างเก็บนํ้า มีน้อยกว่า 40% มีปริมาณน้ําน้อย วิกฤติ และเส่ียงภัยแล้งสูง มีจํานวน 20 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา นครนายก ราชบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก พิษณุโลก พิจิตร อุบลราชธานี ชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ สกลนคร สําหรับจังหวัดท่ีไม่มีอ่างเก็บนํ้า ถือว่ามี ปริมาณน้ําน้อยวิกฤติ และเสี่ยงภัยแล้งสูง มีจํานวน 37 จังหวัด ได้แก่สมุทรปราการ อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี สระแก้ว สมุทรสาคร แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน สุโขทัย เพชรบูรณ์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ หนองบัวลําภู เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร นครศรธี รรมราช กระบี่ พงั งา ภูเก็ต ระนอง ชมุ พร สงขลา สตูล ตรัง พทั ลงุ ปัตตานี นราธวิ าส การใชร้ ะบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรใ์ นการแสดงผลผลลพั ธ์ทไี่ ด้ ออกมาในลักษณะแผนที่ ภูมิศาสตร์ โดยใชส้ เี ป็นตัวแทนสญั ลักษณ์ ของระดบั ต่างๆ ของการเส่ียงภยั ตามเกณฑท์ ไ่ี ดแ้ บ่งไวใ้ นเบอ้ื งตน้ สําหรบั สีท้งั 5 สี คอื สีแดง สเี หลอื ง สนี ํ้าตาล สีขาว และสเี ทา เปน็ ตวั แทนระดับความเส่ยี งใน 76 จงั หวัด
23 สรปุ ผล ในปจั จัยที่ 4 จังหวดั ทมี่ อี า่ งเกบ็ นํ้าและมปี รมิ าณนา้ํ น้อยวิกฤติ มี 20 จังหวัด จังหวัดท่ีมี อ่างเก็บนาํ้ และมปี รมิ าณน้าํ นอ้ ย มี 7 จังหวดั จงั หวดั ทมี่ ีอ่างเกบ็ นํา้ และมีปริมาณน้าํ ปานกลาง มี 4 จังหวดั จังหวดั ที่มอี า่ งเก็บนํา้ และมีปริมาณนาํ้ ปกติ มี 8 จังหวดั และจังหวดั ที่ไมม่ อี ่างเกบ็ นํ้า มี 37 จังหวดั ปจั จัยท่ี5 การพจิ ารณาพื้นที่ทข่ี าดแคลนน้ําอปุ โภค-บรโิ ภค-จุดจ่ายน้ําบาดาล (20%) โดยข้อมูลท่ีใช้ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประปาหมู่บ้าน และระบบประปาบาดาล ซ่ึงมีแนวทางและผล การศึกษา โดยแบ่งเป็น 3 ระดับคือ จังหวัดท่ีมี จํานวนหมู่บ้านที่มีนํ้าอุปโภค-บริโภค-จุดจ่ายนํ้าบาดาล น้อยกว่า 50% ของจํานวนหมู่บ้านท้ังหมดในจังหวัด ทําให้พ้ืนท่ีท่ีขาดแคลนนํ้ามากมีจํานวน 9 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ลําพูน เชียงราย แมฮ่ ่องสอน อทุ ัยธานี ศรีสะเกษ พังงา สุราษฎร์ธานี ชุมพร จังหวัดที่มี จํานวนหมู่บ้านท่ีมีน้ําอุปโภค-บริโภค -จุดจ่ายน้ําบาดาล ระหว่าง 50-80%ของจํานวนหมู่บ้านท้ังหมดใน จังหวัด ทําให้พื้นท่ีที่ขาดแคลนนํ้าปานกลาง มี 43 จังหวัดได้แก่ สมุทรปราการ ปทุมธานี ลพบุรี สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้วราชบุรี สุพรรณบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา นครสวรรค์ กําแพงเพชรตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม กระบี่ ภูเก็ต ระนอง สงขลา สตูล และจังหวัดที่มี จํานวนหมู่บ้านที่มีนํ้า อุปโภค-บริโภค-จุดจ่ายน้ําบาดาล มากว่า 80% ของจํานวนหมู่บ้านท้ังหมดในจังหวัด ทําให้พ้ืนที่ท่ีขาด แคลนนํ้าน้อย มี 23 จังหวัดได้แก่ นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท ตราด นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี สุโขทัย พิจิตร บุรีรัมย์ หนองบัวลําภู ขอนแก่น อุดรธานี มุกดาหาร นครศรธี รรมราช ตรงั พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส การใชร้ ะบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรใ์ นการแสดงผลผลลพั ธท์ ี่ได้ ออกมาในลกั ษณะแผนท่ี ภมู ิศาสตร์ โดยใช้สเี ปน็ ตัวแทนสัญลกั ษณ์ ของระดบั ต่างๆ ของการเส่ียงภัย ตามเกณฑ์ทไี่ ด้แบ่งไว้ในเบือ้ งต้น สําหรับสีท้ัง 3 สี คือ สแี ดง สเี หลือง และสีเขยี ว เปน็ ตัวแทนระดับความเส่ยี งใน 76 จังหวัด
24 สรปุ ผล ในปจั จยั ท่ี 5 จังหวัดที่มี พ้ืนทที่ ี่ขาดแคลนนํ้าอุปโภค-บริโภคมากมี 9 จงั หวัด จงั หวดั ท่ีมี พ้ืนที่ทข่ี าดแคลนนา้ํ อุปโภค-บริโภคปานกลาง มี 43 จังหวัด และจงั หวัดทีม่ ี พ้นื ทท่ี ีข่ าดแคลนนาํ้ อปุ โภค- บริโภคน้อย มี 23 จังหวดั ปัจจัยที่6 การพิจารณาพ้ืนที่ท่ีประสบปัญหาภัยแล้งซ้ําซากในปี 2548 ถึง 2556 (15%) พื้นที่ท่ี ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ําซากแปดปีติดต่อกัน ผลการวิเคราะห์แบ่งเป็น4 ระดับคือ เสี่ยงภัยแล้งสูง โดยคิด จากจังหวัดท่ีมีพื้นท่ีที่ประสบภัยแล้งซ้ําซากมากกว่า 60% ของพื้นที่จังหวัด มี 30 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา สระแก้ว แพร่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ หนองบัวลําภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ สกลนคร มุกดาหาร ระนอง สตูล เส่ียงภัยแล้งปานกลาง โดยคิดจากจังหวัดท่ีมีพื้นท่ีที่ประสบภัยแล้งซํ้าซากระหว่าง 40%- 60% ของพ้ืนที่จังหวัด มี 5 จังหวัด ได้แก่ ปราจีนบุรี ลําปาง พะเยา พิษณุโลก นครพนม เสี่ยงภัยแล้งน้อย โดยคิดจากจังหวัดท่ีมีพ้ืนท่ีท่ี ประสบภัยแลง้ ซ้ําซากระหว่าง 20%- 40% ของพื้นที่จังหวัด มี 14 จังหวัด ได้แก่ อ่างทอง ชัยนาท ระยอง จันทบรุ ี ตราด ราชบุรี กาญจนบรุ ี สุพรรณบรุ ี ลาํ พนู อุตรดติ ถ์ นา่ น นครสวรรค์ ศรีสะเกษ ตรัง ไม่ประสบ ภัยแล้งโดยคิดจากจังหวัดท่ีมีพ้ืนท่ีที่ประสบภัยแล้งซ้ําซากน้อยกว่า 20% ของพื้นที่จังหวัดมี 27 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี ชลบุรีนครนายก นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ นครศรธี รรมราช กระบี่ พงั งา ภเู ก็ต สรุ าษฎร์ธานี ชมุ พร สงขลา พทั ลุง ปตั ตานี ยะลา นราธวิ าส
25 การใชร้ ะบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรใ์ นการแสดงผลผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ ออกมาในลักษณะแผนท่ี ภมู ิศาสตร์ โดยใช้สเี ป็นตัวแทนสญั ลกั ษณ์ ของระดบั ต่างๆ ของการเสย่ี งภัย ตามเกณฑท์ ีไ่ ด้แบ่งไว้ในเบอ้ื งต้น สําหรับสที ้งั 4 สี คือ สีแดง สีเหลือง สีเขียว และสขี าวเปน็ ตวั แทนระดับความเส่ียงใน 76 จงั หวดั สรปุ ผล ในปจั จัยท่ี 6 จงั หวัดทม่ี ี พื้นท่ที ีเ่ สีย่ งภัยแลง้ สงู มี 30 จงั หวัด จังหวัดทม่ี ี พืน้ ทีท่ ่ีเส่ยี ง ภยั แล้งปานกลาง มี 5 จังหวดั จงั หวดั ท่มี ี พนื้ ทีท่ เี่ สย่ี งภัยแลง้ นอ้ ย มี 14 จงั หวดั และจังหวัดท่ี ไม่มีพ้ืนทท่ี ีป่ ระสบภยั แล้ง มี 27 จังหวัด สําหรับบทสรุป ของปัจจัยเสี่ยงท้ัง 6 ปัจจัย ทําให้ได้พ้ืนที่ที่เสี่ยงภัยแล้งของประเทศไทย ว่ามี จังหวดั ใดบ้าง ซ่ึงค่าท่ีได้จะแบ่งเป็น 3 ระดับคือ เส่ียงภัยแล้งมาก เส่ียงภัยแล้งปานกลาง และเสี่ยงภัยแล้ง น้อย และผลวิเคราะห์จะใช้ได้ดีในช่วงขณะดําเนินการวิเคราะห์และสามารถใช้ไปล่วงหน้าได้อีก 1-2 อาทติ ย์เท่าน้ัน เน่อื งจากสภาพปัจจัยท่ี 2 3 และ4 มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังน้ันจึงจําเป็นต้อง วิเคราะห์ใหม่เพ่ือให้ได้ผลท่ีใกล้เคียงความจริง ในแต่ละช่วงเวลาที่เกิดค่าความเปลี่ยนแปลง ซึ่งในขณะนี้มี จังหวัดที่เส่ียงภัยแล้งมาก มี 20 จังหวัด ได้แก่ ลําพูน แพร่ พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน ตาก นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พิจิตร พิษณุโลก สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร อุดรธานี เลย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ปราจีนบุรี จังหวัดที่เสี่ยงภัยแล้งปานกลาง มี 23 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลําปาง อุตรดิตถ์ น่าน อุทัยธานี สุโขทัย จันทบุรี นครนายก สระแก้ว สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา ชัยนาท สระบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี บุรีรัมย์ ชัยภูมิ อํานาจเจริญ หนองบัวลําภู ขอนแกน่ หนองคาย สกลนคร มกุ ดาหาร ส่วนจังหวัดที่เส่ียงภัยแล้งน้อยมี 13 จังหวัด เนื่องจากเป็นพ้ืนที่ ทีเ่ สยี่ งภยั แลง้ น้อยจะขอไม่กล่าวรายช่ือ
26 การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการแสดงผลผลลัพธ์ท่ีได้ ออกมาในลักษณะแผนท่ี ภูมิศาสตร์ โดยใช้สีเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ ของระดับต่างๆ ของการเสี่ยงภัย ตามเกณฑ์ที่ได้แบ่งไว้ในเบื้องต้น สําหรับสีท้ัง 3 สี คือ สแี ดง สีเหลือง และสีเขยี ว เป็นตัวแทนระดับความเสย่ี งใน 76 จังหวดั สรุปผล ท่ีได้จากการวิเคราะห์ พบว่า จังหวัดท่ีเส่ียงภัยแล้งสูง มี 20 จังหวัด จังหวัดที่เส่ียง ภยั แลง้ ปานกลาง มี 23 จงั หวดั และจังหวัดท่เี ส่ียงภยั แลง้ น้อย มี 13 จงั หวัด เมอ่ื วันท่ี 9 มนี าคม 2557กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ ตัง้ แต่ ตุลาคม 2556 – ปัจจุบัน มีการประกาศเขตให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) 20 จังหวัด ได้แก่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย แพร่ ตาก น่าน พะเยา พิษณุโลก บุรีรัมย์ ขอนแก่น ศรีสะเกษ ชัยภูมิ มหาสารคาม สิงห์บรุ ี สระบรุ ี ชัยนาท ฉะเชงิ เทรา จนั ทบรุ ี ปราจีนบรุ ี ตรงั สตูล สรปุ ผลวเิ คราะห์พน้ื ท่ที เ่ี สยี่ งภัยแลง้ ของประเทศไทย สามารถเปรียบเทียบกบั กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั ทีป่ ระกาศภัยพิบัติกรณฉี ุกเฉิน (ภยั แลง้ ) 20 จงั หวดั เมื่อวนั ที่ 9 มนี าคม 2557 ซึง่ มี ผลเทยี บได้ดังนี้ ผลวเิ คราะห์จังหวัดทีเ่ สี่ยงภยั แล้งมาก มี 20 จงั หวัด ตรงกบั กรมป้องกนั และบรรเทา สาธารณภัย การประกาศประสบภยั พบิ ัตกิ รณฉี กุ เฉิน 7 จงั หวัด ไดแ้ ก่ แพร่ ตาก พะเยา พษิ ณโุ ลก ศรสี ะเกษ มหาสารคามปราจนี บุรี ผลวเิ คราะห์จงั หวดั ทีเ่ สย่ี งภัยแลง้ ปานกลาง มี 23 จังหวัด ตรงกับ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การประกาศประสบภัยพบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉนิ 12 จังหวัด ได้แก่ อตุ รดติ ถ์ สโุ ขทยั นา่ น บรุ ีรมั ย์ ขอนแกน่ ชัยภูมิ ชัยนาท สงิ หบ์ ุรี สระบุรี จันทบรุ ี ตรงั สตลู ผลวิเคราะห์จังหวัดทเี่ สย่ี งภัยแลง้ น้อย มี 13 จงั หวัด ตรงกบั กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การประกาศประสบภัยพิบตั ิกรณีฉกุ เฉนิ 1 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ฉะเชงิ เทรา ซง่ึ ผลวิเคราะหพ์ นื้ ทท่ี ่เี ส่ยี งภัยแลง้ ของประเทศไทย สามารถครอบคลมุ พ้นื ท่ี ท่กี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ประกาศภัยพิบตั ิกรณฉี ุกเฉนิ (ภัยแล้ง)
27 บทที่ 5 สรุปและอภปิ รายผล บทสรปุ การวิเคราะหพ์ นื้ ทีท่ เ่ี สี่ยงภยั แลง้ ของประเทศไทย การวเิ คราะห์พ้ืนทที่ ีเ่ สย่ี งภัยแลง้ ของประเทศไทย โดยการใช้ปัจจยั เสี่ยงทงั้ 6 ปัจจยั เพ่อื ใช้ใน การวิเคราะห์คาดการณ์ และเปน็ การพยากรณล์ ว่ งหนา้ ว่าพื้นทที่ ี่คาดว่าจะเสย่ี งภยั แล้งมจี งั หวัดใดบ้าง และผลวเิ คราะหจ์ ะใชไ้ ด้ดีในช่วงขณะดาํ เนินการวเิ คราะหแ์ ละสามารถใช้ไปล่วงหนา้ ไดอ้ กี 1-2 อาทติ ย์ เท่านนั้ เนอ่ื งจากสภาพปัจจัยท่ี 2 3 และ4 มีความเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ดังนั้นจงึ จําเป็นตอ้ ง วิเคราะหใ์ หม่เพือ่ ใหไ้ ด้ผลทใ่ี กลเ้ คียงความจรงิ ในแต่ละชว่ งเวลาท่เี กิดค่าความเปลย่ี นแปลง สรุปผลวิเคราะห์พื้นท่ีท่ีเส่ียงภัยแล้งของประเทศไทย สามารถเปรียบเทียบกับ กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ท่ีประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) 20 จังหวัด เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม 2557 ซึ่งมีผลเทียบได้ดังน้ี ผลวิเคราะห์จังหวัดที่เสี่ยงภัยแล้งมาก มี 20 จังหวัด ตรงกับ กรมป้องกันและ บรรเทา สาธารณภัย การประกาศประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน 7 จังหวัด ได้แก่ แพร่ ตาก พะเยา พิษณุโลก ศรีสะเกษ มหาสารคามปราจีนบุรี ผลวิเคราะห์จังหวัดที่เส่ียงภัยแล้งปานกลาง มี 23 จังหวัด ตรงกับ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประกาศประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน 12 จังหวัด ได้แก่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย น่าน บุรีรัมย์ ขอนแก่น ชัยภูมิ ชัยนาท สิงห์บุรี สระบุรี จันทบุรี ตรัง สตูล ผลวิเคราะห์ จังหวัดที่เสี่ยงภัยแล้งน้อย มี 13 จังหวัด ตรงกับ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประกาศ ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน 1 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ซ่ึงผลวิเคราะห์พ้ืนที่ท่ีเสี่ยงภัยแล้งของประเทศไทย สามารถครอบคลุมพืน้ ที่ ที่กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ประกาศภยั พบิ ัติกรณฉี ุกเฉนิ (ภยั แลง้ )
28 ในการศึกษาครั้งน้ีได้รวบรวม ข้อมูลจากจากหน่วยงานต่างๆ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูล เพื่อใช้ ในการวิเคราะห์ผล พร้อมทั้งแปรผลเป็นแผนที่ภูมิศาสตร์ สารสนเทศ ซ่ึงจากการเปรียบเทียบกับกรม ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ได้ประกาศพืน้ ท่ีประสบภยั แล้ง ในปจั จบุ นั พบว่ามีความนา่ เชอ่ื ถอื ได้มาก อย่างไรก็ตาม พบว่ามีปัจจัยบางปัจจัยไม่สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ เช่น ปัจจัยท่ี5 การ พิจารณาพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ําอุปโภค-บริโภค-จุดจ่ายน้ําบาดาล (20%) ซึ่งส่วนหน่ึงมีระบบประปาหมู่บ้าน ข้อมูลดังกล่าว ไม่สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ เน่ืองจาก กรมพัฒนาได้ ถ่ายโอนงานท้ังหมดให้กับ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเรียบร้อยแล้ว ทําให้ไม่สามารถติดตามข้อมูลดังกล่าวได้ จาการติดตามพบว่า บางพ้ืนท่ีไม่ได้ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง ทําให้ไม่สามารถใช้ระบบประปาหมู่บ้านได้ และปัจจัยที่6 การ พิจารณาพื้นท่ีที่ประสบปัญหาภัยแล้งซํ้าซากในปี 2548 ถึง 2556 (15%) ข้อมูลท่ีได้รับในปัจจุบัน ไม่เท่า ข้อมูลท่ีมีอยู่เดิม ซ่ึงข้อมูลเดิมมีความละเอียดถึงระดับหมู่บ้าน ซ่ึงได้เคยประสานงานกับหน่วยงานที่ เก่ียวขอ้ ง ข้อมูลทีไ่ ดเ้ ปน็ ระดับ อาํ เภอ และตําบลเทา่ น้นั ซง่ึ ในการวเิ คราะห์ อาศัยความละเอยี ดของข้อมูล ทุกปัจจัย ซึง่ มคี วามสาํ คญั และสอดคลอ้ งกัน ทาํ ให้ผลที่ได้มคี วามถกู ต้องและมีความละเอียดยิง่ ขึน้ สาํ หรับกรอบแนวคิดขา้ งตน้ แสดงถึงความสมั พนั ธ์ระหว่างค่าระดับพน้ื ที่ทเี่ สี่ยงภัยแล้ง กับ คา่ น้าํ หนักของแตล่ ะปัจจยั เกณฑ์การกําหนดค่าน้ําหนกั ของแตล่ ะปจั จัย โดยการคาํ นวณค่าคะแนนรวมแบบ ถ่วงนาํ้ หนัก (Weighting Linear Total) ซ่ึงผลทีไ่ ด้คอื จงั หวดั ที่มโี อกาสขาดแคลนนาํ้ อุปโภคและบรโิ ภค ซ่งึ รวมไปถงึ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมซงึ่ อยู่นอกเขตชลประทาน เป็นภาพรวมของประเทศไทยทั้งประเทศ ซ่ึงเคย มหี น่วยงานต่างๆไดว้ เิ คราะห์คาดการณ์ อาทิ เชน่ กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา กรมพัฒนาท่ดี นิ ซึ่งไดย้ กเลกิ การ ดาํ เนินการไปหลายปแี ลว้ ทาํ ใหก้ รอบแนวคดิ ดังกล่าวมีความแตกต่างกับวรรณกรรมท่เี ก่ยี วข้อง โดยมีเพยี งแนวความคิดที่ เหมือนกนั คือ วิเคราะหห์ าพืน้ ท่ี ทเ่ี สย่ี งภยั แลง้ และมีเพียงบางปัจจยั เท่านั้นท่เี หมือนกนั ซง่ึ ทุก วรรณกรรม จะทาํ การวเิ คราะห์ หาเพียงพนื้ ทีเ่ ลก็ ๆ ในระดับ ลมุ่ นํ้า จังหวัด และอําเภอเทา่ นั้น เชน่ การ วเิ คราะหต์ ัวชว้ี ัดภัยแล้งเชงิ เกษตรทเ่ี หมาะสมในประเทศไทยกรณศี กึ ษาลุ่มนํ้ามูลตอนบน การประยกุ ตใ์ ช้ ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ในการวิเคราะหพ์ ืน้ ท่เี สี่ยงภัยแล้ง กรณี ศึกษา จงั หวดั ชัยภมู ิ และการ วเิ คราะหค์ วามเสีย่ งต่อความแหง้ แลง้ ในพ้นื ทีอ่ าํ เภอกาํ แพงแสน จงั หวดั นครปฐม ขอ้ เสนอแนะสาํ หรบั การนาํ ผลไปใช้ สําหรับนําผลของข้อมูลจากการศึกษา แม้ว่าจะมีการนําเสนอโดยการบรรยาย อย่างน้อยเดือนละคร้ัง ในท่ีประชุม คณะอนุกรรมการติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องนํ้า (ณ ห้องประชุม สายชล ชั้น 9 กรมทรัพยากร น้ํา) เพ่ือให้หน่วยงานต่างๆท่ีเก่ียวข้องและผู้บริหาร ได้รับทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในช่วง ปัจจุบัน และ 1-2 สัปดาห์ ข้างหน้า และมีแนวโน้ม มีทิศทางเป็นอย่างไร แต่กรมทรัพยากรน้ําไม่มีกฎหมาย รองรับในการประกาศภัย ซึ่งมีเพียงหน่วยงานเดียวเท่าน้ันท่ีมีกฎหมายรองรับ คือกรมป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยซ่ึงถือเป็นหน่วยงานหลักในการให้ความช่วยเหลือภัยพิบัติในทุกๆด้าน และต้องอ้างอิง ประกาศพ้ืนท่ี ประสบภัยแล้งของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเท่าน้ัน กรมทรัพยากรนํ้า ได้จัดเตรียม เคร่ืองมือ เครื่องจักร พร้อมทั้งอุปกรณ์ เพ่ือทําหน้าท่ีสนับสนุนให้กับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือหน่วยงาน อ่นื ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เมอ่ื มกี ารแจ้งหรือร้องขอ ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวจะต้องสนับสนุนนํ้ามันเชื้อเพลิง เพื่อใช้ในการ ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ อย่างไรก็ตาม ภายใต้งบประมาณอันจํากัด กรมทรัพยากรน้ํา ก็ให้ความช่วยเหลือประชาชนในพ้ืนท่ี เปน็ ประจําทุกปอี ย่างสม่ําเสมอ นอกจากน้ปี ระโยชน์ที่ได้รับ ภายหลังการบรรยาย มีดังนี้ คือ
29 1. ผู้บริหารทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งท่ีกําลังจะเกิดขึ้น และเป็นข้อมูลประกอบเพื่อใช้ส่ังการใน การประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง และเตรียมการบรรเทาความเดือดร้อนที่กําลังจะ เกิดข้ึน ซ่งึ ถอื เป็นเรอ่ื งเร่งด่วนในดําเนินการแก้ไขปัญหาในระยะส้ัน ท้ังนี้ ในการประชุม กรมทรัพยากรนํ้า ได้จัดโดยส่ือสารทางไกลเช่ือมโยงกับสํานักงานภาค ของกรมทรัพยากรนํ้า ทั้ง 10 ภาค เพื่อให้รับทราบ สถานการณ์ หรอื หากมีกรณีฉกุ เฉนิ หรือมขี อ้ สั่งการในพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ จะไดด้ ําเนนิ การไดใ้ นทันที 2. สามารถนําการวิเคราะหส์ ถานการณ์ภัยแลง้ ท่ีกาํ ลังเกดิ ขึน้ ในปีปจั จุบันเปรียบเทยี บกบั สถานการณภ์ ัยแลง้ ท่ผี า่ นมาในอดีต โดยสาํ นกั นโยบายและแผน กรมทรพั ยากรน้ําไดข้ อข้อมูลดังกลา่ ว ทีผ่ ู้ ศกึ ษาเก็บรวบรวมในฐานข้อมลู นาํ ไปใช้โดยจดั เรียงลําดับความสาํ คัญของพื้นทเ่ี ส่ียงภัยในแตล่ ะจงั หวัด เพ่ือใหผ้ บู้ ริหารสามารถใช้ขอ้ มลู ดงั กลา่ ว ประกอบการพจิ ารณาตดั สนิ ใจ ในการจดั ทําแนวทาง พรอ้ มท้งั วางกรอบ เพ่ือจดั ทําเปน็ แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏิบัติการในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรน้ําในพ้นื ท่ลี มุ่ นา้ํ ตา่ งๆ ท้ัง 25 ลุ่มนาํ้ เพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ท้งั ในระยะสั้นระยะกลาง และระยะยาวตอ่ ไป ข้อเสนอแนะสาํ หรบั การวจิ ยั คร้งั ต่อไป สาํ หรบั นาํ ผลของขอ้ มูลจากการศึกษา ในครงั้ นี้ สามารถนําขยายผลตอ่ ไป ในทัศนะท่ีกว้างมากขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ ในการอธิบายปรากฏการณ์ และปัญหาทางด้านการบริหารจัดการภัยแล้งได้อย่าง ตรงจุดละเอียดยิ่งขึ้นและชัดเจนยิ่งข้ึน จนสามารถใช้วิเคราะห์ได้ในระดับหมู่บ้าน ในแต่ละจังหวัด ซึ่ง ผู้ทาํ วิจัย ขอเสนอแนะประเด็นสาํ หรบั การทาํ วิจยั ครั้งต่อไปดังน้ี พัฒนาปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน เช่น ปัจจัยท่ี5 การพิจารณาพ้ืนท่ีที่ขาด แคลนนํ้าอุปโภค-บริโภค-จุดจ่ายน้ําบาดาล (20%) ซึ่งส่วนหน่ึงมีระบบประปาหมู่บ้าน โดยติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน และปัจจัยท่ี6 การพิจารณาพื้นที่ที่ประสบปัญหาภัยแล้งซํ้าซากในปี 2548 ถึง 2556 (15%) โดยจดั ทําขอ้ มลู ให้มคี วามละเอียดถึงระดบั หม่บู ้าน พัฒนาและเพิ่มเติมฐานข้อมูล ในส่วนของหนองน้ําธรรมชาติ รวมถึงแหล่งน้ํา ที่สร้างขึ้น ภายใต้โครงการปรับปรุงและฟ้ืนฟูแหล่งนํ้า นอกจากนี้ยังมีโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ในการ อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ํา โดยสามารถดําเนินการได้ ท้ังในระดับกลาง และระดับใหญ่ เน่ืองข้อมูลในส่วน นีไ้ ม่ได้เอ่ยถึง และไมไ่ ด้นาํ มาใช้ประโยชน์ เพราะในบางพน้ื ที่แม้อยู่นอกเขตชลประทานก็ไม่ได้แห้งแล้ง อัน จะเป็นประโยชนแ์ ละเปน็ ปัจจัยท่ีชว่ ยให้ขอ้ มูลมคี วามละเอยี ดยง่ิ ข้ึนและชัดเจนยง่ิ ขนึ้ พัฒนาและเพิ่มเติมฐานข้อมูล โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ในการอ่านและแปลงผล เพ่ือ หาคา่ ความช้ืนในดิน หรือ แปลงผลในส่วนของหนองน้ําธรรมชาติ และส่วนอนุรักษ์และฟื้นฟูได้ดําเนินการ เพือ่ ดสู ภาพพ้นื ที่ วา่ มีสภาวะแห้งแลง้ ในระดบั ใด ผลการศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าว จะใช้ได้ดีในช่วงขณะดําเนินการวิเคราะห์ และสามารถใช้ไป ล่วงหน้าได้อีก 1-2 อาทิตย์เท่านั้น เน่ืองจากสภาพปัจจัยท่ี 2 3 และ4 มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงจําเป็นต้องวิเคราะห์ใหม่เพ่ือให้ได้ผลที่ใกล้เคียงความจริง ในแต่ละช่วงเวลาท่ีเกิดค่าความเปล่ียนแปลง ดังนน้ั ประเด็นทส่ี ําคญั สาํ หรับการวจิ ยั ครง้ั ตอ่ ไปทไี่ ม่อาจละเลยได้ คือทุกๆปัจจัยที่มีความเปล่ียนแปลง ผู้ที่ จะทาํ การวิจัยจะต้อง.ใสใ่ จและใหค้ วามสาํ คัญในปัจจยั ดังกล่าว มิฉะนัน้ ผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์ อาจ มีความคลาดเคล่ือน จากสภาพความเปน็ จรงิ ที่เกดิ ขนึ้ ได้
บรรณานกุ รม 30 กรมชลประทาน http://www.rid.go.th กรมอุตุนิยมวิทยา http://www.tmd.go.th กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา หนังสอื อตุ นุ ิยมวทิ ยา ภยั ธรรมชาตภิ ัยแล้ง,ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ กอง ส่อื สารสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวทิ ยา:กรงุ เทพฯ ,2550 จินตนา อมรสงวนสนิ ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตรส์ าหรบั งานวิจยั ดา้ นสงั คมและส่งิ แวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: ทิพเนตรก์ ารพิมพ,์ 2551 จริ าพร พันธป์ ระสทิ ธิ์ ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรเ์ พื่อประเมนิ หาพน้ื ทเ่ี สยี่ งตอ่ การเกดิ ภยั แลง้ โดยวเิ คราะหก์ ารถดถอย จงั หวดั ลพบุรี . วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล,2549 ประวทิ ย์ จนั ทร์แฉง่ การวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งตอ่ ความแห้งแล้ง ในพน้ื ทอ่ี ําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยการประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ คณะ พัฒนาสงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร,์ 2553 พงษ์ศกั ดิ์ ธรี ะกิตติวฒั นา การประยุกตใ์ ชร้ ะบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ ในการวเิ คราะห์พน้ื ทเ่ี ส่ียงภยั แลง้ กรณีศกึ ษาจังหวดั ชยั ภมู ิ หลกั สูตร นกั บริหารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสา ธารณภัย (นบ.ปภ.รุน่ ท่ี 6) วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ,2553 วเิ ชยี ร ฝอยพิกุล การจัดการการขอ้ มลู พนื้ ทด่ี ว้ ยระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ .นครราชสมี า: คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎนครราชสมี าม,2550 วรี วฒั น์ พิลากลุ การวเิ คราะหต์ ัวชว้ี ัดภัยแล้งเชงิ เกษตรทเี่ หมาะสมในประเทศไทย กรณศี กึ ษาลุม่ นํา้ มลู ตอนบน สาขาวศิ วกรรมแหลง่ น้าํ และสง่ิ แวดลอ้ ม ภาควิชาวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร,์ 2552 ศนู ย์คอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศพื้นท่ีเสยี่ งภยั แลง้ ขอนแกน่ : สาํ นกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดล้อม,2543 สุระ พฒั นเกยี รติ ระบบภูมิสารสนเทศในทางนิเวศวิทยาและส่ิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร ,2546 อุทยั สขุ สิงห์ การจดั การระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ( GIS) ด้วยโปรแกรม ArcView 3.2a-3.3. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท พิมพด์ ีการพิมพ์ จาํ กัด, 2547 McDonell, R. and Kemp,K.. International GIS Dictionary. Cambridge:GeoInforamtion International,1995
31 ภาคผนวก
ฝนสะสม ป 2556 ฝนสะสม 30 ป ภาค จงั หวดั (ม.ม.) (ม.ม.) % สถานะ ภาคกลาง จ.กรงุ เทพมหานคร 1,772.90 1244.60 79.78 เส่ยี งภยั แลงระดบั ปานกลาง ภาคกลาง จ.สมุทรปราการ 992.90 1201.40 83.95 เส่ียงภัยแลง ระดบั ปานกลาง ภาคกลาง จ.นนทบรุ ี 1242.00 96.82 ไมเ สีย่ งตอภัยแลง ภาคกลาง จ.ปทมุ ธานี 1,008.60 1132.80 79.95 เส่ยี งภยั แลง ระดบั ปานกลาง ภาคกลาง จ.พระนครศรีอยุธยา 1,202.50 1090.80 75.17 เสีย่ งภัยแลงระดับปานกลาง ภาคกลาง จ.อางทอง 1097.70 102.41 ไมเ ส่ยี งตอภยั แลง ภาคกลาง จ.ลพบรุ ี 905.70 ภาคกลาง จ.สิงหบ ุรี 819.9 998.30 82.50 เสี่ยงภัยแลงระดับปานกลาง ภาคกลาง จ.ชยั นาท 1,124.20 1019.90 125.09 ไมเสีย่ งตอ ภัยแลง ภาคกลาง จ.สระบรุ ี 823.6 1261.50 57.30 เส่ยี งภัยแลงระดับสูง ภาคกลาง จ.ชลบุรี 1,275.80 1266.10 138.69 ไมเสีย่ งตอภยั แลง ภาคกลาง จ.ระยอง 722.9 1372.40 127.06 ไมเส่ยี งตอภยั แลง ภาคกลาง จ.จนั ทบุรี 1,755.90 2935.50 124.18 ไมเสยี่ งตอภยั แลง ภาคกลาง จ.ตราด 1,743.80 4845.50 103.98 ไมเ สยี่ งตอภยั แลง ภาคกลาง จ.ฉะเชงิ เทรา 3,645.30 1192.00 149.09 ไมเสีย่ งตอ ภยั แลง ภาคกลาง จ.ปราจีนบรุ ี 5,038.20 1804.50 117.98 ไมเสย่ี งตอภัยแลง ภาคกลาง จ.นครนายก 1,777.10 1729.00 85.56 เสย่ี งภัยแลงระดบั นอย ภาคกลาง จ.สระแกว 2,129.00 1425.80 141.35 ไมเ สี่ยงตอ ภัยแลง ภาคกลาง จ.ราชบรุ ี 1,479.4 1058.00 127.64 ไมเ สยี่ งตอ ภยั แลง ภาคกลาง จ.กาญจนบรุ ี 2,015.30 1745.80 62.37 เสย่ี งภยั แลง ระดับสูง ภาคกลาง จ.สุพรรณบุรี 1,350.40 ภาคกลาง จ.นครปฐม 1,088.90 990.10 104.32 ไมเ สีย่ งตอภัยแลง ภาคกลาง จ.สมทุ รสาคร 1,032.90 1118.00 85.62 เสยี่ งภัยแลงระดบั นอ ย ภาคกลาง จ.สมทุ รสงคราม 957.20 1252.00 49.96 เส่ยี งภัยแลงระดบั สูง ภาคกลาง จ.เพชรบุรี 625.5 1082.00 100.62 ไมเส่ยี งตอภัยแลง ภาคกลาง จ.ประจวบครี ีขันธ 1,088.7 ภาคเหนือ จ.เชยี งใหม 1,133.40 983.70 115.22 ไมเสย่ี งตอภัยแลง ภาคเหนือ จ.ลําพูน 1,387.50 1086.10 127.75 ไมเ สี่ยงตอ ภยั แลง ภาคเหนอื จ.ลาํ ปาง 1,288.00 1141.40 112.84 ไมเ ส่ยี งตอ ภยั แลง ภาคเหนอื จ.อุตรดิตถ 1,136.40 ภาคเหนือ จ.แพร 1,101.40 996.30 114.06 ไมเส่ียงตอภัยแลง ภาคเหนือ จ.นาน 1,341.60 1036.30 106.28 ไมเ สยี่ งตอ ภัยแลง ภาคเหนอื จ.พะเยา 1,144.70 1413.00 94.95 เสย่ี งภัยแลงระดับนอ ยมาก ภาคเหนือ จ.เชยี งราย 1,053.20 1097.10 104.34 ไมเ ส่ียงตอ ภัยแลง ภาคเหนือ จ.แมฮองสอน 1,173.70 1795.10 58.67 เส่ยี งภัยแลง ระดับสูง ภาคเหนือ จ.นครสวรรค 2,141.50 1146.20 102.40 ไมเ สย่ี งตอ ภยั แลง ภาคเหนอื จ.อทุ ัยธานี 1,245.40 1700.00 125.97 ไมเ สีย่ งตอภยั แลง ภาคเหนอื จ.กาํ แพงเพชร 1,050.80 1287.30 96.75 ไมเสีย่ งตอ ภัยแลง ภาคเหนือ จ.ตาก 934.1 1087.80 96.60 ไมเ สี่ยงตอ ภยั แลง ภาคเหนือ จ.สุโขทยั 1,526.90 1208.00 77.33 เสีย่ งภยั แลง ระดบั ปานกลาง ภาคเหนือ จ.พิษณโุ ลก 1,142.50 1278.50 119.43 ไมเ สีย่ งตอภัยแลง ภาคเหนอื จ.พิจติ ร 1,507.20 1444.50 79.09 เสย่ี งภยั แลงระดบั ปานกลาง ภาคเหนอื จ.เพชรบูรณ 1,470.80 1327.60 113.53 ไมเสยี่ งตอ ภยั แลง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.นครราชสีมา 1,225.50 1303.70 112.82 ไมเ สย่ี งตอ ภยั แลง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.บุรรี มั ย 1,381.10 1136.00 107.88 ไมเ สย่ี งตอภยั แลง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.สรุ ินทร 1,264.00 1199.10 115.18 ไมเ สยี่ งตอ ภยั แลง ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.ศรสี ะเกษ 1,347.70 1053.30 120.00 ไมเ ส่ียงตอภัยแลง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.อบุ ลราชธานี 1,608.10 1324.30 101.77 ไมเส่ียงตอภัยแลง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.ยโสธร 1,618.80 1413.60 113.76 ไมเ สย่ี งตอ ภัยแลง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.ชัยภูมิ 1,796.90 1348.00 120.09 ไมเ สี่ยงตอ ภัยแลง ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.อาํ นาจเจรญิ 1,054.5 1571.70 114.33 ไมเ ส่ียงตอภยั แลง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.หนองบัวลําภู 1,333.30 1423.00 74.10 เสย่ี งภยั แลง ระดบั สูง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.ขอนแกน 3,802.3 1093.70 121.91 ไมเสี่ยงตอ ภยั แลง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.อดุ รธานี 1,349.1 1432.00 265.52 ไมเ สย่ี งตอภยั แลง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.เลย 940.40 1107.00 121.87 ไมเ ส่ียงตอภยั แลง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.หนองคาย 1,352.40 1236.20 76.07 เส่ยี งภยั แลง ระดบั ปานกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.มหาสารคาม 1,548.70 1403.70 96.35 ไมเส่ียงตอ ภัยแลง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.รอยเอด็ 1,526.80 1247.50 124.14 ไมเสย่ี งตอ ภยั แลง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.กาฬสนิ ธุ 1,214.00 1573.10 97.06 ไมเสย่ี งตอภัยแลง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.สกลนคร 1,606.50 1239.80 97.92 ไมเสีย่ งตอภัยแลง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.นครพนม 1,019.80 1353.10 118.73 ไมเ สีย่ งตอ ภัยแลง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.มกุ ดาหาร 1,963.80 1402.40 72.72 เสย่ี งภยั แลงระดับสงู 2,036.70 1617.90 121.38 ไมเสี่ยงตอภยั แลง 1,751.70 2317.60 87.88 เส่ียงภยั แลงระดับนอย 1496.00 117.09 ไมเ สย่ี งตอ ภัยแลง
ฝนสะสม ป 2556 ฝนสะสม 30 ป ภาค จงั หวดั (ม.ม.) (ม.ม.) % สถานะ ภาคใต จ.นครศรธี รรมราช 2,839.00 2404.20 118.09 ไมเ สยี่ งตอภยั แลง ภาคใต จ.กระบี่ ภาคใต จ.พังงา 2,523.50 2195.60 114.93 ไมเ สย่ี งตอภยั แลง ภาคใต จ.ภเู กต็ ภาคใต จ.สุราษฎรธ านี 4,765.90 3617.70 131.74 ไมเส่ียงตอ ภัยแลง ภาคใต จ.ระนอง ภาคใต จ.ชุมพร 2,602.60 2422.80 107.42 ไมเสย่ี งตอ ภยั แลง ภาคใต จ.สงขลา ภาคใต จ.สตูล 1,633.00 1876.30 87.03 เส่ยี งภัยแลงระดับนอย ภาคใต จ.ตรงั ภาคใต จ.พัทลงุ 4,512.00 4087.20 110.39 ไมเ ส่ียงตอ ภยั แลง ภาคใต จ.ปต ตานี ภาคใต จ.ยะลา 1,911.10 1899.80 100.59 ไมเ ส่ยี งตอ ภยั แลง ภาคใต จ.นราธวิ าส 2,787.70 1954.00 142.67 ไมเสี่ยงตอ ภยั แลง 2,206.10 2267.20 97.31 ไมเส่ียงตอภัยแลง 2,488.60 2129.00 116.89 ไมเสยี่ งตอ ภยั แลง 2,400.90 2057.00 116.72 ไมเ สย่ี งตอภยั แลง 1,623.40 1787.70 90.81 เส่ียงภัยแลงระดับนอ ยมาก 2,596.90 1920.00 135.26 ไมเสีย่ งตอภัยแลง 2,850.40 2404.50 118.54 ไมเส่ยี งตอภัยแลง
ภาค จังหวดั ปจจัยที่ 1_การพิจารณาฝนเฉล เส่ยี งภัยแลง ระดบั สงู เสีย่ งภัยแลงระดบั ปา 1 ภาคกลาง จ.กรุงเทพมหานคร 2 ภาคกลาง จ.สมทุ รปราการ 1 0.8 3 ภาคกลาง จ.นนทบรุ ี 4 ภาคกลาง จ.ปทมุ ธานี 10 5 ภาคกลาง จ.พระนครศรีอยุธยา 6 ภาคกลาง จ.อางทอง 10 7 ภาคกลาง จ.ลพบุรี 10 8 ภาคกลาง จ.สิงหบุรี 9 ภาคกลาง จ.ชัยนาท 10 10 ภาคกลาง จ.สระบุรี 11 ภาคกลาง จ.ชลบุรี 12 ภาคกลาง จ.ระยอง 13 ภาคกลาง จ.จนั ทบรุ ี 14 ภาคกลาง จ.ตราด 15 ภาคกลาง จ.ฉะเชิงเทรา 16 ภาคกลาง จ.ปราจนี บรุ ี 17 ภาคกลาง จ.นครนายก 18 ภาคกลาง จ.สระแกว 19 ภาคกลาง จ.ราชบรุ ี 20 ภาคกลาง จ.กาญจนบรุ ี 21 ภาคกลาง จ.สุพรรณบุรี 22 ภาคกลาง จ.นครปฐม 23 ภาคกลาง จ.สมุทรสาคร 24 ภาคกลาง จ.สมทุ รสงคราม 25 ภาคกลาง จ.เพชรบรุ ี 26 ภาคกลาง จ.ประจวบครี ีขันธ 27 ภาคเหนือ จ.เชยี งใหม 28 ภาคเหนอื จ.ลําพูน 29 ภาคเหนอื จ.ลาํ ปาง 30 ภาคเหนอื จ.อตุ รดิตถ 31 ภาคเหนอื จ.แพร 32 ภาคเหนือ จ.นาน 33 ภาคเหนอื จ.พะเยา 34 ภาคเหนือ จ.เชยี งราย 35 ภาคเหนือ จ.แมฮ องสอน
ลี่ยป 2556 เทียบกบั ฝนเฉล่ยี 30 ป านกลาง เสยี่ งภัยแลงระดบั นอย เสย่ี งภัยแลงระดบั นอ ยมาก ไมเ สยี่ งตอ ภยั แลง คะแนนเต็ม 0 10 0.6 0.4 0 8 8 8 8 0 8 8 8 8 0 8 8 0 10 6 0 6 0 0 4 0 0 0 6 0 0 10 0 6 10 0 0 0 0 0 0 4 0 10 0 0 0
ภาค จังหวัด ปจจยั ที่ 1_การพิจารณาฝนเฉล เสยี่ งภยั แลงระดบั สูง เส่ียงภยั แลงระดบั ปา 36 ภาคเหนอื จ.นครสวรรค 37 ภาคเหนอื จ.อทุ ัยธานี 1 0.8 38 ภาคเหนือ จ.กําแพงเพชร 39 ภาคเหนอื จ.ตาก 10 40 ภาคเหนอื จ.สุโขทัย 41 ภาคเหนือ จ.พิษณุโลก 10 42 ภาคเหนือ จ.พิจิตร 43 ภาคเหนือ จ.เพชรบรู ณ 44 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.นครราชสมี า 45 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.บุรีรัมย 46 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.สรุ ินทร 47 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.ศรสี ะเกษ 48 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.อุบลราชธานี 49 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.ยโสธร 50 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.ชยั ภมู ิ 51 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.อํานาจเจรญิ 52 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.หนองบัวลําภู 53 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.ขอนแกน 54 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.อดุ รธานี 55 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.เลย 56 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.หนองคาย 57 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.มหาสารคาม 58 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.รอ ยเอ็ด 59 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.กาฬสินธุ 60 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.สกลนคร 61 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.นครพนม 62 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.มุกดาหาร 63 ภาคใต จ.นครศรีธรรมราช 64 ภาคใต จ.กระบ่ี 65 ภาคใต จ.พังงา 66 ภาคใต จ.ภูเกต็ 67 ภาคใต จ.สรุ าษฎรธานี 68 ภาคใต จ.ระนอง 69 ภาคใต จ.ชมุ พร 70 ภาคใต จ.สงขลา 71 ภาคใต จ.สตลู 72 ภาคใต จ.ตรงั 73 ภาคใต จ.พทั ลงุ 74 ภาคใต จ.ปต ตานี 75 ภาคใต จ.ยะลา 76 ภาคใต จ.นราธวิ าส
ลี่ยป 2556 เทียบกบั ฝนเฉล่ยี 30 ป านกลาง เส่ียงภัยแลงระดับนอ ย เส่ยี งภยั แลงระดับนอยมาก ไมเส่ยี งตอภยั แลง คะแนนเต็ม 0 10 0.6 0.4 0 8 8 0 8 8 0 0 8 0 6 0 6 0 0 4 0 0 0 10 0 0 0 8 0 0 0 0 0 10 0 6 0 0 0 0 0 6 0 0 0 0 0 0 4 0 0
ปจ จยั ที่ 2_การพจิ ารณาฝนท้งิ ชวง 6 ม.ี ค. 57 ภาค จงั หวดั สถานนที ่1ี สถานนีที่2 สถานนที ี่3 สถานนีที่4 สถานนีที่5 ปริมาณฝนขาดชวง จํานวนวัน จํานวนวนั จํานวนวนั จาํ นวนวนั จํานวนวัน จํานวนวัน 13 79 1 ภาคกลาง จ.กรงุ เทพมหานคร 100 80 2 ภาคกลาง จ.สมทุ รปราการ 79 79 12 3 ภาคกลาง จ.นนทบรุ ี 80 80 4 ภาคกลาง จ.ปทมุ ธานี 109 80 109 90 5 ภาคกลาง จ.พระนครศรีอยุธยา 90 80 0 101 10 6 ภาคกลาง จ.อา งทอง 118 0 7 ภาคกลาง จ.ลพบรุ ี 10 101 79 100 0 8 ภาคกลาง จ.สิงหบ รุ ี 156 18 9 ภาคกลาง จ.ชยั นาท 100 13 21 10 ภาคกลาง จ.สระบุรี 10 19 11 ภาคกลาง จ.ชลบรุ ี 18 79 79 0 12 ภาคกลาง จ.ระยอง 13 12 79 13 13 ภาคกลาง จ.จนั ทบุรี 21 21 12 99 14 ภาคกลาง จ.ตราด 10 99 0 15 ภาคกลาง จ.ฉะเชงิ เทรา 19 0 13 16 ภาคกลาง จ.ปราจีนบุรี 79 13 12 80 17 ภาคกลาง จ.นครนายก 80 80 18 ภาคกลาง จ.สระแกว 79 17 80 19 ภาคกลาง จ.ราชบุรี 13 17 80 20 ภาคกลาง จ.กาญจนบุรี 12 80 80 80 21 ภาคกลาง จ.สุพรรณบรุ ี 99 99 101 22 ภาคกลาง จ.นครปฐม 99 0 23 ภาคกลาง จ.สมทุ รสาคร 16 80 80 24 ภาคกลาง จ.สมุทรสงคราม 17 25 ภาคกลาง จ.เพชรบุรี 13 80 80 26 ภาคกลาง จ.ประจวบคีรีขันธ 12 12 80 14 27 ภาคเหนอื จ.เชยี งใหม 80 156 137 79 28 ภาคเหนอื จ.ลาํ พนู 80 79 79 29 ภาคเหนือ จ.ลําปาง 80 80 0 30 ภาคเหนอื จ.อตุ รดติ ถ 17 79 31 ภาคเหนือ จ.แพร 80 0 79 32 ภาคเหนือ จ.นาน 17 80 13 33 ภาคเหนอื จ.พะเยา 80 17 34 ภาคเหนือ จ.เชียงราย 80 80 35 ภาคเหนอื จ.แมฮ องสอน 80 80 36 ภาคเหนอื จ.นครสวรรค 101 100 37 ภาคเหนอื จ.อุทัยธานี 38 ภาคเหนอื จ.กําแพงเพชร 16 39 ภาคเหนอื จ.ตาก 80 80 40 ภาคเหนอื จ.สุโขทยั 17 17 41 ภาคเหนอื จ.พิษณโุ ลก 80 42 ภาคเหนือ จ.พิจติ ร 80 43 ภาคเหนอื จ.เพชรบรู ณ 80 80 44 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.นครราชสมี า 14 79 45 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.บุรีรัมย 137 118 46 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.สุรนิ ทร 79 118 47 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.ศรีสะเกษ 79 48 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.อบุ ลราชธานี 79 14 49 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.ยโสธร 50 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.ชยั ภมู ิ 79 51 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.อาํ นาจเจริญ 52 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.หนองบัวลําภู 79 53 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.ขอนแกน 13 79
ปจจยั ที่ 2_การพิจารณาฝนทง้ิ ชวง 6 ม.ี ค. 57 ภาค จังหวดั สถานนที 1่ี สถานนที ี่2 สถานนีที3่ สถานนที ี4่ สถานนที ี5่ ปริมาณฝนขาดชวง จาํ นวนวนั จาํ นวนวัน จาํ นวนวนั จาํ นวนวนั จาํ นวนวัน จํานวนวนั 50 37 54 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.อุดรธานี 79 54 79 12 55 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.เลย 79 79 79 56 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.หนองคาย 80 80 57 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.มหาสารคาม 79 79 58 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.รอ ยเอด็ 80 20 80 59 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.กาฬสนิ ธุ 13 13 60 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.สกลนคร 79 79 79 61 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.นครพนม 15 2 15 62 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.มกุ ดาหาร 79 79 63 ภาคใต จ.นครศรธี รรมราช 42 48 42 64 ภาคใต จ.กระบี่ 55 89 55 65 ภาคใต จ.พงั งา 9 9 66 ภาคใต จ.ภเู ก็ต 49 58 49 67 ภาคใต จ.สุราษฎรธ านี 45 46 50 45 68 ภาคใต จ.ระนอง 80 80 69 ภาคใต จ.ชุมพร 58 58 70 ภาคใต จ.สงขลา 14 50 14 71 ภาคใต จ.สตลู 60 60 72 ภาคใต จ.ตรงั 55 55 73 ภาคใต จ.พัทลงุ 43 43 74 ภาคใต จ.ปตตานี 54 54 75 ภาคใต จ.ยะลา 42 42 76 ภาคใต จ.นราธิวาส 13 13
ปจจัยท่ี 2_การพจิ ารณาฝนท้งิ ชวง ภาค จังหวดั 4weeks 6weeks 8weeks >10weeks คะแนนเต็ม 0.4 0.6 0.8 1 20 1 ภาคกลาง จ.กรงุ เทพมหานคร 0 2 ภาคกลาง จ.สมุทรปราการ 20 20 3 ภาคกลาง จ.นนทบรุ ี 0 4 ภาคกลาง จ.ปทุมธานี 20 20 5 ภาคกลาง จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 20 20 6 ภาคกลาง จ.อา งทอง 0 7 ภาคกลาง จ.ลพบรุ ี 0 8 ภาคกลาง จ.สิงหบุรี 0 9 ภาคกลาง จ.ชัยนาท 20 20 10 ภาคกลาง จ.สระบรุ ี 0 11 ภาคกลาง จ.ชลบุรี 0 12 ภาคกลาง จ.ระยอง 0 13 ภาคกลาง จ.จันทบุรี 0 14 ภาคกลาง จ.ตราด 0 15 ภาคกลาง จ.ฉะเชิงเทรา 0 16 ภาคกลาง จ.ปราจนี บรุ ี 20 20 17 ภาคกลาง จ.นครนายก 0 18 ภาคกลาง จ.สระแกว 20 20 19 ภาคกลาง จ.ราชบุรี 0 20 ภาคกลาง จ.กาญจนบุรี 0 21 ภาคกลาง จ.สพุ รรณบรุ ี 20 20 22 ภาคกลาง จ.นครปฐม 20 20 23 ภาคกลาง จ.สมทุ รสาคร 0 24 ภาคกลาง จ.สมุทรสงคราม 0 25 ภาคกลาง จ.เพชรบุรี 0 26 ภาคกลาง จ.ประจวบครี ีขันธ 0 27 ภาคเหนอื จ.เชียงใหม 20 20 28 ภาคเหนือ จ.ลําพูน 20 20 29 ภาคเหนอื จ.ลาํ ปาง 20 20 30 ภาคเหนือ จ.อตุ รดติ ถ 0 31 ภาคเหนือ จ.แพร 20 20 32 ภาคเหนอื จ.นา น 0 33 ภาคเหนอื จ.พะเยา 20 20 34 ภาคเหนอื จ.เชยี งราย 20 20 35 ภาคเหนือ จ.แมฮองสอน 20 20 36 ภาคเหนือ จ.นครสวรรค 20 20 37 ภาคเหนอื จ.อทุ ยั ธานี 0 38 ภาคเหนือ จ.กําแพงเพชร 0 39 ภาคเหนอื จ.ตาก 20 20 40 ภาคเหนอื จ.สโุ ขทยั 0 41 ภาคเหนือ จ.พษิ ณโุ ลก 20 20 42 ภาคเหนอื จ.พิจติ ร 20 20 43 ภาคเหนอื จ.เพชรบรู ณ 20 20 44 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.นครราชสีมา 0 45 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.บรุ ีรมั ย 20 20 46 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.สุรินทร 20 20 47 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.ศรีสะเกษ 20 20 48 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.อบุ ลราชธานี 20 20
ปจ จัยท่ี 2_การพิจารณาฝนทง้ิ ชว ง ภาค จังหวดั 4weeks 6weeks 8weeks >10weeks คะแนนเตม็ 0.4 0.6 0.8 1 20 49 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.ยโสธร 0 50 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.ชยั ภมู ิ 20 20 51 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.อํานาจเจริญ 0 52 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.หนองบัวลําภู 20 20 53 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.ขอนแกน 0 54 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.อดุ รธานี 20 20 55 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.เลย 20 20 56 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.หนองคาย 20 20 57 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.มหาสารคาม 20 20 58 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.รอ ยเอด็ 20 20 59 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.กาฬสนิ ธุ 0 60 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.สกลนคร 20 20 61 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.นครพนม 0 62 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.มุกดาหาร 20 20 63 ภาคใต จ.นครศรธี รรมราช 8 8 64 ภาคใต จ.กระบี่ 12 12 65 ภาคใต จ.พงั งา 0 66 ภาคใต จ.ภูเกต็ 12 12 67 ภาคใต จ.สรุ าษฎรธ านี 12 12 68 ภาคใต จ.ระนอง 20 20 69 ภาคใต จ.ชุมพร 12 12 70 ภาคใต จ.สงขลา 0 71 ภาคใต จ.สตลู 0 72 ภาคใต จ.ตรงั 12 12 73 ภาคใต จ.พทั ลุง 0 74 ภาคใต จ.ปตตานี 12 12 75 ภาคใต จ.ยะลา 8 8 76 ภาคใต จ.นราธิวาส 0
ปัจจัยท่ี 3_การพจิ ารณาระดับนาํ้ ในลําน้าํ สายหลัก 6 ม.ี ค. 57 สถานะ ภาค จงั หวัด นา้ํ นอ ย น้ํานอ ยวกิ ฤติ คะแนน 1 ภาคกลาง จ.กรงุ เทพมหานคร 0 0 0 ปกติ 2 ภาคกลาง จ.สมทุ รปราการ 0 0 0 ปกติ 3 ภาคกลาง จ.นนทบรุ ี 0 0 0 ปกติ 4 ภาคกลาง จ.ปทุมธานี 0 0 0 ปกติ 5 ภาคกลาง จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 0 0 0 ปกติ 6 ภาคกลาง จ.อา งทอง 0 0 0 ปกติ 7 ภาคกลาง จ.ลพบุรี 0 20 20 นา้ํ นอ ยวกิ ฤติ 8 ภาคกลาง จ.สงิ หบ ุรี 0 20 20 นาํ้ นอ ยวิกฤติ 9 ภาคกลาง จ.ชยั นาท 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 10 ภาคกลาง จ.สระบุรี 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 11 ภาคกลาง จ.ชลบรุ ี 0 0 0 ปกติ 12 ภาคกลาง จ.ระยอง 0 0 0 ปกติ 13 ภาคกลาง จ.จันทบรุ ี 0 20 20 น้ํานอ ยวิกฤติ 14 ภาคกลาง จ.ตราด 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 15 ภาคกลาง จ.ฉะเชิงเทรา 0 0 0 ปกติ 16 ภาคกลาง จ.ปราจีนบรุ ี 0 20 20 นาํ้ นอยวกิ ฤติ 17 ภาคกลาง จ.นครนายก 0 20 20 นาํ้ นอยวกิ ฤติ 18 ภาคกลาง จ.สระแกว 0 0 0 ปกติ 19 ภาคกลาง จ.ราชบรุ ี 0 20 20 นํ้านอยวกิ ฤติ 20 ภาคกลาง จ.กาญจนบรุ ี 16 0 16 น้ํานอ ย 21 ภาคกลาง จ.สพุ รรณบุรี 0 0 0 ปกติ 22 ภาคกลาง จ.นครปฐม 0 0 0 ปกติ 23 ภาคกลาง จ.สมุทรสาคร 0 0 0 ปกติ 24 ภาคกลาง จ.สมทุ รสงคราม 0 0 0 ปกติ 25 ภาคกลาง จ.เพชรบุรี 16 0 16 น้ํานอ ย 26 ภาคกลาง จ.ประจวบครี ขี นั ธ 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 27 ภาคเหนือ จ.เชียงใหม 0 20 20 น้ํานอยวกิ ฤติ 28 ภาคเหนือ จ.ลาํ พูน 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 29 ภาคเหนอื จ.ลาํ ปาง 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 30 ภาคเหนือ จ.อุตรดติ ถ 16 0 16 นาํ้ นอ ย 31 ภาคเหนือ จ.แพร 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 32 ภาคเหนือ จ.นา น 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 33 ภาคเหนือ จ.พะเยา 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 34 ภาคเหนือ จ.เชียงราย 0 20 20 น้ํานอ ยวิกฤติ 35 ภาคเหนือ จ.แมฮอ งสอน 0 20 20 น้ํานอ ยวิกฤติ 36 ภาคเหนอื จ.นครสวรรค 0 20 20 นา้ํ นอ ยวิกฤติ 37 ภาคเหนอื จ.อุทัยธานี 0 0 0 ปกติ 38 ภาคเหนือ จ.กําแพงเพชร 0 0 0 ปกติ 39 ภาคเหนือ จ.ตาก 0 20 20 นาํ้ นอยวกิ ฤติ 40 ภาคเหนือ จ.สโุ ขทัย 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 41 ภาคเหนือ จ.พษิ ณโุ ลก 0 20 20 น้ํานอ ยวิกฤติ 42 ภาคเหนือ จ.พิจติ ร 16 0 16 นํา้ นอ ย 43 ภาคเหนอื จ.เพชรบูรณ 0 20 20 นาํ้ นอยวกิ ฤติ
ปจั จัยท่ี 3_การพิจารณาระดบั น้ําในลาํ นํ้าสายหลัก 6 ม.ี ค. 57 สถานะ ภาค จังหวดั นํ้านอ ย นํ้านอยวกิ ฤติ คะแนน 44 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.นครราชสมี า 0 20 20 น้ํานอ ยวิกฤติ 45 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.บุรรี มั ย 0 20 20 นา้ํ นอยวิกฤติ 46 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.สุรนิ ทร 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 47 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จ.ศรสี ะเกษ 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 48 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.อุบลราชธานี 0 20 20 นํา้ นอยวิกฤติ 49 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.ยโสธร 0 20 20 นํา้ นอยวกิ ฤติ 50 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.ชัยภมู ิ 0 0 0 ปกติ 51 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.อํานาจเจริญ 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 52 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.หนองบวั ลําภู 0 0 0 ปกติ 53 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.ขอนแกน 0 20 20 นาํ้ นอ ยวกิ ฤติ 54 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.อุดรธานี 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 55 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.เลย 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 56 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.หนองคาย 0 0 0 ปกติ 57 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ.มหาสารคาม 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 58 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จ.รอยเอด็ 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 59 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จ.กาฬสนิ ธุ 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 60 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จ.สกลนคร 0 0 0 ปกติ 61 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.นครพนม 0 0 0 ปกติ 62 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ.มกุ ดาหาร 0 0 0 ปกติ 63 ภาคใต จ.นครศรีธรรมราช 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 64 ภาคใต จ.กระบี่ 0 0 0 ปกติ 65 ภาคใต จ.พังงา 0 0 0 ปกติ 66 ภาคใต จ.ภูเกต็ 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 67 ภาคใต จ.สรุ าษฎรธ านี 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 68 ภาคใต จ.ระนอง 0 20 20 นํ้านอ ยวกิ ฤติ 69 ภาคใต จ.ชมุ พร 0 20 20 นํ้านอยวิกฤติ 70 ภาคใต จ.สงขลา 0 20 20 นาํ้ นอยวิกฤติ 71 ภาคใต จ.สตูล 0 20 20 นาํ้ นอ ยวกิ ฤติ 72 ภาคใต จ.ตรัง 0 20 20 น้ํานอ ยวกิ ฤติ 73 ภาคใต จ.พัทลงุ 0 20 20 น้ํานอยวิกฤติ 74 ภาคใต จ.ปต ตานี 0 0 0 ปกติ 75 ภาคใต จ.ยะลา 16 0 16 น้าํ นอ ย 76 ภาคใต จ.นราธวิ าส 0 20 20 นาํ้ นอยวกิ ฤติ
ปจ จยั ท่ี 3_จังหวัดที่มีนํ้าทา อยูในภาวะวิกฤติ 6 ม.ี ค. 57 ภาค จังหวัด น้ํานอ ย นํ้านอ ยวิกฤติ คะแนนเตม็ 0.8 1 20 1 ภาคกลาง จ.กรงุ เทพมหานคร 0 2 ภาคกลาง จ.สมุทรปราการ 0 3 ภาคกลาง จ.นนทบุรี 0 4 ภาคกลาง จ.ปทุมธานี 0 5 ภาคกลาง จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 0 6 ภาคกลาง จ.อางทอง 0 7 ภาคกลาง จ.ลพบรุ ี 20 20 8 ภาคกลาง จ.สิงหบ รุ ี 20 20 9 ภาคกลาง จ.ชยั นาท 20 20 10 ภาคกลาง จ.สระบุรี 20 20 11 ภาคกลาง จ.ชลบรุ ี 0 12 ภาคกลาง จ.ระยอง 0 13 ภาคกลาง จ.จันทบุรี 20 20 14 ภาคกลาง จ.ตราด 20 20 15 ภาคกลาง จ.ฉะเชิงเทรา 0 16 ภาคกลาง จ.ปราจีนบรุ ี 20 20 17 ภาคกลาง จ.นครนายก 20 20 18 ภาคกลาง จ.สระแกว 0 19 ภาคกลาง จ.ราชบุรี 20 20 20 ภาคกลาง จ.กาญจนบรุ ี 16 16 21 ภาคกลาง จ.สพุ รรณบรุ ี 0 22 ภาคกลาง จ.นครปฐม 0 23 ภาคกลาง จ.สมทุ รสาคร 0 24 ภาคกลาง จ.สมทุ รสงคราม 0 25 ภาคกลาง จ.เพชรบรุ ี 16 16 26 ภาคกลาง จ.ประจวบครี ขี ันธ 20 20 27 ภาคเหนอื จ.เชยี งใหม 20 20 28 ภาคเหนือ จ.ลาํ พูน 20 20 29 ภาคเหนือ จ.ลาํ ปาง 20 20 30 ภาคเหนือ จ.อุตรดิตถ 16 16 31 ภาคเหนอื จ.แพร 20 20 32 ภาคเหนือ จ.นาน 20 20 33 ภาคเหนือ จ.พะเยา 20 20 34 ภาคเหนอื จ.เชียงราย 20 20 35 ภาคเหนอื จ.แมฮอ งสอน 20 20 36 ภาคเหนอื จ.นครสวรรค 20 20 37 ภาคเหนอื จ.อุทยั ธานี 0 38 ภาคเหนอื จ.กาํ แพงเพชร 0 39 ภาคเหนอื จ.ตาก 20 20 40 ภาคเหนอื จ.สโุ ขทยั 20 20 41 ภาคเหนอื จ.พษิ ณุโลก 20 20 42 ภาคเหนือ จ.พจิ ิตร 16 16 43 ภาคเหนอื จ.เพชรบรู ณ 20 20
Search