Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 07 งานวิจัย นบ.ปภ.10 ดำรงฉบับสมบูรณ์

07 งานวิจัย นบ.ปภ.10 ดำรงฉบับสมบูรณ์

Published by Hommer ASsa, 2021-04-30 04:37:25

Description: 07 งานวิจัย นบ.ปภ.10 ดำรงฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

36 ความรูสึกพอใจท่ีเกิดข้ึนเม่ือความตองการของบุคคลไดรับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุงหมายใน ระดบั หนง่ึ ความรสู ึกดงั กลา วจะลดลงหรือไมเ กิดขึ้น หากความตอ งการหรือจุดมุงหมายนั้นไมไดรับ การตอบสนอง อยางไรก็ตามขอมูลพื้นฐาน พบวา ประชาชนที่เปนกลุมตัวอยางสวนใหญมี การศึกษาระดับประถมศึกษา (รอยละ 85.70) ที่เหลือเปนระดับมัธยมศึกษา อนุปริญญา และ ปริญญาตรหี รือสงู กวามเี พยี ง 1 ตวั อยา ง (รอ ยละ 0.70) เทา น้ัน 2.2 ระยะทาง ประชาชนประสบอุทุกภัยท่ีมีระยะทางตางกันจะมีความพึงพอใจ ตอความชวยเหลือจากหนวยงานภาครัฐตางกันท่ีเปนเชนน้ีเพราะวา การชวยเหลือในระหวางเกิด อุทกภัยเปนการปฏิบัติการฉุกเฉิน ซ่ึงจะตองดําเนินการใหทันกับเหตุการณและเวลาอันฉับพลัน (เทพพรรณี เสตตบรรณ, 2541) (อาทิตย เลิศล้ํา, 2546 : 8) ประชาชนที่มีระยะทางท่ีหางไกล จากศูนยอํานวยการชวยเหลือผูประสบอุทกภัยจะมีความพึงพอใจนอยกวาผูท่ีมีระยะทางนอยกวา เน่อื งจากประชาชนผูอยูหางไกลจะเดินทางมารับความชวยเหลือลําบากเพราะเมื่อเกิดนํ้าทวมไมมี เรือท่ีจะมารับความชวยเหลือหรือหนวยงานของรัฐไมสามารถที่จะนําส่ิงของ ขาวสาร อาหารแหง ไปแจกจา ยถึงทไ่ี ด ทําใหไดรับความชว ยเหลือไมทั่วถงึ ทําใหประชาชนทอ่ี ยหู างไกลมีความพึงพอใจ นอ ยกวา 2.3 อาชีพ ประชาชนผูประสบอุทกภัยที่มีอาชีพตางกันมีความพึงพอใจตอความ ชวยเหลือของหนวยงานภาครัฐแตกตางกัน ท่ีเปนเชนน้ีเพราะวา ประชาชนที่มีอาชีพดาน เกษตรกรรม ซึ่งเปนกลุมบุคคลที่มีความเดือดรอนเปนสวนมาก คือรอยละ 90.70 เม่ือไดรับความ ชวยเหลือดานปจจัยพื้นฐานและดานท่ีพักอาศัยช่ัวคราวจึงมีความพึงพอใจมากกวาอาชีพคาขาย ซ่ึงมีอยูเพียงรอยละ 5 เทาน้ัน กลุมน้ีจะมีฐานคอนขางดีจึงไมคอยเห็นความสําคัญของการ ชวยเหลอื ดานปจจัยพ้ืนฐานมากนัก 2.4 รายได ประชาชนผูประสบอุทกภัยท่ีมีรายไดตางกันจะมีความพึงพอใจตอ ความชวยเหลือจากหนวยงานภาครัฐแตกตางกัน ท่ีเปนเชนนี้เพราะวา ประชาชนผูท่ีมีรายไดมาก จะมีความพรอมในการดํารงชีวิตมากกวาประชาชนผูที่มีรายไดนอย อาจจะมีความตองการไม เทากันซึ่งเขามีความพรอมอยูแลวตางกับผูมีรายไดนอยจะมีความตองการความชวยเหลือในการ ดํารงชีวิต เม่ือไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานภาครัฐจึงทําใหเกิดความพึงพอใจมากกวาผูที่มี รายไดม าก 5.3 ขอ เสนอแนะ 1. ขอ เสนอแนะในการนาํ ผลการวิจัยไปใช 1.1 ควรใหความชวยเหลือดานปจจัยพ้ืนฐานแกประชาชนท่ีประสบอุทกภัย การ กระทาํ อยางตอ เนอื่ งเปน ระยะจนกวาสถานการณนํ้าจะลดเขาสูสภาวะปกติ 1.2 ควรเพ่ิมความรวดเร็วในการใหความชวยเหลือ รวมถึงพัฒนาศักยภาพของ เจา หนา ท่ีใหม ีศักยภาพในการชว ยเหลือประชาชนใหม ากข้นึ 1.3 ควรเรงรัดระบบประชาสัมพันธเพื่อใหประชาชนไดทราบขอมูลขาวสารอยาง ท่ัวถึง และชดั เจน

37 2. ขอ เสนอแนะในการวจิ ยั ครัง้ ตอ ไป 2.1 ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการรับภัยจากอุทกภัยภาคประชาชน โดยใช วิ ธี วิ จั ย เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ บ บ มี ส ว น ร ว ม ใ น พื้ น ท่ี ห รื อ ชุ ม ช น ใ ด ชุ ม ช น ห นึ่ ง ใ น เ ข ต อํ า เ ภ อ ชนบท จงั หวัดขอนแกน 2.2 ควรศึกษาวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาเครือขายระบบสื่อสารและเตือนภัยในเขต พืน้ ทเ่ี กิดอุทกภัยซ้าํ ซาก อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน หรอื พ้นื ทอ่ี ื่น ๆ ทมี่ ปี ญ หาลกั ษณะเดียวกัน

บรรณานกุ รม

39 บรรณานกุ รม เกวรี พลเกนิ้ และวชิ ยั โทมนตรี. การศึกษาวธิ ีการพยากรณน ํ้าทวมจากปริมาณฝน. ขอนแกน : ภาควชิ าวศิ วกรรมเกษตร คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2544. เกษมศกั ด์ิ วิชติ ะกุล. ความพงึ พอใจของลกู คา ทม่ี ตี อการใหบรกิ ารของธนาคารกรงุ ไทย จาํ กดั (มหาชน) สาขาทายาง จงั หวัดเพชรบรุ .ี ปริญญานพิ นธป ริญญามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเอกธรุ กจิ ศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, 2545. ธีระศกั ด์ิ สายแสง. การศึกษาการบรรเทาอุทกภยั ในลมุ น้ําสงคราม โดยการเกบ็ กกั นา้ํ ไวใ น พน้ื ที่นา. วทิ ยานิพนธป รญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวศิ วกรรมแหลงน้ํา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกน, 2536. นิพนธ ตง้ั ธรรม และคณะ. รายงานฉบบั สมบูรณโ ครงการศึกษาเพ่อื กาํ หนดพืน้ ทเี่ ส่ียงตอ การเกิดอุทกภัยในเขตลุมน้าํ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . ม.ป.ท. : ม.ป.ท., 2539. (อดั สาํ เนา). ปนดั ดา กาญจนพนั ธุ. ความพึงพอใจของผูบริโภคท่ีมตี อการบรกิ ารของสถานนี า้ํ มันบางจาก กรณีศึกษาหา งหนุ สวนจํากดั มนั่ คงบริการ จงั หวดั สมุทรสาคร. ปริญญานพิ นธ ปรญิ ญามหาบณั ฑติ สาขาการตลาด บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, 2545. ปองกันและบรรเทาสาธารณภยั , กรม. กระทรวงมหาดไทย. คูมือปฏิบัติงาน. กรงุ เทพฯ : อมั รินทรพรนิ้ ตง้ิ แอนดพบั ลชิ ชิ่ง, 2546. พพิ ัฒน ลนั วงษา และคณะ. การศึกษาแนวทางการบรรเทาอุทกภัยในลาํ น้าํ ก่ํา. ขอนแกน : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน , 2538. มารศรี นชุ แสงพลี. ปจ จยั ทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอความพึงพอใจในชีวิตผสู ูงอายุ : ศึกษากรณีผูส งู อายใุ น ชุมชนบอนไก กรงุ เทพมหานคร. วิทยานิพนธป รญิ ญามหาบัณฑติ สาขาสงั คมวทิ ยา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร, 2532. ศริ ิวรรณ เสรีรัตน และคณะ. พฤติกรรมองคการ. กรงุ เทพฯ : ดวงกมลสมยั , 2541. สุรพล เยน็ เจริญ. ความพึงพอใจตอ การเรียนวิชาอาชีพธรุ กิจของนกั เรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 และมธั ยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรยี นปทมุ คงคา สังกดั กรมสามญั ศกึ ษา. ปรญิ ญานิพนธ ปริญญามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าธรุ กจิ ศึกษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัย ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2543. สุวิมล ติรกานันท. ระเบยี บวธิ ีการวิจัยทางสังคมศาสตร : แนวทางสกู ารปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : ภาควชิ าการ ประเมนิ และการวจิ ัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั รามคําแหง, 2542. อาทติ ย เลศิ ลาํ้ . ความตองการของผูประสบภัยนํา้ ทวมและการจัดการแกไขปญ หานา้ํ ทว ม กรณีศกึ ษา : บา นลําปาว อําเภอเขื่อนขนั ธ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ. วทิ ยานพิ นธป รญิ ญา มหาบณั ฑิต สาขาสาธารณสขุ ศาสตร บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน , 2546.

40 Alderfer, Clayton.แนวคิดทางจิตวิทยา [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://www.krirk.ac.th/ education/article10.htm (11 พฤษภาคม 2549) Maslow, Abraham.แนวคิดทางจิตวิทยา [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://www.krirk.ac.th/ education/article10.htm (11 พฤษภาคม 2549) Prince, Samuel Henry. Disaster’s Little known. Pioneer : Canada’s Samuel Henry Prince, 1912. P. 1-2. Skeet, M. Manual for Disaster, 1978, P. 14.

ภาคผนวก

แบบสอบถาม เรอื่ ง ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภยั จากหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน คาํ ชีแ้ จง กรุณาทําเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หนาขอความท่ตี รงกับคาํ ถามตามความเปนจรงิ ตอนท่ี 1 ขอ มลู พื้นฐานและสถานภาพของผตู อบแบบสอบถาม 1. เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย 2. อายุ ( ) 30 – 45 ป ( ) ต่ํากวา 30 ป ( ) 45 ปข นึ้ ไป 3. ระดับการศกึ ษา ( ) ประถมศึกษาหรอื ตํ่ากวา ( ) มธั ยมศึกษา ( ) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. หรืออนปุ ริญญา (ปวส.) ( ) ปริญญาตรหี รือสูงกวา 4. อาชพี ( ) คา ขาย / ธรุ กจิ ( ) รับจาง ( ) อ่ืน ๆ ระบ.ุ ................................................ ( ) เกษตรกรรม 5. รายได ( ) 15,000 – 20,000 บาทตอป ( ) ตาํ่ กวา 15,000 บาทตอ ป ( ) มากกวา 20,000 บาทขน้ึ ไป 6. ระยะทางจากบานถงึ ศูนยอ าํ นวยการชวยเหลอื ผปู ระสบอุทกภัย ( ) ตาํ่ กวา 5 กิโลเมตร ( ) ระหวาง 5-10 กโิ ลเมตร ( ) มากกวา 10 กิโลเมตรขนึ้ ไป

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจประชาชนตอการใหบรกิ ารของหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน คาํ ช้แี จง โปรดพิจารณาระดับความพึงพอใจ แลวทําเครื่องหมาย / ลงในชองวางท่ีตรงกับระดับความพึง พอใจ ใหตรงกับความเปนจริง และตามความคิดเห็นของทานเก่ียวกับความชวยเหลือของภาครัฐตอ ประชาชนทีป่ ระสบอทุ กภัย โดยมีหลักเกณฑตอไปนี้ กิจกรรมบริการ ระดบั ความพงึ พอใจ ดานการอพยพ คน สตั ว และทรัพยสนิ พึงพอใจ เฉย ๆ ไมพ ึงพอใจ 1. ความชดั เจนของขาวสารประชาสมั พนั ธ…………………… ……….... ……….. ……………. 2. มคี วามรวดเรว็ ในการใหบ ริการ..................................... ……….... ……….. ……..……. 3. มีความเสมอภาคในการใหบริการ................................. ……….... ……….. ……..……. 4. ความเอาใจใสข องเจาหนาท.่ี ........................................ ……..….. ……….. ……..……. 5. ความสภุ าพออนโยนของเจา หนา ที่............................... ……….... ……….. ……..……. 6. ความซอ่ื สตั ย สจุ ริต โปรง ใสของผูใหบริการ............... ……….... ……….. ……..……. ดา นจัดหาท่พี ักอาศยั ชั่วคราว ……….... ……….. ……..……. 1. ความรวดเร็วตอ เหตุการณของการใหบริการ................. ……….... ……….. ……..……. 2. สถานที่และส่ิงอํานวยความสะดวกที่ใหบริการ.............. ……….... ……….. ……..……. 3. ความทัว่ ถงึ และเสมอภาคของการใหบ ริการ.................. ……….... ……….. ……..……. 4. ความเอาใจใสกระตือรอื รนของเจาหนา ที่ผูใหบ รกิ าร.... ……..….. ……….. ……..……. 5. ความสุภาพออ นโยนของเจา หนา ท่ีผูใ หบรกิ าร.............. …………. ……….. ……..……. 6. การจดั ลําดับความเรงดวนในการใหบ ริการ................... การใหค วามชวยเหลือดานปจจยั พื้นฐาน ……….... ……….. ……..……. 1. ความรวดเรว็ ทนั ตอ เหตุการณของการใหบริการ........... ……..….. ……….. ……..……. 2. ความทว่ั ถงึ และเสมอภาคของการใหบริการ.................. ……….... ……….. ……..……. 3. ความสุภาพออ นโยนของเจา หนาที่................................ ……….... ……….. ……..……. 4. ความซอ่ื สัตย สุจริต โปรง ใส ของผูใหบ ริการ.............. …………. ……….. ……..……. 5. การจัดสถานทแ่ี ละส่งิ อํานวยความสะดวกตางๆ ณ ทจ่ี ุดบรกิ าร

กจิ กรรมบริการ ระดบั ความพงึ พอใจ การใหค วามชวยเหลือดา นการฟน ฟูและบรู ณะ พงึ พอใจ เฉย ๆ ไมพ ึงพอใจ 1. ความรวดเรว็ ในการใหบ ริการ........................................... ……….... ……….. ………...….. 2. ความท่วั ถงึ และเสมอภาคของการใหบริการ..................... ……….... ……….. …….…….... 3. ความเอาใจใสกระตือรอื รนของเจาหนา ทีผ่ ูใหบรกิ าร....... ……….... ……….. ……….……. 4. ความสุภาพออนโยนของเจาหนา ท่ีผูใหบ ริการ................. ……….... ……….. …………….. 5. ความซอื่ สตั ย สจุ ริต โปรง ใสของผูใหบรกิ าร.................. ……….... ……….. …………….. ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะของประชาชนผปู ระสบอุทกภัยเกีย่ วกับการใหความชว ยเหลอื ในระหวา ง และหลงั ประสบอทุ กภยั ของหนว ยงานภาครัฐ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................

แบบการเสนอโครงรางการศึกษาวิจัยสว นบุคคล (Proposal) หลกั สตู ร นักบรหิ ารงานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ ท่ี 10 1. ช่อื ผูจดั ทํา วา ท่ี ร.ต.ดํารง คงอริยะ เลขประจาํ ตัว 07 2. ช่ือเรือ่ ง 3. ความเปน มาของเร่อื งและสถานการณปจจุบนั อุทกภยั (Flood) เปนภยั ธรรมชาติท่ีเกิดจากหลายสาเหตุ ไดแก การเกิดฝนตกหนักตอเน่ืองกัน เปนเวลานานและเปนบริเวณกวาง เน่ืองจากพายุหมุนเขตรอนท่ีพัดผานทําใหเกิดนํ้าทวมในบริเวณ ดงั กลาว การเกดิ นาํ้ หลากจากภูเขาทเี่ ปน ตนน้ําลําธาร ทําใหเกิดน้ําทวมฉับพลัน เนื่องจากดินระบายนํ้า ไมทันจึงเออลนลงมาทวมพื้นที่ดานลาง การเกิดตะกอนในลํานํ้าทําใหน้ําต้ืนเขิน เมื่อเกิดฝนตกมาอยาง หนักจึงทําใหน้ําเออลนทวมพื้นที่บริเวณริมฝงลํานํ้า ความสามารถในการอุมน้ําของดินนอยทําใหนํ้าฝนที่ ตกลงมาซมึ ลงสดู ินไดนอยและสวนที่เหลือก็เออทว ม พ้ืนทบี่ รเิ วณดังกลาวไดอยางรวดเร็ว เปนตน สวน สาเหตอุ ่ืน ๆ ซ่งึ มโี อกาสเกิดขึ้นไดนอย เชน เหตุการณเขื่อนราวและพังเมื่อเกิดฝนตกลงมาอยางหนัก ทํา ใหเกิดนํ้าทวมอยางฉับพลันสรางความเสียหายแกประชาชนในชุมชนใกลเคียง และหากไมทราบลวงหนา อาจแกไขเหตุการณไมทัน สงผลใหเกิดทรัพยสินเสียหายหรือเสียชีวิตได เพราะนํ้าท่ีกักเก็บไวในเขื่อนมี ปริมาณมากและไหลมาอยางรวดเร็ว ทําใหกระแสนาํ้ ทีร่ นุ แรงสามารถพดั พาบานเรือน สัตวหรือ คน ไปได อยา งงายดาย นอกจากนย้ี งั มีสาเหตทุ างออ มที่กอใหเ กดิ อทุ กภยั หลายสาเหตุ ท้ังจากการเปล่ียนแปลงการ ใชที่ดินโดยสวนใหญจะเปลี่ยนจากพ้ืนที่ปาไมหรือพื้นท่ีเกษตรกรรมไปเปนพ้ืนท่ีชุมชน เนื่องจากการมี ประชากรเพ่ิมมากข้ึนหรือการตัดไมทําลายปาเพื่อนําไปใชประโยชนโดยไมสนใจระบบนิเวศวิทยาที่ เปล่ียนแปลงไปสงผลใหเม่ือเกิดฝนตกลงมาแลว ไมมีปาไมคอยอุมน้ําหรือชะลอความแรงของน้ําฝนที่ตก ลงมา น้ําจึงไหลทวมพ้ืนที่อยางรวดเร็วหรือการกอสรางถนนขวางทางนํ้า กอใหเกิดการระบายน้ําไมทัน และเกิดนาํ้ ทวมในทสี่ ดุ ซ่งึ จะเหน็ วาเมอื่ เกิดขึ้นแลวยอมทําใหเ กิดความสูญเสียอยางใหญหลวง ทรัพยสิน ของประชาชนพลเมืองและของรฐั ถูกทําลายเสียหาย ผูประสบภัยอาจไดรับบาดเจ็บ เกิดความพิการและ เสยี ชวี ิตได เมอ่ื อทุ กภัยเกดิ ข้นึ และแผขยายวงกวา งออกไป ปรมิ าณความสญู เสียยอมเพ่มิ ขนึ้ เปน เงาตามตัว จังหวัดขอนแกน เปนจังหวัดหนึ่งซ่ึงอยูในเขตพื้นท่ีเสี่ยงอุทกภัยระดับรุนแรง เกิดอุทกภัยเปน ประจําทุกป และแผบริเวณกวางทําใหเกิดผลเสียหายตอบานเรือนและสิ่งปลูกสราง ตลอดจนผลิตผล ทางการเกษตร การปศุสัตว สัตวเล้ียงตาง ๆ ตนไมในสวน ตลอดจนพืชผลตาง ๆ จมนํ้าตายไปหมด จาก ผลสรุปสถานการณอุทกภัย ณ วันท่ี 25 พฤศจิกายน 2556 จังหวัดขอนแกนเกิดอุทกภัยในพ้ืนที่รวม 9 อําเภอ 33 ตําบล 230 หมูบาน ไดแก อําเภอแวงนอย แวงใหญ มัญจาคีรี ชนบท บานไผ บานแฮด

โคกโพธิ์ไชย พระยืน และอําเภอเมืองขอนแกน ความเสียหายมีราษฎรเดือดรอน 19,511 ครัวเรือน เสยี ชีวติ 7 คน ถนน 102 สาย พ้ืนทีก่ ารเกษตรเสียหาย 95,020 ไร อําเภอชนบท เปน อาํ เภอหนึง่ ในหลาย ๆ อําเภอ ของจังหวัดขอนแกนที่ไดรับผลกระทบจากการ เกดิ อทุ กภยั ทกุ ๆ ป เนอื่ งจากมีแมน ้าํ สายสําคัญทเ่ี ปน แมน าํ้ สายหลักและแมน้ําสาขา เชน แมนํ้าชี ท่ีมีตน กําเนดิ จากเทอื กเขาในพนื้ ที่จังหวดั ชยั ภูมิ ไหลผานจังหวัดขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด และยโสธร ไหล ไปรวมกบั แมน า้ํ มูลทจี่ งั หวดั อบุ ลราชธานี แมนํา้ ชไี หลผานอําเภอชนบท และอาํ เภอดังกลาวขางตน ถือเปน แมนํ้าสายหลักของจังหวัดท่ีประชาชนใชในการอุปโภคและเพ่ือการเกษตร ทําใหพื้นที่การเกษตรไดรับ ความเสียหาย ประชาชนที่อาศัยอยูริมฝงแมน้ําชีไดรับความเดือดรอน ในฤดูฝนจะมีปริมาณนํ้า มากและไหลหลากอยางรวดเร็วและน้ําจะมักเออลนทวมพื้นท่ีการเกษตรทําใหพ้ืนที่การเกษตรไดรับความ เสียหายเปนประจําทุก ๆ ป จัดไดวาอําเภอชนบทเปนอําเภอท่ีไดรับภัยจากนํ้าทวมบอยครั้งและทําให ประชาชนในพนื้ ท่ไี ดรบั ความเดือดรอ น ดังน้ัน จึงมีความจําเปนที่จะตองทําการศึกษาคนควา จากความเปนมาและความสําคัญของ ปญหาขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในเขตพื้นท่ีที่ไดรับผลกระทบจาก ปญหาเกิดอุทกภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ซึ่งเปนผูท่ีไดรับบริการจากหนวยงานทางภาครัฐท่ีเขา มาใหความชวยเหลือในดานตาง ๆ เชน การใหความชวยเหลืออพยพ คน สัตวและทรัพยสินไปอยูในที่ ปลอดภัย การจัดหาที่พักชั่วคราว การแจกถุงยังชีพเครื่องอุปโภค-บริโภค ขณะเกิดอุทกภัยและหลังจาก นํ้าลดสูสภาพปกติแลวมีการใหความชวยเหลือฟนฟู ซอมแซมส่ิงที่ชํารุดเสียหายใหกลับคืนสูสภาพปกติ ซ่ึงผูวิจัยมีความสนใจวา ประชาชนหรือชุมชนอําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ท่ีไดรับความเสียหายจาก อุทกภัยนน้ั มีความพงึ พอใจตอการใหความชว ยเหลอื จากหนว ยงานทางภาครฐั หรือไม 4. เหตุผลและความจําเปนในการศกึ ษาและคําถามในการวิจยั ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจาก หนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน แตกตางกันตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดและระยะทาง 5. วตั ถุประสงคข องการศึกษา 5.1 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบ อุทกภยั จากหนวยงานภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน 5.2 เพื่อศกึ ษาปญหา และอปุ สรรค ท่ีมีผลตอความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือใน ระหวางและหลังประสบอุทกภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และระยะทาง 6. วธิ กี ารและขอบเขตการศึกษา เพ่อื ใหการศกึ ษาวิจยั ครง้ั นเี้ ปนไปตามวัตถุประสงคท ีว่ างไว ผูว ิจยั ไดกําหนดขอบเขตการวจิ ยั ดังนี้ 6.1 ประชากร ไดแก ครัวเรือนประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากภัยอุทกภัยในเขตอําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน จํานวน 4 ตาํ บล 40 หมบู าน จาํ นวน 4,485 ครวั เรือน

6.2 ตวั แปรทใ่ี ชในการศกึ ษาวิจัย มดี ังนี้ 6.2.1 ตัวแปรตน (Independent variables) ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได และระยะทาง 6.2.2 ตัวแปรตาม (Dependent variables) ไดแก ความพึงพอใจของประชาชนตอมา ความชว ยเหลือในระหวางและหลงั ประสบอทุ กภัยจากหนว ยงานภาครฐั อาํ เภอชนบท จังหวดั ขอนแกน กรอบแนวคิดในการศึกษา ตัวแปรตาม ความพงึ พอใจของประชาชนตอความ ตวั แปรอสิ ระ ชว ยเหลอื ของหนว ยงานภาครัฐใน ปจ จยั สว นบุคคล ไดแก ระหวา งและหลงั ประสบอุทกภัย ๑. เพศ อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน ๒. อายุ ๓. ระดบั การศกึ ษา ๔. รายได ๕. ระยะทาง ปจ จัยจากการไดรบั การ สนบั สนนุ ดานตางๆ ดงั นี้ - ดานบุคลากร - งบประมาณ - อปุ กรณ เครื่องมือ เครือ่ งจักรกล ยานพาหนะ 7. ทฤษฎี แนวความคิด ระเบยี บกฎหมายทีใ่ ชใ นการศึกษา 7.1 พรบ.ปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 7.2 แผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับจงั หวดั พ.ศ. 2553 – 2557 ของสํานกั งานปองกันและ บรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดขอนแกน 7.3 แผนปฏิบัติการฉุกเฉินแกไขปญหาอุทกภัย ประจําป 2556 ของสํานักงานปองกันและบรรเทาใ สาธารณภยั จังหวัดขอนแกน นิยามศัพท 1. ความพึงพอใจของประชาชนตอการใหความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบ อุทกภัยจากหนวยงานของรัฐ หมายถึง ความรูสึกชอบหรือยินดีของหัวหนาครัวเรือนที่ไดรับบริการการ ชวยเหลอื จากภาครัฐ (ความรวดเรว็ ความทั่วถึง ความสุภาพออนโยน) ในขณะเกิดอุทกภัยและภายหลัง นาํ้ ลดในเขตอําเภอชนบท จงั หวัดขอนแกน ป 2556 ในดานตอไปนี้ 1.1 การอพยพ คน สัตวและทรพั ยส ิน 1.2 การจัดหาท่ีพกั อาศัยชั่วคราว

t.s nr:l#nrrudrarudadrufl qdaduo'ru a 1.4 nuhfrn:T udrfl rilfr arirunT :q:ruvuaufiu4 z. a1$ mnelfi r ar saiq riu,frur ufl rfi ut owhr,nir nir rSoudtdiu ru a nrs ru a'r il It ot ilnflUQu luooltuatuuYt fUl itl,no atauunIu g.t;ft*un,t:;lnu,turnufi r1fi ar:fi numa*i':miTnirrEaulumnfufi d:cauamnriiJ dtn otuuvr f,.ruinr ou uriu tdiu r T n nT : fi nsr m'r rEuulua nrfu nr: fi nur +. a rfi r'r ralr a fii fi o n : :r u r t tn : uot fi t fi ra'r rnrir n ir rEa utu m n duidil:sau ail nria do,ltnatutu {utmluprmuurriu fJiorfiroqrijftrriooyahirfrn:rur1.i 6rfionr:n:a$aufrolhsyridrnouurulu;durr.t !, ttljn'ln 1 a ;a{tan {i i tiruyran 14:oa{nauu]4uau 5. :r s16 rail 1 a fi q,l\"ru r u riudri'r yrrir nir riaulu uu n dufi rJ :u au q vr nfla d'r m a tuuyr fulitil?un?auunIu qtgnv:ua1nn1:u:.vnaua?udfln?rn 3l aa ntadaulauu:lflmaau 6. :st cfi'r{ ?tillufi{ Tsucfl1{olflrirur1ir'jlu:sauoflnrYafitrutftiruran't:d:aru6o fUrrtI:vauailnfin a. Haderadrasldiu rCari, aramui{'u{oqadavrfrud:vlwriEiadrmo ryrau'ra uavorrinr:uEur:eirusirua rirtr-Il{ rflu{o4ardarfiulun, :rJ:vnaufror:rurlunr:rJfrriHnrirdrirflrudarJ:crrsudtdiurTr,firl6o, nrlr oorat ytnil Luttmoolmotuuyt Sd {u?q ffiauunruuacu:at?flJiou 6l yJqtivleinugucro{rualuqdurflou flit n?'rurfiurataror#ffinn r (e:.iltriffdI tfiugqn:) a.rda ui,r?,r,.1 araT:didGnurfinfinuT uu.iln. dud ro (si'r:r n{oiw} u9n4rfJinu1uu.Ufl. ?u14 10 AUUU uuo{fl uuasu:' [yt.u.urriu ?ilu1a u.1-/4t*-{or.-qd rfi Haqilfl ruo{o1f]. {..*J uod, ......fl..t(V {te# (utatdnrcur xfiuurn:) 9o av gutUa{flouBavut:lyt1argr:ruaas rya1u? anlT?mum

ชอ่ื สกลุ ประวตั ิผูวจิ ยั วนั เดอื น ปเ กิด สถานที่อยปู จจบุ ัน : วาทร่ี อยตรีดาํ รง คงอรยิ ะ การศกึ ษา : 29 สิงหาคม 2502 ตําแหนงหนา ท่ปี จจบุ ัน : 99/6 หมูที่ 26 ถนนมติ รภาพ-โกทา สถานทที่ าํ งานปจ จบุ ัน ตาํ บลศลิ า อาํ เภอเมอื งขอนแกน จังหวดั ขอนแกน 40000 : ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศบ. โยธา) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วทิ ยาเขต เทเวศร : วิศวกรโยธาชํานาญการพเิ ศษ : สาํ นักงานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ขอนแกน อําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน 40000


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook