รายงานการศกึ ษา เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการใหค้ วามช่วยเหลือเพอ่ื บรรเทา ความเดือดรอ้ นใหแ้ ก่ผปู้ ระสบภัยในเบอื้ งต้น โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน กรณีศกึ ษา : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ในพ้นื ที่จังหวดั สมุทรสาคร จัดทาโดย นายประยงค์ บญุ มีรอด รหัสประจาตวั นกั ศกึ ษา 15 เอกสารฉบับนี้เปน็ สว่ นหน่งึ ในการศึกษาอบรม หลกั สูตร นกั บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ระหวา่ งวันท่ี 7 มกราคม – 10 เมษายน 2557 วทิ ยาลัยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
คานา เอกสารการศกึ ษาน้ี จดั ทาขน้ึ เพ่อื วิเคราะห์หาความสาเรจ็ ในการบริหารจัดการ การเพม่ิ ประสิทธิภาพการให้ความชว่ ยเหลอื เพ่ือบรรเทาความเดือดรอ้ นให้แก่ผู้ประสบภัยในเบือ้ งต้น โดยใช้ งบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ กรณีศกึ ษา : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในพื้นท่จี ังหวดั สมทุ รสาคร เพือ่ นาข้อเทจ็ จรงิ พรอ้ มท้งั ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ัตงิ านและแนวทางแกไ้ ขปญั หา นาไปประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นาวิธีการปฏบิ ัติงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน ซ่ึงอาจเป็นบทเรียนทมี่ ี ประโยชนอ์ ยา่ งย่ิงในการชีน้ าและระบวุ ธิ ีการดาเนนิ งาน เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปาู หมายอยา่ งแทจ้ รงิ อีกด้วย ผู้ศึกษาวจิ ัยขอขอบพระคุ ณ คณะกรรมการที่ปรกึ ษา ตลอดจนคณะผ้บู รหิ ารวทิ ยาลยั ปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ผู้อานวยการและคณะเจ้าหน้าท่ีโครงการนักบริหารงานปอู งกนั และบรรเทา สาธารณภยั รุ่นท่ี 10 ทใ่ี หค้ วามรู้ คาแนะนา และขอขอบพระคณุ เจา้ หนา้ ท่ี องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในพ้ืนท่ีจังหวดั สมทุ รสาครทุกแห่ง ทกี่ รณุ าให้ความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถามจนครบทุกแห่ง ทาให้ ผู้ศกึ ษาสามารถนาผลทีไ่ ด้มาวิเคราะหผ์ ลการศกึ ษาจนเสร็จสิ้นครบตามกระบวนการศกึ ษาวจิ ยั หากมี ข้อบกพ รอ่ งประการใดปรากฏในรายงานฉบับน้ี ผศู้ ึกษายินดนี ้อมรับนาไปปรบั ปรุงแกไ้ ข ตอ่ ไป ดว้ ย ความเคารพ ประยงค์ บญุ มีรอด มนี าคม 2557
กติ ติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาวิจยั เร่อื ง การเพม่ิ ประสิทธิภาพการให้ความช่วยเหลอื เพ่อื บรรเทาความ เดือดร้อนให้แก่ผปู้ ระสบภยั ในเบ้อื งตน้ โดยใช้งบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น กรณีศกึ ษา : องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ในพืน้ ทจ่ี งั หวัดสมทุ รสาคร เล่มนี้ สาเร็จไดด้ ้วยดี เนื่องจาก ผ้ศู ึกษาวิจัยได้รับ ความอนเุ คราะห์ จาก ดร.ปิยวัฒน์ ขนิษฐบตุ ร , อาจารยว์ รชพร เพชรสวุ รรณ , คณะกรรมการทีป่ รึกษา , ผู้อานวยการวทิ ยาลยั ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั และ ผูอ้ านวยการโครงการฝกึ อบรมหลกั สตู ร นักบริหารงานปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ. ร่นุ ที่ 10) ซง่ึ ไดก้ รณุ าตรวจสอบ แนะนา และให้ แนวทางอนั ถกู ต้อง จนทาใหผ้ ูศ้ กึ ษาวิจยั ประสบความสาเรจ็ ในการศึกษา คน้ ควา้ และทาใหร้ ายงานการ ศกึ ษาวิจยั ฉบบั นสี้ าเรจ็ ไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ ผู้ศึกษาวิจยั ขอขอบพระคณุ ผูม้ สี ว่ นเกยี่ วข้องทกุ ท่าน ตลอดจนเจ้าหน้าทขี่ องวิทยาลัยปูองกันและ บรรเทาสาธารณภยั ท่ีใหค้ วามอนเุ คราะห์และอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ ท่ที าให้ผวู้ จิ ัยไดม้ โี อกาส ศกึ ษาค้นควา้ หาข้อมลู จนทาให้ผลการวิจยั ในเร่ืองดงั กล่าวเสร็จสมบูรณ์ และท่สี าคญั ผู้ศึกษาวิจยั ต้อง ขอขอบพระคุณองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่ นในพ้นื ท่ีจังหวดั สมุทรสาครทกุ แหง่ ท่กี รุณาให้ความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถามจนครบทกุ แหง่ ทาใหผ้ ู้ศึกษาสามารถนาผลทีไ่ ดม้ าวิเคราะห์ผลการศกึ ษาจนเสรจ็ สน้ิ ครบตามกระบวนการศกึ ษาวิจยั ผูศ้ กึ ษาหวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่า รายงานการศึกษาวจิ ัยฉบบั นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ ทีส่ นใจในเรอื่ ง การให้ความชว่ ยเหลือเพือ่ บรรเทาความเดอื ดร้อนใหแ้ ก่ผปู้ ระสบภัยในเบื้องตน้ โดยใชง้ บประมาณของ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ หรืออาจใชเ้ ปน็ แนวทางในการศกึ ษาค้นควา้ ต่อไปไดอ้ ยา่ งดี คุณความดีอนั ใดท่ี เกิดจากการศกึ ษาครง้ั น้ี ผูศ้ กึ ษาของมอบแด่ บดิ า มารดา คณ าจารย์ และผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ ง สนับสนุนผูศ้ กึ ษา ด้วยดตี ลอดมา ประยงค์ บญุ มีรอด มนี าคม 2557
บทสรุปผู้บริหาร การศกึ ษาวจิ ยั เรื่อง การเพม่ิ ประสิทธิภาพการให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือบรรเทาความเดอื ดรอ้ น ให้แกผ่ ู้ประสบภยั ในเบอ้ื งต้น โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น กรณีศกึ ษา : องคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในพ้ืนทจี่ งั หวดั สมุทรสาคร ในคร้ังนี้ เพอ่ื ให้ทราบว่าจะมแี นวทางในการบรหิ ารจดั การ ดา้ นใดบา้ งท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จในการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขตพ้นื ทจ่ี งั หวัดสมทุ รสาครแต่ ละแหง่ ไดใ้ ช้งบประมาณของหนว่ ยงานตนเองใหค้ วาม ช่วยเหลอื ผปู้ ระ สบภัยเพอ่ื เปน็ การบรรเทาความ เดือดร้อนให้แก่ผู้ประสบภัยในเบอ้ื งตน้ ก่อนเปน็ ลาดับแรก ผลการศกึ ษาความสาเรจ็ ใน การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการให้ความชว่ ยเหลอื เพ่อื บรรเทาความ เดอื ดรอ้ นใหแ้ ก่ผู้ประสบภยั ในเบื้องต้น โดยใชง้ บประมาณขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน พบวา่ จาก การศึกษาความสาเร็จใน การให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดอื ดรอ้ นให้แก่ผู้ประสบภยั ในเบื้องตน้ โดยใชง้ บประมาณขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ โดยเฉล่ียอยู่ในระดบั มาก ทุกด้าน ซึ่งประกอบด้วย ดา้ นการบรหิ ารจดั การงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยสูงสดุ เนื่องจากหน่วยงานองค์กรปก ครองส่วนทอ้ งถิน่ ให้ ความสาคญั ในการชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย จงึ สง่ เสรมิ ให้มคี วามพรอ้ มดา้ นงบประมาณอย่างตอ่ เนอื่ ง รองลงมาคอื ด้านการบรหิ ารจดั การดา้ นบคุ ลากร ท่มี ีจานวนเพยี งพอ เจ้าหนา้ ทใ่ี นหนว่ ยงาน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเรือ่ งระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการงบประมาณ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2541 เจ้าหน้าท่ใี นหน่วยงาน มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องของหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พิบตั กิ รณีฉุกเฉิน พ .ศ. 2556 เจ้าหนา้ ทใ่ี นหน่วยงาน สามารถจัดทาเอกสารการเบิก งบประมาณเพือ่ ให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิไดอ้ ย่ างถกู ต้องตามระเบียบของทางราชการทกุ ข้ันตอน และ เจ้าหน้าท่ใี นหนว่ ยงาน มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรอ่ื งระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการ รับเงินฯ และการตรวจเงนิ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2547 ตามลาดับ ในการนี้ ผู้วจิ ยั หวังว่าผลที่ได้รับจากการศกึ ษาในครงั้ นี้ จะเปน็ ประโยชน์ ตอ่ องคก์ รปกครองสว่ น ท้องถนิ่ ในพ้ืนที่จังหวัดสมุทรสาคร ซ่งึ จะทาให้มคี วามเขา้ ใจในข้ันตอนปฏบิ ตั กิ ารใหค้ วามช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยในเบ้ืองต้น อยา่ งถกู ตอ้ ง และสามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพยงิ่ ข้ึ น ซงึ่ ทาให้ ผู้ประสบภยั ทไ่ี ด้รบั ความเดอื ดร้อนนั้น สามารถทจี่ ะไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ด้วยความรวดเรว็
สารบญั หน้า บทท่ี 1 บทนา 1 2 1.1 ความสาคญั และทมี่ าของปัญหาวิจยั 2 1.2 เหตผุ ลและความจาเปน็ ในการศกึ ษา 2 1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา 3 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 3 1.5 ประโยชน์ทใี่ ช้ในการศึกษา 1.6 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 6 9 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง 13 26 2.1 แนวคดิ เกย่ี วกับความรู้เรอ่ื งการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 2.2 งานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 27 2.3 กฎหมายทเ่ี กีย่ วข้อง และแนวทางปฏิบัติ 27 2.4 กรอบแนวคดิ ในการศึกษา 28 28 บทที่ 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ัย 28 3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 29 29 3.2 เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา 3.3 การตรวจสอบเครือ่ งมือ 30 3.4 องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม 32 3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6 การแปรผลข้อมลู 35 3.7 การวเิ คราะห์ข้อมูล 36 37 บทที่ 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 37 4.1 สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.2 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความความสาเร็จในการใหค้ วามช่วยเหลือฯ บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 5.1 สรปุ ผลการศึกษา 5.2 การอภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ 5.4 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจัยครง้ั ต่อไป บรรณานกุ รม ภาคผนวก
สารบญั ตาราง ตารางท่ี 4.1 แสดงจานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ หนา้ ตารางท่ี 4.2 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ ตารางท่ี 4.3 30 ตารางท่ี 4.4 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามตาแหน่ง 30 ตารางที่ 4.5 31 ตารางที่ 4.6 แสดงจานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์ 31 ตารางที่ 4.7 แสดงจานวนของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามระยะเวลาท่ที างาน 31 32 ตารางที่ 4.8 แสดงจานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั การศกึ ษา แสดงคา่ เฉลยี่ (������ ) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) ความสาเร็จในการ 32 ตารางท่ี 4.9 ใหค้ วามชว่ ยเหลือฯ ทุกด้าน แสดงค่าเฉลยี่ (������) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) ความสาเร็จในการ 33 ให้ความช่วยเหลือด้านงบประมาณ แสดงคา่ เฉลย่ี (������) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความสาเร็จในการ 34 ให้ความชว่ ยเหลือด้านบุคลากร
บทท่ี 1 บทนา 1. ความสาคัญและท่ีมาของปัญหาวจิ ัย จังหวัดสมุทรสาคร เป็นจงั หวัดชายทะเล ตง้ั อย่รู ิมฝั่งแม่นา้ ทา่ จนี ในเขตพนื้ ทภี่ าคกลางตอนลา่ ง ของประเทศไทย ประมาณเส้นรงุ้ ท่ี 130 องศาเหนอื และเสน้ แวงที่ 100 องศาตะวันออก เปน็ จงั หวดั ปริมณฑล ห่างจากกรงุ เทพมหานครประมาณ 30 กโิ ลเมตร มีพ้นื ท่ี 872.347 ตารางกโิ ลเมตร ลกั ษณะภูมิ ประเทศเปน็ ที่ราบลุม่ ชายฝ่งั ทะเล สงู จากระดับน้าทะเลประมาณ 1.00 - 2.00 เมตร มแี ม่น้าท่าจนี ไหล ผ่านตอนกลางจังหวดั ไหลคดเคี้ยวตามแนวเหนอื ใต้ลงสูอ่ ่าวไทยทีอ่ าเภอเ มืองสมทุ รสาคร ระยะทางยาว ประมาณ 70 กโิ ลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 3 อาเภอ 40 ตาบล 288 หมู่บ้าน มีองค์ กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รวม 37 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลนคร จานวน 2 แห่ง เทศบาลเมือง จานวน 1 แห่ง เทศบาลตาบล จานวน 9 แห่ง และ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล จานวน 25 แห่ง ซึง่ จงั หวัด สมุทรสาครน้นั มกี ารเกิดเหตสุ าธารณภัยอย่บู อ่ ยครงั้ สว่ นมากจะเปน็ เรอื่ งของอัคคภี ัยเป็นสว่ นใหญ่โดย เฉล่ียแลว้ จะเกิดเหตอุ ัคคีภัยประมาณ 2-3 ครง้ั ตอ่ เดอื น โดยเกิดเหตุกบั บา้ นเรอื นประชาชนเป็นสว่ นใหญ่ และจะเกิดกบั โรงงานอุตสาหกรรมบา้ งในบางครง้ั รองลงมาจะเปน็ เรื่องของวาตภัย ซ่งึ เกิดในช่วงประมาณ กลางเดือนพฤษภาคม ของทกุ ปี โดยในแตล่ ะปีจะมบี ้านเรอื นประชาชนท่ไี ด้รบั ความเสียหายจากวาตภยั บา้ งเล็กน้อย ประมาณ 3-4 หลงั ต่อปี หรอื บางปีกไ็ มเ่ กดิ เหตวุ าตภยั เลย ในการเกิดเหตุสาธารณภยั ในแต่ละคร้งั น้นั หนว่ ยงานราชการท่ีเกย่ี วขอ้ งโดยเฉพาะองคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในพน้ื ทเ่ี กิดเหตุจะตอ้ งเปน็ ผเู้ ขา้ ไปดแู ลให้ความช่วยเหลือเป็นลาดบั แรกตาม พระราชบัญญตั ิปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ .ศ. 2550 มาตรา 21 เมอื่ เกดิ เหตุสาธารณภัยขน้ึ ในเข ต ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ แห่งพื้นทีใ่ ด ให้ผู้อานวยการท้องถิน่ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พื้นท่ี น้นั มหี น้าที่เขา้ ดาเนนิ การปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเร็ว และกาหนดใหผ้ ูอ้ านวยการท้องถิน่ มอี านาจหนา้ ทใี่ นการจดั ใหม้ กี ารสงเคราะห์ผู้ประสบภัยโดยทวั่ ถงึ และ รวดเรว็ เพอื่ เปน็ การบรรเทาความ เดือดร้อนในเบอ้ื งต้นใหก้ บั ผ้ปู ระสบภยั โดยเฉพาะบา้ นของผู้ประสบภยั ทไ่ี ดร้ ับความเสยี หายจากเหตุ อคั คภี ยั ซ่งึ ถกู ไฟไหมเ้ สยี หายหมดท้งั หลัง โดยผปู้ ระสบภยั เหล่านจ้ี ะไม่มเี ครือ่ งอุปโภค บริโภคเหลือแต่ อยา่ งใดทง้ั ส้นิ จากเหตุการณ์ของสาธารณภยั ที่เกดิ ขึ้นในแตล่ ะคร้ัง ผศู้ ึกษาได้ลงพ้นื ทด่ี ้วยตวั เองทุกคร้ังเนือ่ งจาก เปน็ ผทู้ ่ีรบั ผดิ ชอบในเรอ่ื งของการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั โดยเฉพาะ ซ่ึงในการลงพนื้ ทแ่ี ต่ละครัง้ นัน้ จะพบ ปัญหาเก่ียวกับเจ้าหนา้ ทีข่ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ส่วนใหญ่จะขอให้จงั หวัดใชง้ บประมา ณจากเงนิ ทดรองราชการในอานาจของผู้วา่ ราชการจงั หวดั ใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยอยู่บ่อยครง้ั ซึ่งผู้ศึกษาได้ สอบถามกลับไปแล้วว่างบประมาณขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นของตนเองนน้ั มหี รือไม่ โดยได้รับ คาตอบว่าทกุ แหง่ น้นั มงี บประมาณที่ไดต้ ัง้ ไว้แล้ว และสามารถทจ่ี ะดาเนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลือได้ทันที โดยทไี่ ม่ตอ้ งประกาศเปน็ เขตการให้ความช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พิบัตแิ ต่อยา่ งใด เน่อื งจากในการใช้เงินทด รองราชการในอานาจของผวู้ ่าราชการจงั หวดั น้นั ตามระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยเงินทดรองราชการ เพื่อชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉนิ พ.ศ. 2556 ไดก้ าหนดว่าในการทีจ่ ะใชเ้ งนิ ทดรองราชการ เพื่อให้ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพิบัตขิ องจงั หวดั นั้น จะต้องมกี ารประชุมคณะกรรมการให้ความ
ช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ตั จิ ังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) กอ่ น เพื่อรว่ มกันพิจารณาประกาศเป็นเขตการใหค้ วาม ช่วยเหลือผู้ประสบภยั พิบตั กิ ร ณฉี ุกเฉิน จงึ จะสามารถใชเ้ งนิ ทดรองราชการได้ ซง่ึ ทาให้การให้ความ ชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยน้ันเป็นไปอยา่ งล่าชา้ และไม่เปน็ ไปตามทีพ่ ระราชบญั ญัติปอู งกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. 2550 กาหนด ดงั นนั้ ผู้ทาวจิ ยั จงึ ทาการศกึ ษาเร่อื งการเพิม่ ประสิทธภิ าพการให้ความช่วยเห ลอื เพ่อื บรรเทาความ เดือดรอ้ นใหแ้ ก่ผู้ประสบภัยในเบอ้ื งต้น โดยใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เพ่ือให้ทราบวา่ จะมีแนวทางในการบริหารจัดการดา้ นใดบา้ งท่จี ะ นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ในการ ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตพ้นื ทจี่ งั หวดั สมุทรสาครแตล่ ะแห่งไดใ้ ช้งบประมาณของหน่วยงานตนเองใหค้ วาม ช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภัยเพือ่ เป็นการบรรเทาความเดอื ดรอ้ นให้แกผ่ ้ปู ระสบภยั ในเบอ้ื งตน้ ก่อนเป็นลาดบั แรก 2. เหตุผลและความจาเปน็ ในการศึกษาและคาถามในการวิจยั 2.1 เพอื่ นาข้อมูลทไี่ ดม้ า เพิม่ ประสทิ ธิภาพให้กบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในพื้นที่จงั หวดั สมทุ รสาครได้ปรับปรุงการปฏบิ ัตงิ านใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขน้ึ และเป็นไปตามขั้นตอนของพระราชบัญญัติ ปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 2.2 คาถามวจิ ัย 1) องคก์ รปกครองส่ วนทอ้ งถ่นิ ในเขตพนื้ ทีจ่ ังหวดั สมทุ รสาคร มบี ทบาทในการใหค้ วาม ช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั ในด้านใดบา้ ง 2) การบริหารจดั การทเ่ี ป็นปัญหาและอปุ สรรคในการให้ช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภัย ขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในเขตพนื้ ที่จังหวดั สมุทรสาคร มอี ะไรบา้ ง อย่างไร 3. วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา 3.1 เพอื่ ศึกษาระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจของเจ้าหน้าที่จากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินในเขตพืน้ ที่ จังหวัดสมทุ รสาคร ต่อการใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย 3.2 เพอ่ื ศกึ ษาถงึ แนวทางการบรหิ ารจัดการ การช่วยเหลือผ้ปู ระสบภยั ของ องค์กรปกครองสว่ น ทอ้ งถ่ินในเขตพื้นทจ่ี ังหวัดสมุทรสาคร 4. ขอบเขตการศึกษา ผวู้ จิ ยั ใชก้ ารวิจัยเชงิ ปริมาณสาหรับการศึกษาในคร้งั นี้ โดยเลือกใช้วธิ ีการสารวจดว้ ยแบบสอบถาม ทส่ี รา้ งขึ้นและไดก้ าหนดขอบเขตของการวจิ ยั ไวด้ งั นีค้ อื 4.1 ตัวอย่างท่ใี ช้ในการศึกษา แห่งๆ ละ 2 คน ประกอบดว้ ยเจ้าหน้าท่ีจากสานักปลดั เทศบาล หรือสานักปลดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล จานวน 1 คน และเจา้ หนา้ ทงี่ านปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย จากเทศบาลหรือ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล จานวน 1 คน รวมทัง้ ส้นิ จานวน 74 คน
4.2 ตัวแปรท่เี กย่ี วขอ้ งกับการศกึ ษา ประกอบดว้ ย 1) ตัวแปรอสิ ระ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ตาแหนง่ ประสบการณ์ปฏบิ ัตงิ าน ระยะเวลาการ ปฏบิ ัตงิ าน ระดบั การศึกษา และปัจจัยจากการไดร้ ับการสนบั สนนุ ด้านตา่ ง ๆ เช่น ดา้ นงบประมาณ 2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสาเรจ็ ในการ ใหค้ วามชว่ ยเ หลอื เพื่อบรรเทาความเดอื ดรอ้ น ใหแ้ ก่ผปู้ ระสบภัยในเบ้ืองตน้ โดยใชง้ บประมาณขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 3) สถานท่ศี กึ ษาทีผ่ ้วู จิ ยั ใช้เก็บรวบร วมขอ้ มลู คือ องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ต่างๆ ใน พื้นท่จี ังหวดั สมุทรสาคร 4) ระยะเวลาในการศึกษา รวม 2 เดอื น เร่ิมตง้ั แต่ วนั ท่ี 1 กุมภาพันธ์ ถึง วนั ที่ 30 มีนาคม 2557 5. ประโยชนท์ ่ีใชใ้ นการศกึ ษา ผลจากการศึกษามปี ระโยชน์ต่อองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ในพนื้ ท่ีจังหวัดสมทุ รสาคร ดังน้ี คอื 5.1 เจ้าหนา้ ทอี่ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ที่รับผดิ ชอบ เกยี่ วกบั การปฏบิ ัติงานใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย มคี วามเขา้ ใจในขนั้ ตอนปฏิบตั ิการให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ในเบื้องต้น 5.2 องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถนาผลท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาในครัง้ นี้ ไปศึกษารายละเอยี ด ในเร่อื งของวิธีการปฏบิ ัติงานให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ทีถ่ ูกต้อง และสามารถปฏบิ ตั ิงานได้จรงิ 5.3 องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน สามารถนาผลการศกึ ษามาพัฒนากระบวนการในการใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยในเขตพ้นื ที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน 6. นิยามศัพท์เฉพาะ คานิยามศพั ท์เฉพาะในการศึกษาในครัง้ นี้ ได้แก่ 6.1 องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตพนื้ ทีจ่ งั หวดั สมุทรสาคร แบง่ ออกเป็น เทศบาลนครจานวน 2 แห่ง เทศบาลเมอื งจานวน 1 แหง่ เทศบาลตาบลจานวน 9 แหง่ และ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล จานวน 25 แห่ง ประกอบด้วย 1) เทศบาลนครสมุทรสาคร อาเภอเมืองสมทุ รสาคร 2) เทศบาลนครอ้อมนอ้ ย อาเภอกระทุม่ แบน 3) เทศบาลเมอื งกระทมุ่ แบน อาเภอกระทุ่มแบน 4) เทศบาลตาบลบางปลา อาเภอเมอื งสมทุ รสาคร 5) เทศบาลตาบลนาดี อาเภอเมอื งสมุทรสาคร 6) เทศบาลตาบลท่าจีน อาเภอเมอื งสมทุ รสาคร 7) เทศบาลตาบลบางหญา้ แพรก อาเภอเมอื งสมทุ รสาคร 8) เทศบาลตาบลสวนหลวง อาเภอกระทมุ่ แบน 9) เทศบาลตาบลดอนไกด่ ี อาเภอกระทมุ่ แบน 10) เทศบาลตาบลบา้ นแพว้ อาเภอบา้ นแพว้ 11) เทศบาลตาบลเกษตรพฒั นา อาเภอบา้ นแพ้ว 12) เทศบาลตาบลหลกั หา้ อาเภอบ้านแพว้ 13) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบ้านบอ่ อาเภอเมืองสมทุ รสาคร
14) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลบางโทรัด อาเภอเมืองสมทุ รสาคร 15) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลกาหลง อาเภอเมืองสมุทรสาคร 16) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลนาโคก อาเภอเมืองสมทุ รสาคร 17) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลทา่ ทราย อาเภอเมืองสมุทรสาคร 18) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลคอกกระบอื อาเภอเมืองสมทุ รสาคร 19) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบางนา้ จืด อาเภอเมอื งสมุทรสาคร 20) องค์การบริหารส่วนตาบลพนั ทา้ ยนรสิงห์ อาเภอเมอื งสมุทรสาคร 21) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโคกขาม อาเภอเมืองสมทุ รสาคร 22) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบ้านเกาะ อาเภอเมืองสมุทรสาคร 23) องค์การบริหารสว่ นตาบลบางกระเจ้า อาเภอเมอื งสมุทรสาคร 24) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลชัยมงคล อาเภอเมอื งสมุทรสาคร 25) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลท่าไม้ อาเภอกระทุ่มแบน 26) องค์การบริหารสว่ นตาบลบางยาง อาเภอกระทมุ่ แบน 27) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลคลองมะเด่อื อาเภอกระทมุ่ แบน 28) องค์การบริหารสว่ นตาบลหนองนกไข่ อาเภอกระทุม่ แบน 29) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลแคราย อาเภอกระทุ่มแบน 30) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลทา่ เสา อาเภอกระทุม่ แบน 31) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบา้ นแพ้ว อาเภอบ้านแพว้ 32) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหลกั สาม อาเภอบ้านแพ้ว 33) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหลักสอง อาเภอบ้านแพว้ 34) องค์การบริหารสว่ นตาบลเจด็ รว้ิ อาเภอบา้ นแพ้ว 35) องค์การบริหารสว่ นตาบลคลองตนั อาเภอบ้านแพ้ว 36) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลอาแพง อาเภอบา้ นแพว้ 37) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสวนสม้ อาเภอบา้ นแพว้ 6.2 เจา้ หนา้ ทีจ่ ากสานกั ปลดั เทศบาล ได้แก่ ขา้ ราชการทป่ี ฏบิ ัตงิ านในสานกั ปลัดเทศบาลนคร เทศบาลเมอื ง และเทศบาลตาบล ในพ้นื ที่จงั หวัดสมทุ รสาคร ทรี่ บั ผดิ ชอบในการใหค้ วามช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั 6.3 เจ้าหนา้ ที่จากสานกั ปลดั องคก์ ารบริหารส่วนตาบล ไดแ้ ก่ ข้าราชการท่ีปฏบิ ัตงิ านในสานัก ปลัดองค์การบรหิ ารส่วนตาบล ในพื้นท่จี งั หวัดสมุทรสาคร ท่ีรับผดิ ชอบในการใหค้ วามช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภัย 6.4 เจ้าหน้าทง่ี านปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจากเทศบาลได้แก่ ขา้ ราชการทป่ี ฏบิ ตั งิ าน ในด้านปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ในเทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตาบล ในพื้นท่จี งั หวดั สมทุ รสาคร 6.5 เจ้าหน้าที่งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจากองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ได้แกเ่ จา้ หนา้ ท่ีท่ี ปฏบิ ัติงานในดา้ นปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย ในองค์การบรหิ ารส่วนตาบล ในพ้ืนท่ีจังหวัดสมทุ รสาคร
6.6 ดา้ นระเบยี บกฎหมาย หมายถึง กฎหมาย ระเบียบ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การ ใหค้ วามช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภัยในเบ้ืองต้น ซงึ่ ประกอบด้วย 1) พระราชบัญญัตปิ ูองกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 2) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยวิธกี ารงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2541 3) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการรับเงนิ การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2547 4) หลกั เกณฑ์ว่ าด้วยการตง้ั งบประมาณเพ่อื การช่วยเหลือประชาชนตามอานาจหนา้ ท่ี ขององค์การบริหารส่วนจงั หวัด เทศบาล และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. 2542 5) หลกั เกณฑเ์ กยี่ วกับการใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ตั กิ รณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2556
บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง บทน้ีเป็นการนาเสนอ แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ตวั แปรของการศกึ ษาซงึ่ ผู้วิจัยไดท้ า การสืบคน้ จากเอกสารทางวิชาการและงานวิจยั จากแหล่งตา่ งๆ โดยแบ่งเน้ือหาของบทนี้เปน็ ๓ สว่ นคือ 1. แนวคดิ เกี่ยวกับความร้เู ร่ืองการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 2. งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 3. กฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง ข้อสง่ั การ และแนวทางปฏบิ ัติ รายละเอียดในแตล่ ะส่วนที่กล่าวมาขา้ งต้น มีสาระสาคัญดังนี้ 1. แนวคิดเกีย่ วกบั ความร้เู ร่อื งการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 1.1 ประเภทของสาธารณภัย สาธารณภยั หมายถงึ “อคั คภี ัย วาตภัย อทุ กภัย ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่วา่ เกดิ จากธรรมชาติ หรือมีผกู้ ระทาให้เกดิ ขึน้ ซึ่งกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายต่อชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความ เสียหายแกท่ รพั ยส์ ินของประชาชนหรือรฐั ” 1.2 สาธารณภัยมี 2 ประเภท 1) ภยั ธรรมชาติ หมายถึง ภยั อนั ตรายตา่ งๆ ทเ่ี กิดข้ึนตามธรรมชาติไม่วา่ จะเป็นแผ่นดินไหว ภยั แล้ง ภยั หนาว และ อน่ื ๆ ซึ่งการเกดิ แตล่ ะครั้งนามาซ่งึ ความสูญเสยี ท้งั ชวี ติ และทรัพยส์ ินของมนษุ ย์ เปน็ อย่างมาก มนุษยไ์ ด้ พยายามท่ีจะเรียนรแู้ ละศกึ ษาถึงปรากฏการณธ์ ร รมชาติและคน้ พบวา่ ภยั ธรรมชาตนิ ั้นมีความยิง่ ใหญส่ ดุ ที่ มนษุ ยจ์ ะสามารถควบคุมได้ หนทางเดียวที่ดีทีส่ ดุ ทพี่ ึงกระทาตอนน้ี คือ พยายามเรียนรู้ธรรมชาติต่าง ๆ แลว้ หาทางปอู งกนั และลดความเสียหายที่จะเกิดจากภยั ธรรมชาตเิ หล่านน้ั ใหม้ ากท่สี ุด ภัยธรรมชาติต่างๆ แล้วหาทางปูอง กัน และลดความเสียหายท่จี ะเกดิ จาก ภัยธรรมชาติเหลา่ นั้นให้มากทส่ี ุด ภยั ธรรมชาติ สามารถแบง่ เปน็ 9 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1.1 วาตภยั หมายถงึ ภยั ธรรมชาตซิ ง่ึ เกดิ จาก พายุลมแรง แบง่ ได้ 2 ชนิด คือ ก. วาตภัย จากพายฤุ ดูรอ้ น จะเกดิ ในชว่ งฤดูร้อน (มนี าคม-พฤษภาคม) บางครงั้ จะเกิดพายฝุ นฟาู คะนองและอาจมี ลูกเหบ็ ทาความเสยี หายไดใ้ นบรเิ วณเลก็ ๆ ชว่ งเวลาส้นั ๆ ข . วาตภัยจากพายหุ มนุ เขตร้อน จะเกิดขึน้ ในช่วง ฤดูฝน เมอื่ พายหุ มุนเขตรอ้ นเคลอ่ื นตัวข้ึนจะทาความเสียหายให้บรเิ วณทเี่ คลอื่ นผา่ นเป็นอย่างมาก ความรุนแรงของพายุหมนุ เขตร้อนแบง่ ตามความ เร็วลมสงู สุดใกล้จดุ ศนู ย์กลางได้ ดงั นี้ พายุดเี ปรสชัน่ มกี าลังออ่ น ความเรว็ ใกลศ้ ูนยก์ ลางไมเ่ กิน 63 กม./ชม. พายุโซนรอ้ นมีกาลังปานกลาง ความเร็วลมใกล้ ศนู ยก์ ลาง 63-117 กม./ชม. พายไุ ตฝ้ ุน มีกาลงั แรง ความเร็วลมใกล้ศูนยก์ ลางตั้งแต่ 118 กม./ชม. ข้ึนไป 1.2 อุทกภยั หมายถงึ ภัยและอนั ตรายทเี่ กิดจากสภาวะน้าท่วมขังหรอื น้าทว่ มเฉียบพลนั มีสาเหตมุ าจากการเกดิ ฝนตกหนกั หรือฝนตกต่อเนอื่ งเป็นเวลานาน ภยั จากน้าทว่ มหรืออทุ กภัย สามารถ แบง่ ออกได้ คือ อทุ กภัยจากนา้ ปาุ ไหลหลาก และนา้ ทว่ มฉับพลัน เกิดขึ้นเมื่อมีฝนตกหนักเหนอื ภูเขา ตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลานาน จะทาใหจ้ านวนนา้ สะสมมีปริมาณมาก จนพนื้ ดนิ และต้นไม้ดดู ซบั ไม่ไหวเกดิ การไหล บา่ ลงสูท่ ร่ี าบตา่ เบ้อื งลา่ งอย่างรวดเร็ว ความแรงของนา้ สามารถทาให้บ้านเรือน อาคาร ถนน สะพาน
พงั ทลายเสยี หาย และอาจทาใหเ้ กดิ อันตรายถงึ ชีวติ ได้ และอุทกภัยจากนา้ ทว่ มขังและน้า เออ่ ระนาบ จาก ท่สี ูงไปยังท่ีต่าเขา้ ท่วมอาคารบา้ นเรอื น สวนไรน่ า ได้รบั ความเสียหายหรอื เป็นสภาพน้าท่วมขงั ในเขตเมือง ใหญท่ ่ีเกิดจากฝนตกหนกั ตอ่ เนือ่ งเป็นเวลานาน และมรี ะบบการระบายน้าไมด่ พี อมสี ่งิ กอ่ สร้างกีดขวางทาง ระบายนา้ หรือเกดิ น้าทะเลหนนุ สูง 1.3 ความแหง้ แล้งหรื อภยั แล้ง คอื ภยั ทเี่ กดิ จากการขาดแคลนน้าในพ้ืนทใี่ ดพนื้ ทห่ี นง่ึ เป็นเวลานาน ฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาลจนกอ่ ให้เกดิ ความแห้งแลง้ และสง่ ผลกระทบต่อชมุ ชน สาหรบั ภยั แลง้ ในประเทศไทย ส่วนใหญ่เกดิ จากฝนแลง้ และทิง้ ชว่ ง ซ่ึงฝนแล้งเป็นภาวะปรมิ าณฝนตกน้อยกว่า ปกติหรือฝนไมต่ กตอ้ งตามฤดกู าลกับการเคลือ่ นผ่านของพายหุ มุนเขตรอ้ นที่นอ้ ยกวา่ ปกติ 1.4 พายฝุ นฟูาคะนอง เปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ่เี กดิ ข้นึ เปน็ ประจา อาจเกิด น้าปาุ ไหลหลาก นา้ ทว่ มฉับพลัน และอาจเกิดพายุลมหมนุ หรอื พายุวงชา้ งซึง่ มลี มแรงมากและทาความ เสยี หายบรเิ วณที่เคลือ่ นผา่ นโดยเฉพ าะในเดอื นมีนาคมถึงเดอื พฤษภาคม พายุฝนฟาู คะนองทเี่ กิดขน้ึ จะมี ความรุนแรงกวา่ ปกติจนเกดิ เปน็ ลกั ษณะท่เี รยี กว่า “พายฤุ ดรู อ้ น” ส่วนบริเวณข้วั โลกเหนอื และข้วั โลกใตท้ ่ี อยใู่ นละตจิ ดู ทส่ี งู ขนึ้ ไปมกั จะเกดิ ขึ้นในฤดรู ้อน 1.5 คลน่ื พายซุ ัดฝง่ั คอื คล่ืนซดั ชายฝ่งั ขนาดใหญ่ อันเนื่องมาจากความแรงของลมท่ี เกิดขนึ้ จากพายหุ มุนเขตรอ้ นท่ีเคลื่อนตัวเข้าหาฝั่ง โดยปกติ มีความรุนแรงมากในรศั มปี ระมาณ 100 กิโลเมตร แต่บางครัง้ อาจเกดิ ได้เมอื่ ศูนย์กลางพายุอยู่หา่ งมากกว่า 100 กโิ ลเมตร ขึ้นอยู่กับความรนุ แรง ของพายุและ สภาพภูมิศาสตรข์ องพนื้ ท่ีชายฝ่ั งทะเล หรือไดร้ บั อิทธพิ ลเสรมิ ความรนุ แรงจากลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนอื ซ่งึ จะทาให้เกิดอันตรายมากยิง่ ขนึ้ บริเวณทีม่ ีความเสี่ยงและมโี อกาสเกดิ คลื่นพายุซัด ฝ่ังไดม้ าก ได้แก่ บรเิ วณชายฝงั่ ภาคใต้ฝั่ง ตะวนั ออก ตง้ั แตจ่ งั หวัดเพชรบุรจี นถึงจังหวัดสงขลา รวมทั้งภาค ตะวนั ออกตัง้ แต่จงั หวดั ชลบรุ ีจนถึงจังหวัดตราด 1.6 แผน่ ดนิ ไหว หมายถงึ ภยั ธรรมชาตซิ ึ่งเกิดจากการปลดปลอ่ ยพลงั งานใต้พภิ พทาให้ แผ่นดนิ เกิดการสั่นสะเทอื น อาจทาให้เกิดภเู ขาไฟระเบดิ แผน่ ดินเล่ือนและถล่ม แผน่ ดนิ ไหว หรือการ สน่ั สะเทอื นของพ้ืนดนิ เกิดขนึ้ ไดท้ ง้ั จากการกระทาของธรรมชาติและมนษุ ย์ ส่วนท่ีเกดิ จากธรรมชาติ ได้แก่ การเคล่ือนตวั ของเปลอื กโลกโดยฉับพลันตามแนวขอบของแผน่ เปลือกโลกหรอื ตามแนวรอยเลอ่ื น การ ระเบิดของภเู ขาไฟ การยบุ ตวั ของโพรงใต้ดิน แผน่ ดนิ ถล่ม อกุ กาบาตขนาดใหญต่ ก เปน็ ตน้ และสว่ นที่เกดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม เชน่ การระเบิดตา่ งๆ การทาเหมืองสร้างอ่างเกบ็ น้าใกล้ รอยเลื่อน การทางานของเครอ่ื งจกั รกล การจราจร เป็นต้น 1.7 แผ่นดนิ ถลม่ เปน็ ปรากฏการณธ์ รรมชาติของการสกึ กร่อนชนิดหนง่ึ ท่ีกอ่ ให้เกดิ ความ เสยี หายต่อบริเวณพื้นทท่ี เี่ ป็นเนินสูงหรือภูเขาทม่ี ีความลาดชนั มาก เน่อื งจากขาดความสมดุลในการทรงตวั บรเิ วณดังกลา่ ว แผ่นดินถล่มมักเกิดกรณที ี่มีฝนตกหนักมากบริเวณภูเขา และภเู ขานนั้ อุ้ม น้าไวจ้ นเกิดการ อม่ิ ตวั โดยเฉพาะภเู ขาหนิ แกรนิต ซงึ่ มีพนั ธไุ์ ม้ปกคลมุ นอ้ ยและต้นน้าลาธารถูกทาลาย มกั จะเกดิ เมือ่ มีฝน ตกหนกั หลายชวั่ โมง แผ่นดนิ ถล่มในประเทศไทยสว่ นใหญ่มักเกดิ ภายหลงั ฝนตกหนกั มากบรเิ วณภเู ขา ซ่งึ เปน็ ตน้ น้าลาธารบริเวณตอนบนของประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคเหนื อและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มโี อกาสเกิดแผน่ ดนิ ถล่มเนอ่ื งจากพายหุ มุนเขตรอ้ นเคลอื่ นผา่ นในระหวา่ งเดือนพฤศจิกายนถงึ ธันวาคม
1.8 ไฟปุา เป็นภยั ธรรมชาติ ซง่ึ เกดิ จากมนษุ ยเ์ ป็นส่วนใหญ่ เช่น การเผาหาของปุา เผาทาไรเ่ ลือ่ นลอย เผากาจดั วัชพชื มีเพยี งสว่ นน้อยทเ่ี กดิ จากการเสยี ดสีของต้นไม้แหง้ ไฟปุา ทาให้เกิด มลพิษ ในอากาศมากข้นึ ผงฝุนควันไฟจะกระจายในอากาศทัว่ ไป ไมส่ ามารถลอยขนึ้ เบอื้ งบนได้ ทาให้ มองเห็น ไม่ชดั เจน สุขภาพเส่ือม พืชผลทางการเกษตรด้อยคุณภาพ แหล่งทรัพยากรลดลง 1.9 คลืน่ ยักษ์ (สึนามิ) แปลวา่ คลน่ื ทพ่ี ัดเ ข้ามาสทู่ ่าเรือเปน็ คลื่นท่กี อ่ ตวั จากการเกดิ แผน่ ดินไหวใตม้ หาสมทุ ร หรือการระเบิดของภเู ขาไฟใต้มหาสมทุ ร การเกิดแผ่นดินถลม่ หรืออุกกาบาตตก ลงในมหาสมุทร การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบดิ ใต้มหาสมุทรแต่ละคร้ังไม่จาเปน็ ต้องเกดิ สึนามเิ สมอไป ในกรณกี ารเคลอ่ื นทข่ี องเปลอื กโลกในแนวระดบั จะมีผลตอ่ การเกดิ สินามนิ อ้ ย แต่การเคล่อื นท่ีที่มลี ักษณะ การยกตัวขึน้ หรือทรุดตัวโดยฉบั พลนั จะกอ่ ให้เกิดการขยับตัวของมวลน้าโดยรอบ มีการกระเพอื่ มคลา้ ย เปน็ คลนื่ อนั ทรงพลงั แผ่กระจายออกไปอย่างรวดเรว็ การเคลอ่ื นทใ่ี นลกั ษณะน้ีจึงมีผลต่อการเกดิ สึนามิ 2) ภัยจากการกระทาของมนุษย์ หมายถงึ ภัยทมี่ นษุ ย์กระทาข้ึนก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อรา่ งกาย ชวี ิต และทรพั ย์สิน ภยั ทม่ี นุษย์ กระทาข้ึน ได้แก่ 2.1 สารเคมี ภยั จากสารเคมเี ป็นภยั ที่เกดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ เช่น สารเคมี เกดิ การรั่วไหลเกดิ เพลงิ ไหม้หรือการระเบิดของสารเคมี ในระหวา่ งการขนสง่ เปน็ ต้น 2.2 อัคคีภยั นับเป็นภยั พิบัตทิ เ่ี กิดขน้ึ จากการกระทาของมนุษย์ ซง่ึ ก่อใหเ้ กดิ ความ เสียหาย ทงั้ ตอ่ รา่ งกาย ชีวิต และทรพั ยส์ ินของประชาชนอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเกิดขนึ้ ใน อาคารขนาดใหญ่ อาคาร สูง โรงงานอตุ สาหกรรม เขตชมุ ชนหนาแนน่ และย่านการคา้ ตา่ งๆ จะกอ่ ให้เกิดความ เสยี หายเป็นจานวนมหาศาล 2.3 อุบัติเหตกุ ารจราจรทางถนน ปัญหาอบุ ัตเิ หตทุ างถนน ถอื เปน็ ปัญหาสาคัญท่ี ก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อชีวิตและทรพั ย์สนิ ของประชาชนในแตล่ ะปี คดิ เปน็ มูลค่ ามหาศาล รฐั บาลได้ ตระหนักถงึ ความสาคัญของปญั หาดังกลา่ ว จึงไดจ้ ดั ตง้ั ศูนย์อานวยการความปลอดภยั ทางถนน ไดก้ าหนด ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการ ท่ีสาคัญเร่งด่วน เพ่อื ลดความสญู เสียจากการบาดเจ็บ การเสยี ชีวติ และ ทรพั ย์สนิ จากการจราจรดงั นี้ ยุทธศาสตรก์ ารบงั คับใช้กฎหมายมาตรการบั งคับใชก้ ฎหมาย ยุทธศาสตร์ ด้านวศิ วกรรมจราจร มีทง้ั มาตรการด้านคน มาตรการดา้ นรถและมาตรการด้านถนน ยทุ ธศาสตร์ดา้ น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการประชาสัมพันธ์ ใหค้ วามรู้ และการมสี ่วนร่วมและยุทธศาสตร์ ดา้ นการประเมินผลและพฒั นาระบบขอ้ มูลการติดตามประเมนิ ผล 1.3 ความรนุ แรงของสาธารณภัย ระดับความรนุ แรงของสาธารณภยั ตามแผนการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ .พศ.2553 - 2557 แบง่ เปน็ 4 ระดบั โดยมีผรู้ บั ผดิ ชอบตามระดบั ความรุนแรง ดังนี้ ระดบั ความรุนแรง ลกั ษณะภัยและความรนุ แรง การจัดการสาธารณภยั 1 สาธารณภยั ทเ่ี กดิ ขึ้นทวั่ ไปหรือมี ผูอ้ านวยการท้องถิน่ ผอู้ านวยการอาเภอ ขนาดเล็ก สามารถควบคุมสถานการณแ์ ละจดั การ ระงบั ภยั ได้โดยลาพัง
ระดับความรนุ แรง ลกั ษณะภัยและความรนุ แรง การจดั การสาธารณภยั 2 สาธารณภยั ขนาดกลาง ผู้อานวยการท้องถ่ิน ผู้อานวยการอาเภอ 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ทีม่ ี ไม่สามารถควบคมุ สถานการณ์ได้ ผลกระทบรนุ แรงกวา้ งขวาง หรือ ผอู้ านวยการจงั หวัด เข้าควบคุม 4 สาธารณภัยที่จาเปน็ ตอ้ งอาศัย สถานการณ์ ผู้เชย่ี วชาญหรอื อุปกรณ์พเิ ศษ สาธารณภยั ขนาดใหญ่ท่มี ี ผอู้ านวยการจงั หวัด ไมส่ ามารถควบคมุ ผลกระทบรา้ ยแรงอยา่ งย่งิ สถานการณ์ได้ผ้อู านวยกลาง และ/หรอื ผ้บู ญั ชาการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณ ภัยแหง่ ชาติ เขา้ ควบคุมสถานการณ์ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรฐั มนตรที ี่ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย ควบคมุ สถานการณ์ (ทม่ี า : แผนปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557) 2. งานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ความหมายของการปกครองส่วนท้องถ่นิ ได้มีผูท้ ี่ใหค้ วามหมายไวห้ ลายคน ส่วนใหญแ่ ล้วมี ลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกันอาจแตกต่างไปในรายละเอยี ด ดงั น้ี เดเนียล วทิ (Daniel Wit, 1967 : 101 – 103) นยิ ามวา่ การปกครองสว่ นท้องถิ่น หมายถึง การ ปกครองท่ีรฐั บาลกลางให้อานาจ หรอื กระจายอานาจไปให้หนว่ ยการปกครองท้องถ่นิ เปดิ โอกาสให้ ประชาชนในทอ้ งถ่นิ ไดม้ ีโอกาสในการปกครองรว่ มกันทั้งหมด หรอื บางสว่ นในการบริหารทอ้ งถิน่ ตาม หลกั การทวี่ า่ ถ้าอานาจการปกครองมาจากประชาชนในท้องถ่ินแล้ว รฐั บาลของทอ้ งถิน่ ก็ย่อมเปน็ รฐั บาล ของประชาชนโดยประชาชนและเพื่อประชาชน ดังนั้น การบริหารการปกครองทอ้ งถิ่นจึงจาเปน็ ตอ้ งมี องคก์ รของตนเองอันเกดิ จากการกระจายอานาจของรฐั บาลกลางโดยใหอ้ งคก์ รอนั มไิ ดเ้ ป็นสว่ นหน่งึ ของรฐั บาล มีอานาจในการตดั สนิ ใจและบรหิ ารงานภายในทอ้ งถน่ิ ในเขตอานาจของตน ซง่ึ มีลกั ษณะ ความหมายทค่ี ลา้ ยคลึงกับ จอหน์ เจ. คลารก์ (John J. Clark, 1957 : 87 – 89) นยิ ามว่า การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ หมายถงึ หนว่ ยการปกครองทมี่ หี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบเกี่ยวขอ้ งกับการให้บรกิ ารประชาชนในเขตพนื้ ทีห่ นึ่งพื้นท่ี ใดโดยเฉพาะ และหน่วยการปกครองดังกล่าวน้จี ดั ตั้งและจะอยู่ในความดแู ลของรัฐบาลกลาง ซง่ึ มลี ักษณะ ความหมายทคี่ ลา้ ยคลึงกบั แฮรสี จี. มอนตากู (Harris G. Montagu, 1984 : 574) นิยามว่า การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น หมายถงึ การปกครองซง่ึ หนว่ ยการปกครองท้องถ่ินไดม้ กี ารเลอื กต้ังโดยอสิ ระ เพอื่ เลือกผทู้ ี่มีหน้าทีบ่ ริหาร การปกคร องท้องถนิ่ มีอานาจอิสระ พร้อมความรบั ผดิ ชอบซึ่งตนสามารถท่ีจะใชไ้ ด้โดยปราศจากการ ควบคมุ ของหนว่ ยการบริหารราชการสว่ นกลางหรือภมู ิภาค แต่ท้งั นี้หน่วยการปกครองท้องถ่นิ ยงั ต้องอยู่
ภายใตบ้ ทบังคับว่าด้วยอานาจสูงสุดของประชาชน ไมไ่ ดก้ ลายเปน็ รัฐอสิ ระใหมแ่ ตอ่ ย่างใด ซง่ึ มีลักษณะ ความหมายทคี่ ลา้ ยคลึงกบั ประทาน คงฤทธิศึกษาการ (2524 : 15) นยิ ามว่าการปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินเป็นระบบการปกครอง ทเ่ี ป็นผลสืบเน่ืองมาจากการกระจายอานาจทางการปกครองของรฐั และโดยนัยนี้จะเกดิ องค์การทาหนา้ ที่ ปกครองทอ้ งถนิ่ โดยคนในท้องถนิ่ นน้ั ๆองค์การนี้ จัดตัง้ และ ถูกควบคุมโดยรัฐบาล แต่ก็มอี านาจการ กาหนดนโยบายและควบคุมให้มีการปฏิบัตใิ หเ้ ป็นไปตามนโยบายของตนเอง ซง่ึ มลี ักษณะความหมายที่ คล้ายคลงึ กับ รศ.ดร.สมคดิ เลิศไพฑรู ย์ (2547 : 4-5) นิยามว่าการปกครองสว่ นท้องถิน่ คือ การใหค้ นใน ท้องถน่ิ มีอิสระในการปกครองตนเอง กลา่ วอีกนัยหนึง่ คือ การปกครองตนเองโดยประชาชนในท้องถิ่น ซ่งึ แนวคดิ ดังกลา่ วมีพื้นฐานจากหลกั การกระจายอานาจการปกครอง (Decentralization) ทห่ี มายถึง การท่ีรฐั มอบอานาจการปกครองให้องคก์ รอ่ืน ๆ ที่ไมใ่ ชอ่ งคก์ รส่วนกลางจดั ทาบริการสาธารณะบางอยา่ ง ภายใตก้ ารกากับดแู ลของรฐั ซง่ึ มลี ักษณะความหมายทีค่ ล้ายคลึงกับ อุทยั หริ ญั โย (2523 : 2) นิยามว่า การปกครองส่วนท้องถ่นิ คือ การปกครองทรี่ ฐั บาลมอบ อานาจใหป้ ระชาชนในการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและอานาจหนา้ ที่ ของกานันและผู้ใหญบ่ า้ น ทอ้ งถิน่ ใด ท้องถนิ่ หนง่ึ จัดการปกครองและดาเนนิ กจิ การบางอย่างโดยดาเนินการกนั เองเพื่อบาบดั ความต้องการของ ตน การบริหารงานของทอ้ งถ่นิ มีการจดั เปน็ องคก์ ารมเี จา้ หนา้ ทีซ่ ่ึงประชาชนเลอื กตั้งข้นึ มาทง้ั หมดหรือ บางส่วน มีความเปน็ อสิ ระในการบริหา รงานแตร่ ฐั บาลต้องควบคุมดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ ตามความ เหมาะสม จะปราศจากการควบคุมของรัฐหาได้ไม่ เพราะการปกครองทอ้ งถิ่นเป็นส่งิ ที่รัฐทาให้ เกดิ ข้ึน จากทีก่ ล่าวมานนั้ พอสรุปถงึ ความหมายสาคญั ของการปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ได้ดงั นี้ 1. การปกครองส่วนท้องถ่นิ หมายถึ ง การจดั การปกครองทอ้ งถิน่ ของคนในทอ้ งถนิ่ การจดั การ ดังกล่าวกระทาโดยการเลือกบคุ คลหรือคณะบคุ คลเข้ามาดาเนนิ การปกครอง ซึง่ ทอ้ งถิน่ และชุมชนแตล่ ะ ชมุ ชนดงั กลา่ ว อาจจะมีลักษณะเฉพาะทแี่ ตกตา่ งกันทั้งในด้านพ้ืนท่ี จานวนประชากร ความเจรญิ มัง่ คง่ั (เชน่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ของไทย ได้แก่ องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั เทศบาล องคก์ ารบริหารสว่ น ตาบลกรงุ เทพมหานครและเมอื งพทั ยา ) ทาให้ท้องถิ่นแตล่ ะทอ้ งถ่นิ มลี กั ษณะการปกครองที่มี ลกั ษณะเฉพาะ 2. หนว่ ยการปกครองท้องถิน่ จะตอ้ งมีอานาจอสิ ระ (Autonomy) ในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีตามความ เหมาะสม กล่าวคอื อานาจของหนว่ ยการปกครองส่วนท้องถ่ินน้นั จะต้องมขี อบเขตท้งั นเ้ี พ่ือให้เกดิ ประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของหนว่ ยการปกครองส่วนทอ้ งถิน่ อย่างแท้จริง หากมีอานาจมากเกนิ ไป หนว่ ยงานทอ้ งถ่ินน้นั ก็จะกลายสภาพเป็นรฐั อธปิ ไตยเองซง่ึ จะกระทบต่อความมน่ั คงของชาติ อานาจของ ทอ้ งถนิ่ มขี อบเขตทีแ่ ตกตา่ งกันออกไปตามลักษณะของความเจริญของแต่ละทอ้ งถิน่ นน้ั เป็นสาคญั 3. หน่วยการปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ต้องมีสทิ ธิตามกฎหมายทจ่ี ะดาเนินการปกครองตนเอง โดยแบง่ สทิ ธิออกเป็น 2 ประการ คือ 3.1 สิทธทิ จี่ ะตรากฎหมายหรอื ระเบยี บข้อบังคับตา่ ง ๆ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ 3.2 สทิ ธทิ ี่จะกาหนดงบประมาณ เพ่ือบรหิ ารกจิ การตามอานาจหน้าท่กี ารปกครองส่วน ท้องถ่นิ และอานาจหนา้ ท่ีของกานนั และผู้ใหญ่บา้ น
4. มอี งค์กรทจี่ าเป็นในการบริหารและการปกครองตนเองคือ มีองค์กรฝุายบรหิ ารและองค์กรฝาุ ย นิติบัญญัติ (เช่นการปกครองส่วนท้องถ่นิ แบบเทศบาล จะมคี ณะเทศมนตรีเป็นฝาุ ยบรหิ ารและสภา เทศบาลเปน็ ฝุายนิติบญั ญัติ หรือ ในแบบมหานคร คือ กรุงเทพมหานคร จะมีผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นฝาุ ยบรหิ าร และสภากรุงเทพมหานครเป็นฝาุ ยนติ บิ ญั ญัติเป็นตน้ ) 5. ประชาชนในทอ้ งถ่ินมสี ่วนร่วมในการปกครองท้องถ่ินจากหลักการท่วี ่าประชาชนในทอ้ งถน่ิ รู้ ปญั หาของตนเองดีกวา่ องค์กรของรฐั สว่ นกลาง หนว่ ยงานปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ จงึ จาเป็นต้องมคี นใน ท้องถิ่นมาบรหิ ารงาน เพ่ือจะไดแ้ กป้ ญั หาข องประชาชนในชมุ ชนได้อย่างถูกต้อง สง่ เสริมประชาชนใน ท้องถ่นิ ให้เข้ามามีสว่ นรว่ มทางการเมอื งเพ่อื พัฒนาการกระจายอานาจตามวิถขี องแนวทางระบอบ ประชาธปิ ไตย วตั ถุประสงคข์ องการปกครองสว่ นท้องถิ่น ชวู งศ์ ฉายะบตุ ร (2539 : 26) ได้จาแนกวตั ถุประสงค์ของการปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ไว้ดงั นี้ 1. ชว่ ยแบ่งเบาภาระของรฐั บาล เป็นสิ่งทเ่ี ห็นได้ชัดว่าในการบริหารประเทศ จะต้องอาศยั เงนิ งบประมาณเปน็ หลกั หากเงินงบประมาณจากดั ภารกจิ ทีจ่ ะตอ้ งบริการให้กบั ชมุ ชนต่างๆ อาจไม่เพยี งพอ ดังน้นั หากจัดให้มกี ารปกครองส่วนทอ้ งถิ่น หนว่ ยการปกครองส่วนทอ้ งถิ่นนัน้ ๆ ก็สามารถมีรายไดม้ ีเงนิ งบประมาณของตนเองเพยี งพอท่จี ะดาเนนิ การสรา้ งสรรค์ความเจริญใหก้ บั ท้องถ่ินได้ จงึ เป็นการแบ่งเบา ภาระของรัฐบาลไดเ้ ป็นอยา่ งมาก การแบ่งเบานี้เป็นการแบ่งเบาทงั้ ในด้านการเงินตวั บคุ คล ตลอดจนเวลา ทใี่ ชใ้ นการดาเนนิ การ 2. เพอื่ ตอบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชนในทอ้ งถิน่ อยา่ งแทจ้ รงิ เน่อื งจากประเทศมขี นาด กว้างใหญค่ วามตอ้ งการของประชาชนในแต่ละทอ้ งที่ ยอ่ มมคี วามแตกตา่ งกนั การรอรบั การบริการจาก รัฐบาลแตอ่ ย่างเดยี ว อาจไม่ตรงตามความต้องการท่แี ทจ้ รงิ และล่าช้า หน่วยการปกครองสว่ นท้องถิ่นทมี่ ี ประชาชนในทอ้ งถน่ิ เปน็ ผู้บรหิ ารเทา่ นนั้ จงึ จะสามารถตอบสนองความต้องการนน้ั ได้ 3. เพอ่ื ความประหยัด โดยทท่ี ้องถนิ่ แต่ละแหง่ มีความแตกต่างกนั สภาพความเปน็ อยูข่ อง ประชาชนกต็ า่ งไปด้วยการจัดต้งั หนว่ ยปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ขนึ้ จงึ มคี วามจาเป็น โดยใหอ้ านาจหนว่ ยการ ปกครองสว่ นท้องถิ่นจัดเก็บภาษีอาก ร ซ่ึงเปน็ การปกครองสว่ นท้องถ่ินและอานาจหน้าท่ขี องกานนั และ ผใู้ หญ่บ้านวิธีการหารายไดใ้ ห้กับทอ้ งถิ่นเพ่ือนาไปใชใ้ นการบรหิ ารกจิ การของท้องถนิ่ ทาให้ประหยัดเงนิ งบประมาณของรัฐบาล ที่จะตอ้ งจา่ ยให้กบั ท้องถิน่ ทวั่ ประเทศเปน็ อนั มาก และแม้จะมีการจัดสรรเงนิ งบประมาณจากรัฐบาลไปใหบ้ ้างแตก่ ม็ ีเง่ือนไขท่กี าหนดไวอ้ ยา่ งรอบคอบ 4. เพื่อใหห้ นว่ ยการปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เป็นสถาบนั ท่ใี หก้ ารศึกษาการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยแก่ประชาชน จากการที่การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เปดิ โอกาสให้ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการ ปกครองตนเอง ไม่ว่าจะโดยการสมัครรับเลือกตัง้ เพื่อให้ประชาชนในทอ้ งถิน่ เลือกเขา้ ไปทาหนา้ ท่ฝี ุาย บรหิ าร หรือฝาุ ยนติ ิบัญญตั ขิ องหนว่ ยการปกครองส่วนท้องถ่ินกต็ าม การปฏบิ ตั ิหนา้ ทที่ ่แี ตกต่างกันนี้มี ส่วนในการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ถึงกระบวนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระดับชาติได้เปน็ อย่างดี ความสาคญั ของการปกครองส่ วนท้องถ่ิน เมื่อกลา่ วถงึ การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ และเพือ่ เปน็ การ ดาเนินการให้สอดคลอ้ งกับแนวคดิ ของการกระจายอานาจ (Decentralization) ตามระบอบ ประชาธิปไตย ดังน้นั จึงพอสรุปความสาคญั ของการปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ไดด้ ังนี้ 1. การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เป็นรากฐานของการปกครองตา มระบอบประชาธิปไตย เพราะถือวา่ เปน็ การใหป้ ระชาชนรจู้ กั การเข้ามามสี ่วนรว่ มทางการเมือง รู้จักใชส้ ิทธแิ ละหน้าที่ในการเป็นพลเมือง เพ่ือ
นาไปสู่การเมืองในระบอบประชาธปิ ไตยทีส่ มบูรณ์การปกครองส่วนท้องถน่ิ และอานาจหน้าทขี่ องกานัน และผ้ใู หญบ่ ้าน 2. การปกครองสว่ นท้องถ่ินส ามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในท้องถน่ิ หรือชมุ ชน ไดต้ รงเปาู หมายและมปี ระสิทธภิ าพ เนื่องจากประชาชนในทอ้ งถ่นิ ยอ่ มที่จะรู้ปญั หาได้ดีกวา่ คนนอกพืน้ ท่ี สง่ ผลใหก้ ารแก้ปัญหาเปน็ ไปโดยประสิทธิภาพ 3. การปกครองสว่ นท้องถ่นิ เป็นการแบง่ เบาภาระของรฐั บาล เพราะแตเ่ ดิมรัฐบ าลดาเนินกจิ การ เกย่ี วกับการปกครองหรอื การบริการสาธารณะเอง เมื่อมอบอานาจบางสว่ นให้กบั องคก์ รอ่นื แลว้ ภาระของ รัฐบาลจึงลดลง แต่ท้ังนภ้ี ายใตก้ ารกากับดแู ลของรฐั บาลด้วย 4. การปกครองสว่ นท้องถ่ินจะเป็นแหล่งสร้างผนู้ าทางการเมอื ง เนอื่ งจากการปกครองสว่ น ทอ้ งถิ่นนั้นกาหนดให้มีการเลือกตง้ั คณะบคุ คลเข้ามาบริหารงานในท้องถน่ิ น้ัน ดังนั้นจึงเปน็ การส่งเสริมให้ บคุ คลเขา้ มารว่ มดาเนินงานทางการเมืองการปกครองเพ่ือสร้างนักการเมืองสู่การบริหารประเทศในอนาคต 5. การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นจะทาใหป้ ระชาชนรจู้ ักการปกครองตนเอง เมื่อประชาชนในท้องถิน่ เขา้ มามสี ่วนร่วมทางการเมอื งแล้ว จะทาให้คนในทอ้ งถน่ิ นน้ั ตระหนกั ถงึ คณุ ค่าและเกดิ จิตสานกึ ทด่ี ใี นการ รักษาผลประโยชนข์ องชมุ ชน นอกจากนั้นคนในชมุ ชนยังสามารถเขา้ มาแก้ไขปญั หาเพราะรู้จักปญั หาได้ ดกี ว่า เขา้ มาร่วมตรวจสอบเปน็ การถว่ งดลุ อานาจ การปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตามบทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนญู ฯ ปี 2550 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 บัญญัติไวใ้ นหมวด 14 การปกครองส่วน ทอ้ งถิ่น เพ่ือกาหนดหลกั การปกครองตนเองของประชาชนในทอ้ งถิ่น ไว้ดังน้ี มาตรา 281 ภายใตบ้ งั คับมาตรา 1 รฐั จะต้องใหค้ วามเปน็ อิสร ะแกอ่ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในทอ้ งถ่ิน และส่งเสริมใหอ้ งคก์ รปกครอง สว่ นท้องถิน่ เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาบรกิ ารสาธารณะ และมีส่วนร่วมในการตดั สนิ ใจแก้ไขปัญหาใน พน้ื ที่ท้องถ่ินใดมลี ักษณะทีจ่ ะปกครองตนเองได้ ย่อมมสี ทิ ธิจดั ตัง้ เปน็ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ท้งั น้ี ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ มาตรา 282 การกากบั ดูแลองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ต้องทาเท่าทีจ่ าเป็นและมีหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีชัดเจนสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับรูปแบบขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินทง้ั นี้ ตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ โดยตอ้ งเปน็ ไปเพ่ือการค้มุ ครองประโยชน์ของประชาชนในท้องถิน่ หรอื ของประเทศ เป็นส่วนรวมและจะกระทบถงึ สาระสาคญั แห่งหลักการปกครองตนเองตามเจตนารมณข์ องประชาชนใน ท้องถ่นิ หรือนอกเหนือจากทีก่ ฎหมายบัญญัตไิ ว้มไิ ด้ มาตรา 283 องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นยอ่ มมีอานาจหนา้ ทโ่ี ดยทั่วไปในการดแู ลและจัดทา บริการสาธารณะเพอ่ื ประโยชน์ของประชาชนในทอ้ งถิ่น และยอ่ มมคี วามเป็นอสิ ระการปกครองสว่ น ทอ้ งถิ่นและอานาจหน้าที่ของกานันและผูใ้ หญบ่ ้านในการกาหนดนโยบาย การบรหิ าร การจดั บริการ สาธารณะการบริหารงานบุคคล การเงินและการคลงั และมอี านาจหน้าทข่ี องตนเองโดยเฉพาะ โดยต้อง คานึงถงึ ความสอดคล้องกับการพัฒนาของจงั หวดั และประเทศเปน็ สว่ นรวมดว้ ย
3. กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง และแนวทางปฏบิ ัติ 3.1 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 มาตรา 1 พระราชบญั ญตั ิน้ีเรียกว่า“พระราชบัญญัติปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550” มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “สาธารณภยั ” หมายความวา่ อัคคีภัย วาตภัย อทุ กภยั ภัยแลง้ โรคระบาดในมนษุ ย์ โรค ระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์นา้ การระบาดของศตั รูพชื ตลอดจนภยั อ่ืน ๆ อนั มี ผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่วา่ เกดิ จากธรรมชาติ มผี ู้ทาใหเ้ กดิ ข้ึน อุบัตเิ หตุ หรือเหตอุ นื่ ใด ซง่ึ กอ่ ให้เกิดอันตรายแกช่ ีวติ ร่างกายของ ประชาชนหรือความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ ินของประชาชน หรอื ของรัฐ และใหห้ มายความรวมถึงภัยทาง อากาศ และการก่อวนิ าศกรรมด้วย “ภยั ทางอากาศ” หมายความวา่ ภัยอันเกิดจากการโจมตที างอากาศ “การก่อวินาศกรรม ” หมายความว่า การกระทาใด ๆ อันเป็นการมงุ่ ทาลายทรพั ยส์ ิน ของประชาชนหรือของรฐั หรือส่ิงอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหน่วงเหน่ียวระบบการ ปฏบิ ัตงิ านใด ๆ ตลอดจนการประทุษรา้ ยตอ่ บคุ คลอันเปน็ การกอ่ ใหเ้ กิดความป่นั ปุวนทางการเมืองการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายทจ่ี ะก่อให้เกิดความเสยี หายต่อความมน่ั คงของรฐั “หนว่ ยงานของรฐั ” หมายความวา่ สว่ นราชการ รฐั วิสาหกจิ องคก์ ารมหาชน และ หนว่ ยงานอ่นื ของรัฐ แต่ไมห่ มายความรวมถงึ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน “องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ” หมายความว่า องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล เทศบาล องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เมืองพทั ยา กรงุ เทพมหานคร และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินอื่นท่ีมีกฎหมาย จัดตง้ั “องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ แหง่ พน้ื ท่ี ” หมายความวา่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล เทศบาล เมืองพทั ยา และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินอน่ื ท่ีมกี ฎหมายจดั ตง้ั แต่ไม่หมายความรวม ถึง องค์การบริหารสว่ นจังหวดั และกรุงเทพมหานคร “จังหวดั ” ไมห่ มายความรวมถงึ กรงุ เทพมหานคร “อาเภอ” หมายความรวมถึงกง่ิ อาเภอ แตไ่ ม่หมายความรวมถงึ เขตในกรุงเทพมหานคร “นายอาเภอ” หมายความรวมถงึ ปลดั อาเภอผูเ้ ป็นหัวหนา้ ประจาก่ิงอาเภอ “ผบู้ ริหารท้องถนิ่ ” หมายความวา่ นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล นายกเทศมนตรนี ายก เมอื งพทั ยา และหัวหน้าผ้บู ริหารขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ แห่งพื้นทีอ่ ืน่ “ผูบ้ ัญชาการ” หมายความวา่ ผบู้ ญั ชาการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ “ผู้อานวยการ ” หมายความว่า ผู้อานวยการกลาง ผอู้ านวยการจงั หวดั ผอู้ านวยการ อาเภอ ผอู้ านวยการทอ้ งถน่ิ และผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร “เจ้าพนักงาน ” หมายความว่า ผูซ้ ่งึ ได้รับแต่งตง้ั ใหป้ ฏิบตั หิ น้าทใี่ นการปอู งกนั และ บรรเทาสาธารณภัยในพน้ื ท่ตี า่ ง ๆ ตามพระราชบญั ญัติน้ี “อาสาสมคั ร” หมายความว่า อาสาสมคั รปอู งกันภยั ฝาุ ยพลเรอื นตามพระราชบญั ญัติน้ี “อธบิ ดี” หมายความวา่ อธิบดีกรมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย
“รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 15 ใหผ้ ู้ว่าราชการจงั หวดั เป็นผ้อู านวยการจังหวดั รบั ผิดชอบในการปูองกันและบรรเทา สาธารณภยั ในเขตจงั หวัด โดยมีอานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปนี้ (1) จัดทาแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ซ่งึ ต้องสอดคลอ้ งกับแผนการ ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (2) กากบั ดูแลการฝึกอบรมอาสาสมคั รขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ (3) กากบั ดแู ลองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินใหจ้ ัดให้มวี สั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือเครือ่ งใช้ ยานพาหนะ และส่ิงอ่นื เพ่ือใชใ้ นการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ตามทกี่ าหนด ในแผนการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั (4) ดาเนินการให้หนว่ ยงานของรัฐและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ใหก้ ารสงเคราะห์ เบ้อื งตน้ แกผ่ ปู้ ระสบภัย หรือผู้ได้รบั ภยนั ตรายหรอื เสียหายจากสาธารณภยั รวมตลอดท้ังการรกั ษาความ สงบเรยี บร้อยและการปฏบิ ัตกิ ารใด ๆ ในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย (5) สนับสนุนและให้ความชว่ ยเหลอื แกอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในการปอู งกนั และ บรรเทาสาธารณภัย (6) ปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ่นื ตามทีผ่ ูบ้ ญั ชาการและผอู้ านวยการกลางมอบหมาย เพอื่ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี าม (3) (4) และ (5) ให้ผอู้ านวยการจงั หวัด มอี านาจ สั่งการหน่วยงานของรฐั และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงอยู่ในจงั หวัด ใหด้ าเนินการในการปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัยตามแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั และมอี านาจสง่ั การ ควบคมุ และ กากับดูแลการปฏบิ ตั ิหน้าทขี่ องเจา้ พนักงานและอาสาสมัครใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา 16 แผนการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตามมาตรา 15 (1) อย่างนอ้ ยต้องมี สาระสาคญั ตามมาตรา 12 และสาระสาคัญอน่ื ดังตอ่ ไปนี้ (1) การจัดต้ังศนู ย์อานวยการเฉพาะกิจเมื่อเกดิ สาธารณภยั ขึน้ โครงสรา้ ง และผมู้ ี อานาจสัง่ การด้านต่าง ๆ ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (2) แผนและขน้ั ตอนขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในการจดั หาวัสดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือเคร่ืองใช้ และยานพาหนะ เพอ่ื ใชใ้ นการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั (3) แผนและขัน้ ตอนขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ในการจดั ให้มเี คร่อื งหมาย สญั ญาณ หรอื สิง่ อน่ื ใด ในการแจ้งให้ประชาชนไดท้ ราบถึงการเกดิ หรอื จะเกดิ สาธารณภยั (4) แผนปฏบิ ัติการในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยขององคก์ รปกครองสว่ น ทอ้ งถ่ิน (5) แผนการประสานงานกับองคก์ ารสาธารณกุศล มาตรา 20 ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนที่มีหนา้ ที่ปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยใน เขตทอ้ งถิ่นของตน โดยมีผบู้ ริหารท้องถิน่ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ แห่งพื้นท่นี นั้ เป็นผูร้ ับผิดชอบใน ฐานะผ้อู านวยการท้องถ่นิ และมหี นา้ ทชี่ ่วยเหลือผูอ้ านวยการจงั หวดั และผู้อานวยการอาเภ อตามทีไ่ ดร้ ับ มอบหมาย ในการปฏิบัตหิ น้าทข่ี องผอู้ านวยการท้องถ่นิ ตามวรรคหน่ึง ใหผ้ อู้ านวยการท้องถ่นิ มี อานาจส่งั การ ควบคุม และกากับดแู ลการปฏิบัติหน้าที่ของเจา้ พนกั งานและอาสาสมคั รให้เปน็ ไปตาม พระราชบญั ญตั นิ ้ี
ให้ปลดั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขององคก์ รปกครองสว่ นท้อ งถน่ิ แห่งพ้นื ท่ี น้นั เป็น ผู้ช่วยผอู้ านวยการทอ้ งถน่ิ รับผดิ ชอบและปฏบิ ตั หิ นา้ ทีใ่ นการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขต ท้องถ่ินของตนและมหี น้าทชี่ ว่ ยเหลือผูอ้ านวยการทอ้ งถ่นิ ตามท่ีได้รับมอบหมาย มาตรา 21 เม่อื เกิดหรอื คาดวา่ จะเกิดสาธารณภยั ขน้ึ ในเขตขององคก์ รปกครอ งสว่ นทอ้ งถิน่ แหง่ พ้ืนทใ่ี ด ใหผ้ ้อู านวยการทอ้ งถิน่ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นแห่งพ้นื ที่น้นั มหี น้าที่เข้าดาเนนิ การปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยเรว็ และแจ้งใหผ้ ู้อานวยการอาเภอทร่ี ับผิดชอบในเขตพื้นที่น้ันและ ผอู้ านวยการจงั หวัดทราบทันที ในการปฏบิ ตั หิ น้าทีต่ ามวรรคหนงึ่ ให้ผ้อู านวยการท้องถิน่ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี (1) สงั่ ข้าราชการฝุายพลเรอื น พนักงานส่วนท้องถ่นิ เจา้ หน้าทข่ี องหนว่ ยงานของรฐั เจา้ พนักงาน อาสาสมัคร และบคุ คลใด ๆ ในเขตองค์ กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนทท่ี เ่ี กิดสาธารณภัย ให้ปฏิบัตกิ ารอยา่ งหน่ึงอย่างใดตามความจาเป็นในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (2) ใช้อาคาร สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมอื เคร่ืองใช้ และยานพาหนะของ หน่วยงานของรฐั และเอกชนทีอ่ ย่ใู นเขต องคก์ รปกครองสว่ นท้ องถิ่นแหง่ พืน้ ท่ี ทีเ่ กดิ สาธารณภัย เทา่ ที่จาเปน็ เพอื่ การปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั (3) ใชเ้ คร่ืองมือส่ือสารของหน่วยงานของรัฐหรอื เอกชนทกุ ระบบทอ่ี ยู่ในเขตองค์กร ปกครองส่วนท้องถนิ่ แห่งพน้ื ทท่ี ี่เกิดสาธารณภยั หรอื ทอ้ งที่ทเ่ี ก่ยี วเนือ่ ง (4) ขอความชว่ ยเหลอื จากองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนในการปอู งกันและบรรเทา สาธารณภัย (5) สัง่ ห้ามเข้าหรอื ใหอ้ อกจากพืน้ ท่ี อาคารหรือสถานทที่ ่กี าหนด (6) จดั ใหม้ ีการสงเคราะห์ผปู้ ระสบภัยโดยท่ัวถงึ และรวดเร็ว มาตรา 22 เม่ือมีกรณตี ามมาตรา 21 เกดิ ขึ้น ใหผ้ ู้อานวยการอาเภอ และผู้อานวยการจังหวัดมี อานาจหน้าท่ีเชน่ เดยี วกับผูอ้ านวยการทอ้ งถน่ิ โดยในกรณีผอู้ านวยการอาเภอ ใหส้ ่งั การได้สาหรับในเขต อาเภอของตน และในกรณีผู้อานวยการจงั หวดั ให้ส่งั การได้สาหรบั ในเขตจังหวดั แล้วแตก่ รณี ในกรณที ผี่ ู้อานวยการท้องถิ่ นมคี วามจาเป็นตอ้ งได้รบั ความช่วยเหลอื จากเจา้ หน้าทีข่ อง รฐั หรือหนว่ ยงานของรัฐทีอ่ ยูน่ อกเขตขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ แหง่ พืน้ ท่ขี องตน ให้แจง้ ให้ ผอู้ านวยการอาเภอหรอื ผอู้ านวยการจังหวัด แล้วแตก่ รณี เพื่อสัง่ การโดยเรว็ ต่อไป ในกรณีจาเปน็ เพอื่ ประโยชนใ์ นการปูองกั นและบรรเทาสาธารณภัยใด ผูอ้ านวยการ จงั หวดั จะสั่งการใหห้ นว่ ยงานของรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น เจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐ หรอื บคุ คลใด กระทา หรืองดเว้นการกระทาใดท่มี ีผลกระทบตอ่ การปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยนน้ั กไ็ ด้ คาสัง่ ดังกล่าวให้มผี ลบังคบั เป็นระยะเวลาตามทีก่ าหนดในคาส่ั ง แต่ตอ้ งไมเ่ กินย่สี บิ สี่ชวั่ โมง ในกรณีทม่ี ี ความจาเปน็ ตอ้ งให้คาส่งั ดังกล่าวมผี ลบงั คบั เกินยี่สบิ สช่ี วั่ โมง ใหเ้ ป็นอานาจของผูบ้ ัญชาการทจี่ ะสัง่ การได้ ตามความจาเปน็ แต่ต้องไม่เกินเจ็ดวนั ในกรณที ีพ่ ื้นที่ท่เี กดิ หรอื จะเกิดสาธารณภยั ตามวรรคหนงึ่ อยู่ในความรับผิดชอ บของ ผู้อานวยการท้องถน่ิ หลายคน ผู้อานวยการทอ้ งถน่ิ คนหนง่ึ คนใด จะใช้อานาจหรือปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีตามมาตรา 21 ไปพลางกอ่ นก็ได้ แลว้ ให้แจ้งผู้อานวยการท้องถิน่ อืน่ ทราบโดยเรว็ มาตรา 23 เม่อื เกดิ สาธารณภยั ขนึ้ ในเขตพื้นทข่ี ององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ แห่งพน้ื ท่ใี ด ให้ เป็นหนา้ ท่ขี องผอู้ านวยการท้องถ่ินซึง่ มพี น้ื ท่ตี ดิ ตอ่ หรอื ใกลเ้ คยี งกบั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ แหง่ พ้ืนที่ นน้ั ทีจ่ ะสนับสนุนการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทเ่ี กดิ ข้นึ
มาตรา 24 เมือ่ เกดิ สาธารณภยั ให้เปน็ หน้าทข่ี องเจ้าพนกั งานทป่ี ระสบเหตุ ตอ้ งเขา้ ดาเนนิ การ เบ้ืองตน้ เพื่อระงับสาธารณภยั นนั้ แลว้ รีบรายงานใหผ้ ูอ้ านวยการท้องถิ่นท่ีรับผดิ ชอบในพ้ืนท่นี นั้ เพ่อื สงั่ การ ต่อไป และในกรณจี าเปน็ อนั ไมอ่ าจหลีกเลี่ยงได้ ใหเ้ จ้าพนักงานมีอานาจดาเนนิ การใด ๆ เพื่อคุ้มครองชวี ิต หรือปอู งกันภยนั ตรายท่ีจะเกิดแกบ่ ุคคลได้ มาตรา 30 ให้ผู้อานวยการในเขตพ้ืนทีท่ ่รี ับผิดชอบสารวจความเสยี หายจากสาธารณภัยทเ่ี กดิ ข้ึน และทาบัญชีรายชื่อผู้ประสบภยั และทรพั ย์สนิ ท่ีเสยี หายไว้เป็นหลักฐานพรอ้ มทงั้ ออกหนังสือรบั รองให้ ผูป้ ระสบภัยไวเ้ ป็นหลักฐานในการรับการสงเคราะหแ์ ละฟืน้ ฟู 3.2 ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่า ด้วยวธิ ีการงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ. 2541 ข้อ 1 ระเบียบนีเ้ รยี กว่า \"ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2541\" ข้อ 5 ในระเบยี บน้ี \"งบประมาณ\" หมายความว่า แผนงาน หรอื งานสาหรับประมาณการด้านรายรับและ รายจ่าย แสดงในรูปตัวเลขจานวนเงนิ การต้งั งบประมาณ คือ การแสดงแผนดาเนินงานออกเปน็ ตัวเลข จานวนเงิน \"แผนงาน\" หมายความวา่ ภารกิจแตล่ ะดา้ นที่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นมหี น้าท่ตี าม กฎหมายวา่ ดว้ ยองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ แตล่ ะรูปแบบ \"งาน\" หมายความว่า กิจกรรมต่างๆ ของหนว่ ยงานทก่ี าหนดไวใ้ นแต่ละแผนงาน \"องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ \" หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภบิ าล เมืองพัทยา และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล \"สภาท้องถน่ิ \" หมายความวา่ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สภาเทศบาล คณะกรรมการสขุ าภบิ าล สภาเมืองพทั ยา และสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล \"งบประมาณรายจ่าย \" หมายความวา่ งบประมาณท่ีสภาทอ้ งถ่นิ ให้ความเหน็ ชอบและ ผู้วา่ ราชการจงั หวดั หรอื นายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เปน็ หัวหนา้ ประจาก่ิงอาเภออนุมัติ ตามที่กาหนดไว้ใน กฎหมายวา่ ด้วยองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิ นแตล่ ะรปู แบบ ทง้ั นี้ รวมทงั้ งบประมาณรายจ่ายเพิม่ เตมิ และ การโอน การแก้ไข เปลยี่ นแปลงคาชี้แจงงบประมาณด้วย \"เงนิ นอกงบประมาณ \" หมายความว่า เงนิ ท้งั ปวงท่ีอยู่ในความรบั ผดิ ชอบขององคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน นอกจากเงินท่ีปรากฎตามงบประมาณรายจา่ ย \"ปงี บประมาณ\" หมายความวา่ ระยะเวลาตัง้ แต่ วนั ที่ 1 ตลุ าคม ของปีหนง่ึ ถงึ วันท่ี 30 กันยายน ของปถี ดั ไป และให้ใช้ปี พ.ศ. ท่ถี ดั ไปน้นั เปน็ ชอื่ สาหรบั ปงี บประมาณน้นั \"หน้ี\" หมายความวา่ ขอ้ ผูกพนั ทีต่ อ้ งจ่าย หรืออาจจะตอ้ งจ่ายเป็นเงิน สง่ิ ของหรอื บรกิ าร ไมว่ ่าจะเปน็ ขอ้ ผกู พนั อันเกดิ จากการกู้ยืม การคา้ ประกัน การซอ้ื หรือการจา้ งโดยใช้เครดติ หรือจากการ อ่นื ใด \"หน่วยงาน\" หมายความว่า สานัก กอง ส่วน ฝาุ ย ตามโครงสรา้ งขององคก์ รปกครองสว่ น ท้องถ่นิ แตล่ ะรูปแบบ \"คณะผู้บรหิ ารท้องถ่ิน \" หมายความ นายกองค์การบรหิ ารส่วนจัง หวัด คณะเทศมนตรี ประธานกรรมกาสขุ าภบิ าล ปลัดเมอื งพทั ยา และคณะกรบริหารองค์การบริหารส่วนตาบล
\"เจา้ หนา้ ทง่ี บประมาณ \" หมายความว่า ปลดั องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ปลัดเทศบาล ปลัดสุขาภบิ าล หวั หน้าสานกั ปลัดเมืองพทั ยา และปลดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ขอ้ 6 บรรดารูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวธิ ีการงบประมาณขององค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี รมการปกครองกาหนด ขอ้ 8 ให้เจา้ หนา้ ที่งบประมาณมอี านาจหน้าทจ่ี ัดทางบประมาณกบั ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ตามทกี่ าหนดไว้ ในระเบยี บนี้ และให้มอี านาจหน้าทเี่ กย่ี วกบั งานงบประมาณ ดังตอ่ ไปน้ดี ว้ ย (1) เรยี กให้หนว่ ยงานต่างๆ เสนอประมาณการรายรับ และรายจา่ ยตามแบบและ หลักเกณฑ์ พร้อมดว้ ยรายละเอียดท่กี าหนดตามระเบยี บ ข้อบังคับ คาสัง่ หรือหนงั สือสัง่ การกระทรวง มหาดไทย (2) วเิ คราะห์งบประมาณและการจ่ายเงนิ ของหนว่ ยงานตา่ งๆ (3) สงั่ การ ควบคุม กากบั ดูแล เจา้ หนา้ ที่จัดทาเอกสารงบประมาณ และรวบรวมเปน็ ร่างงบประมาณรายจ่ายประจาปี ข้อ 9 เงนิ รายจ่ายประจาปีขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ใหจ้ ดั ทาเป็นงบประมาณรายจา่ ย ประจาปี และใหม้ ปี ระมาณการรายรบั ประกอบงบประมาณรายจ่ายประจาปีดว้ ย ขอ้ 10 งบประมาณรายจ่ายประจาปีขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อาจจาแนกเป็นงบประมาณ รายจา่ ยท่ัวไป และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ ขอ้ 11 องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ อาจจัดทางบประมาณรายจ่ายเฉพาะการไดโ้ ดยไดร้ ับความ เหน็ ชอบจากสภาท้องถิ่น ขอ้ 12 งบประมาณรายจา่ ยทวั่ ไป และงบประมาณรายจ่ ายเฉพาะการ อาจตัง้ จา่ ยเงนิ ช่วยเหลอื ระหว่างกนั ได้ ข้อ 13 งบประมาณรายจา่ ยทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ประกอบด้วยรายจา่ ยงบกลาง และรายจ่ายตามแผนงาน ขอ้ 19 งบประมาณรายจ่ายจะกาหนดใหม้ ีเงินสารองจา่ ย เพ่ือกรณีที่จาเปน็ ได้ตามความเหมาะสม สาหรบั การอนมุ ตั ิใหใ้ ช้เงนิ สารองจ่าย ให้เป็นอานาจของคณะผู้บรหิ ารท้องถน่ิ ขอ้ 36 บรรดาเงินทีอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นไดร้ ับจากผูอ้ ุทศิ ให้ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ให้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ใชจ้ า่ ยในกิจการอยา่ งหนึ่งอย่างใดโดยเฉพาะ ให้จา่ ยเงินหรอื ก่อหน้ีผกู พนั ภายในวงเงนิ ที่ได้รับนัน้ และไมต่ อ้ งนาส่งเปน็ รายไดข้ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ เว้นแต่มเี งินเหลือ จากการใชจ้ ่ายน้ันและผ้อู ทุ ศิ ใหไ้ มไ่ ด้กาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอื่น ให้นาส่งเปน็ เงินรายได้การใชจ้ ่ายเงนิ อดุ หนนุ เฉพาะกิจ เงินกู้ เงินจ่ายขาดจากเงินสะสม หรอื เงินอดุ หนุนจากระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอนื่ ใด ที่มลี กั ษณะให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ดาเนินการตามท่ีระบุไว้เปน็ การเฉพาะโดยไมม่ เี ง่ือนไข ให้องค์กร ปกครองสว่ นท้องถน่ิ พิจารณาดาเนินการตามที่ระบุไว้ โดยไมต่ ้องตราเป็นงบประมาณรายจา่ ยตามระเบียบ น้ี สาหรับแบบและวิธีการจา่ ยเงิน หรือกอ่ หนี้ผูกพัน ใหเ้ ป็นไปตามท่กี รมการปกครองกาหนดเงนิ ทีไ่ ดร้ บั ใน ลกั ษณะค่าชดใช้ความเสยี หาย หรอื สน้ิ เปลืองแห่งทรพั ยส์ ินและจาเปน็ จะต้องจา่ ยเพ่ือบูรณะทรัพย์สนิ หรือจดั ใหไ้ ดท้ รัพยส์ นิ คืนมา ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ พิจารณาดาเนินการตามระเบียบท่ีเก่ียวขอ้ ง โดยไมต่ ้องตราเป็นงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบน้ี เงินรายรบั ที่เปน็ สถานพยาบาล สถานการศกึ ษา หรอื สถานอืน่ ใดทเี่ ป็นสาธารณ ประโยชน์ หรอื ประชาสงเคราะห์ ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ นาเงนิ ไปใชจ้ า่ ยได้แต่เฉพาะตามระเบียบ หนงั สือสงั่ การทเ่ี กย่ี วข้องกาหนดไว้เทา่ น้ัน
ขอ้ 37 เมอ่ื ส้ินปีงบประมาณ หากงบประมาณรายจา่ ยมเี หลืออยู่ และไดม้ กี ารเบกิ ตดั ปหี รือขยาย เวลาเบกิ ตัดปไี ว้แลว้ ในกรณีน้ีให้เบกิ จา่ ยได้โดยอาศัยงบประมาณรายจา่ ยฉบับเดิมตอ่ ไปไดอ้ กี ภายในระยะ เวลาทขี่ อเบิกตัดปี หรือขยายเวลาเบิกตัดปีไว้ ขอ้ 38 การกอ่ หน้ผี กู พันงบประมาณรายจ่ายเกนิ กวา่ หนึง่ ปงี บ ประมาณจะกระทาได้ตอ่ เมอ่ื ไดร้ บั ความเห็นชอบจากสภาท้องถิน่ และมีเงนิ รายไดต้ ามงบประมาณแลว้ จึงจะจ่ายได้ 3.3 ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรบั เงิน การเบกิ จา่ ยเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รักษา เงินและการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2547 ข้อ 1 ระเบยี บน้ีเรยี กว่า “ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการรับเงนิ การเบกิ จา่ ยเงิน การ ฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2547” ข้อ 5 ในระเบียบนี้ (1) “องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ” หมายความว่า องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนตาบล และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นอ่นื ทมี่ ีกฎหมายจดั ต้งั รวมทั้งกิจการพาณิชย์ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นดว้ ย (2) “สภาทอ้ งถน่ิ ” หมายความว่า สภาองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด สภาเทศบาล สภา องค์การบริหารสว่ นตาบล และสภาท้องถ่นิ อน่ื ที่มีกฎหมายจัดตง้ั (3) “ผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ ” หมายความวา่ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นายกเทศมนตรี คณะเทศมนตรี นายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบล และผบู้ ริหารทอ้ งถิน่ อนื่ ท่มี กี ฎหมายจัดตั้ง (4) “ผ้ชู ว่ ยผูบ้ รหิ ารท้องถิน่ ” หมายความวา่ รองนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด รอง นายกเทศมนตรรี องนายกองค์การบริหารส่วนตาบล และให้หมายความรวมถึงเทศมนตรี และรองผบู้ ริหาร ทอ้ งถ่นิ อน่ื ทมี่ กี ฎหมายจัดตั้ง (5) “ปลดั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ” หมายความวา่ ปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด ปลัดเทศบาลส่วนตาบล และปลดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อ่นื ท่มี ีกฎหมายจัดตั้ง (6) “พนักงานสว่ นท้องถ่ิน ” หมายความว่า ขา้ ราชการองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั พนักงานเทศบาล พนกั งานสว่ นตาบล และพนักงานส่วนท้องถน่ิ อนื่ ท่มี กี ฎหมายจัดตัง้ (7) “หนว่ ยงาน” หมายความวา่ สานกั กอง สว่ น ฝุาย ตามโครงสรา้ งขององค์กร ปกครองส่วนท้องถน่ิ แต่ละรูปแบบ หรือหนว่ ยงานทีม่ งี บเฉพาะการ หรอื หน่วยงานที่ไดแ้ ยกออกไปทาการ รบั จา่ ยและเกบ็ รักษาเงนิ (8) “ผูเ้ บกิ ” หมายความว่า หน่วยงานทีไ่ ดร้ ับงบประมาณทั่วไปและงบประมาณเฉพาะ การรวมทง้ั เงนิ นอกงบประมาณดว้ ย (9) “หนว่ ยงานคลงั ” หมายความวา่ หนว่ ยงานทม่ี ีหน้าท่เี กยี่ วกบั การรับเงนิ การเบกิ จ่ายเงินการฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน ตามระเบียบน้ี (10) “หวั หนา้ หน่วยงานคลัง ” หมายความวา่ หัวหนา้ หนว่ ยงาน ซงึ่ มหี นา้ ท่ีเก่ยี วกับการ รับเงินการเบกิ จ่ายเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ หรอื งานเกยี่ วกับการเงินการบญั ชี ตามท่ีกาหนดไว้ หนา้ 27 เล่ม 122 ตอนพเิ ศษ 9 ง ราชกิจจานเุ บกษา 31 มกราคม 2548 ในระเบยี บนี้ และให้หมายความ รวมถงึ หวั หน้าหน่วยงานทม่ี งี บเฉพาะการหรอื หน่วยงานที่ไดแ้ ยกไป ทาการรับจา่ ยและเกบ็ รกั ษาเงนิ ต่างหากจากหนว่ ยงานคลงั
(11) “เจ้าหนา้ ท”่ี หมายความว่าผทู้ ม่ี หี น้าทร่ี ับจา่ ยเงินและให้รวมถงึ ผ้ซู ่ึงได้รับมอบหมาย ให้มหี น้าท่ีรบั จา่ ยเงินด้วย (12) “ตู้นริ ภยั ” หมายความรวมถึงกาปัน่ หรือตเู้ หล็กหรอื หบี เหล็กอนั มั่นคง ซ่งึ ใช้สาหรบั เกบ็ รักษาเงินขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน (13) “หบี ห่อ” หมายความวา่ หีบ หรอื ถุง หรอื ภาชนะอ่นื ใด ซ่งึ ใช้สาหรับบรรจเุ งินเพ่ือ ฝากเก็บรักษาไว้ในตนู้ ริ ภัยในลักษณะหีบห่อ หรือสาหรบั บรรจเุ งินเพอื่ นาส่ง หรือนาฝากสว่ นราชการ หรอื บรรจเุ งนิ ที่ขอเบิกคนื จากตนู้ ริ ภัยของสว่ นราชการหรอื องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (14) “อนุมัตฎิ ีกา” หมายความว่า อนุญาตให้จ่ายเงินจากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ (15) “หลักฐานการจ่าย” หมายความวา่ หลักฐานแสดงวา่ ได้มีการจ่ายเงนิ ให้แก่ผ้รู ับหรอื เจา้ หนต้ี ามขอ้ ผูกพนั แลว้ (16) “ใบสาคญั คู่จ่าย ” หมายความวา่ หลกั ฐานการจ่ายเงนิ ที่เปน็ ใบเสร็จรับเงิน หลักฐานของธนาคารแสดงการจ่ายเงินแก่เจา้ หน้ี หรือหลกั ฐานการนาเงินเข้าบญั ชเี งนิ ฝากของผู้รบั ที่ ธนาคาร และใหร้ วมถงึ ใบนาส่งเงินต่อหนว่ ยงานคลงั ดว้ ย (17) “เงินรายรบั ” หมายความว่า เงนิ ทัง้ ปวงทอ่ี งคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ จดั เกบ็ หรอื ไดร้ ับไว้เป็นกรรมสทิ ธิ์ตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคบั หรอื จากนติ ิกรรม (18) “เงินนอกงบประมาณ ” หมายความวา่ เงินทัง้ ปวงท่อี ยู่ในความรบั ผิดชอบของ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ เว้นแตเ่ งินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย และเงนิ ทรี่ ัฐบาลอุดหนนุ ให้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ โดยระบวุ ัตถุประสงค์ (19) “รายงานสถานะการเงินประจาวัน ” หมายความรวมถึง ยอดเงินรบั และจา่ ยในแต่ ละวนั รวมถึงยอดเงินทฝ่ี ากธนาคารและคลังจงั หวัดด้วย หน้า 28 เล่ม 122 ตอนพเิ ศษ 9 ง ราชกิจจา นุเบกษา 31 มกราคม 2548 (20) “เงนิ ยืม” หมายความวา่ เงินงบประมาณหรอื เงนิ นอกงบประมาณทีอ่ งค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ จา่ ยใหแ้ กบ่ คุ คลใดยืมเพอ่ื เปน็ ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการหรอื ปฏิบตั ริ าชการอ่นื ใด (21) “แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและแผนพัฒนาสามปี ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน หรอื ตามทกี่ ฎหมายกาหนด (22) “แผนการใช้จา่ ยเงนิ ” หมายความวา่ แผนแสดงรายล ะเอียดการใช้จา่ ยเงินของ หนว่ ยงานผู้เบกิ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ซึ่งหนว่ ยงานผู้เบิกไดย้ ่ืนตอ่ หน่วยงานคลัง ทุกระยะสามเดือน (23) “ทนุ สารองเงนิ สะสม ” หมายความว่า ยอดเงินสะสมจานวนรอ้ ยละย่ีสบิ หา้ ของ ยอดเงนิ สะสมประจาทุกส้ินปีงบประมาณ เพอื่ รกั ษาเสถียรภาพการเงินการคลังขององคก์ รปกครองสว่ น ทอ้ งถ่ิน (24) “เงนิ สะสม” หมายความว่า เงนิ ท่เี หลอื จ่ายจากเงนิ รายรับตามงบประมาณรายจา่ ย ประจาปีและหรืองบประมาณรายจา่ ยเพ่มิ เติม และให้หมายความรวมถงึ เงนิ รายรับอื่นทอ่ี งค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่นได้รับไว้ภายในวนั สิน้ ปีงบประมาณหลังจากท่ีไดห้ ักทนุ สารองเงินสะสมไว้แลว้ และรวมท้งั เงิน สะสมปกี ่อน ๆ ดว้ ย (25) “หนี้สญู ” หมายความว่า หนี้ท่ีองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในฐานะเจา้ หน้ีไม่มที างที่ จะไดร้ ับชาระหน้จี ากลกู หน้ไี ด้ (26) “ ปี ” หมายความว่า ปงี บประมาณ (27) “นายอาเภอ” หมายความรวมถึง ปลดั อาเภอผูเ้ ป็นหัวหนา้ ประจากิง่ อาเภอด้วย
ขอ้ 87 ทกุ วันสนิ้ ปงี บประมาณ เม่ือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ไดป้ ิดบญั ชรี ายรบั รายจา่ ยแล้ว ให้ กันยอดเงินสะสมประจาปไี ว้ร้อยละยสี่ ิบหา้ ของทุกปี เพือ่ เปน็ ทุนสารองเงนิ สะสมโดยทท่ี ุนสารองเงนิ สะสม นใ้ี หเ้ พิ่มข้ึนรอ้ ยละยส่ี ิบหา้ ของทกุ ปี หนา้ 47 เล่ม 122 ตอนพเิ ศษ 9 ง ราชกจิ จานุเบกษา 31 มกราคม 2548 การจ่ายเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมจะกระทาไดต้ อ่ เม่อื ยอดเงินสะสมในส่วนทเ่ี หลือมีไมเ่ พียงพอ ตอ่ การ บริหาร ใหข้ อความเหน็ ชอบจากสภาทอ้ งถิ่น และขออนุมัตผิ ู้วา่ ราชการจังหวดั ในกรณีที่ปีใดองคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นมียอดเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมเกนิ ร้อยละยส่ี บิ ห้าของงบประมาณรายจ่ายประจาปีน้นั หากมีความจาเปน็ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ อาจนายอดเงนิ สว่ นทีเ่ กนิ ไปใช้จา่ ยได้โดยไดร้ ับอนมุ ตั ิจาก สภาทอ้ งถิ่นภายใต้เง่อื นไขขอ้ 89 (1) ขอ้ 89 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน อาจจ่ายขาดจากเงนิ สะสมไดไ้ ม่เกินรอ้ ยละสสี่ บิ ของ งบ ประมาณรายจา่ ยเพ่ือการลงทุนของปนี ัน้ โดยได้รับอนุมัติจากสภาทอ้ งถิ่น ภายใตเ้ งอื่ นไข ดังตอ่ ไปนี้ (1) ให้กระทาได้เฉพาะกิจการซงึ่ อย่ใู นอานาจหนา้ ทีข่ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ซึ่ง เก่ยี วกบั ด้านการบรกิ ารชมุ ชนและสงั คม หรอื กิจการท่เี ปน็ การเพมิ่ พูนรายได้ขององค์กรปกครองสว่ น ท้องถ่นิ หรอื กิจการทจ่ี ัดทาเพ่ือบาบัดความเดือดร้อนของประชาชน ท้ังนี้ ตอ้ งเป็นไปตามแผนพฒั นาของ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน หรอื ตามทีก่ ฎหมายกาหนด หน้า 48 เลม่ 122 ตอนพเิ ศษ 9 ง ราชกิจจา นเุ บกษา 31 มกราคม 2548 (2) ไดส้ ่งเงนิ สมทบกองทนุ สง่ เสรมิ กจิ การขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ แต่ละประเภท ตามระเบียบแล้ว (3) เมอื่ ได้รับอนุมัติให้จ่ายขาดเงนิ สะสมแล้ว องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นต้องดาเนนิ การ กอ่ หนผ้ี กู พนั และเบิกจา่ ยให้เสรจ็ สน้ิ ภายในระยะเวลาไม่เกินหน่ึงปถี ดั ไป หากไม่ดาเนินการภายใน ระยะเวลาท่ีกาหนดให้การจ่ายขาดเงินสะสมน้ันเป็นอันพับไป ข้อ 91 ภายใตบ้ งั คับข้อ 89 ในกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกดิ ขึ้น ใหผ้ บู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ อนุมตั ิใหจ้ า่ ย ขาดเงินสะสมได้ตามความจาเปน็ ในขณะนัน้ โดยใหค้ านงึ ถงึ ฐานะการเงิน การคลงั ขององคก์ รปกครองสว่ น ท้องถนิ่ นน้ั ข้อ 92 การวางฎีกาเบิกเงินสะสม ตามขอ้ 89 และขอ้ 90 ให้ดาเนนิ การวางฎกี าเบิกเงนิ สะสมได้ เฉพาะตามจานวนทจ่ี ะต้องจา่ ยจรงิ และจะถึงกาหนดเวลาท่ีต้องจา่ ยเงินหรอื วางฎกี าเบกิ เงิน สะสมเป็น งวดๆ ตามความจาเปน็ 3.4 หลักเกณฑว์ ่าดว้ ยการตัง้ งบประมาณเพ่อื การชว่ ยเหลือประชาชนตามอานาจหนา้ ทขี่ อง องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เทศบาล และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. 2543 ขอ้ 1 หลกั เกณฑน์ ้ีเรียกวา่ “หลกั เกณฑว์ า่ ดว้ ยการต้งั งบประมาณเพอ่ื การชว่ ยเหลอื ประช าชน ตามอานาจหน้าทข่ี ององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั เทศบาล และองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล พ.ศ. 2543” ขอ้ 3 กิจกรรมท่เี ปน็ การช่วยเหลือประชาชนตามหลักเกณฑน์ ี้ ตอ้ งอยใู่ นอานาจหน้าที่ของ องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เทศบาล และองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล ตามทมี่ ีกฎหมายกาหนดให้เปน็ อานาจ หน้าทข่ี ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ น้นั เช่น การส่งเสรมิ การทามาหากนิ ของราษฎร การแก้ไขปญั หา การประกอบอาชีพ การสงั คมสงเคราะห์ การปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย การปูองกนั และระงับ โรคติดตอ่ การสสุ านและฌาปนสถาน เป็นต้น ขอ้ 4 ให้องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด เทศบาล และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ท่ปี ระสงคจ์ ะตง้ั งบประมาณเพื่อการช่วยเหลอื ประชาชน ดาเนินการศึกษาปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการของ
ประชาชนในท้องถน่ิ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหา จดั ทาโครงการแสดงสาระสาคญั ของงานทต่ี อ้ ง ปฏบิ ัติ แล้วบรรจุเข้าเปน็ แผนพัฒนาขององคก์ รปกคร องสว่ นท้องถ่นิ โดยดาเนินการตามระเบียบวา่ ด้วย วิธีการจดั ทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ข้อ 5 ในการจัดทารา่ งข้อบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ย ใหผ้ บู้ ริหารทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาเสนอโครงการ ในแผนพฒั นาตามข้อ 4 เพอื่ ขอรับงบประมาณชว่ ยเหลอื ประชาชนตามความจาเป็น และเหมาะสม กับ ฐานะการคลังของท้องถิ่น โดยต้งั จา่ ยในรา่ งขอ้ บญั ญตั งิ บประมาณใหถ้ กู ตอ้ งตามประเภทของรายจา่ ย ทัง้ น้ี ให้ชแี้ จงถึงเหตุผลความจาเปน็ ท่ีจะต้องตัง้ งบประมาณดังกล่าวไวใ้ นคาช้แี จงประกอบงบประมาณรายจา่ ย ด้วย ข้อ 6 เม่อื ขอ้ บัญญัติงบประมาณรายจา่ ยมีผลใชบ้ งั คับ และผู้บริ หารทอ้ งถิ่นเหน็ วา่ ถึงเวลาตอ้ ง ดาเนินการช่วยเหลือประชาชนตามโครงการทีไ่ ดร้ ับงบประมาณไว้ ใหด้ าเนนิ การดงั น้ี (1) ให้นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด นายกเทศมนตรี หรอื ประธานกรรมการบริหาร องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลแลว้ แต่กรณี แต่งต้งั คณะกรรมการดาเนินการช่วยเหลือประชาชน ตามโครงการ โดยใหค้ ณะกรรมการดงั กลา่ วควบคมุ การปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ เปน็ ธรรมและ ปฏิบัติตามแนวทางการช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชนท่ีหนว่ ยงานของรัฐถอื ปฏบิ ตั ิอยู่ เชน่ แนวทางปฏบิ ตั ิ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารดาเนินการเก่ียวกับการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประ สบภัยพบิ ัตกิ รณีฉุกเฉนิ ตาม ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพ่อื ช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั พิบัตกิ รณีฉุกเฉิน เป็นตน้ (2) กรณที มี่ ีความจาเปน็ จะตอ้ งจดั ซือ้ วัสดหุ รือครุภัณฑ์เพอ่ื ดาเนินการตามโครงการให้ถอื ปฏิบตั ิ ดงั นี้ ก. การจดั ซ้ือวสั ดุ เพอ่ื นาไปแจกจา่ ยใหแ้ กร่ าษฎร เชน่ พันธ์พืช ป๋ยุ ยารกั ษาโรค ผ้าหม่ อปุ กรณก์ ีฬา วัสดอุ ปุ โภคและบรโิ ภค เปน็ ต้น เมื่อดาเนินการจดั ซ้อื ตามระเบยี บทเี่ กย่ี วข้องแล้วให้ จดั ทาบัญชีควบคมุ การรบั – จา่ ยวสั ดุ โดยแสดงรายการและจานวนวัสดทุ ่ีไดร้ บั และเมื่อมกี ารแจกจ่าย วัสดุ ใหร้ ะบุรายช่อื ผู้ ไดร้ บั แจกจ่ายพร้อมท้งั ให้ผ้รู บั ลงชอื่ รับไว้ในทะเบียน เพื่อเป็นหลกั ฐานเอกสาร ประกอบการเบกิ จ่ายเงนิ ทกุ คร้ัง ข. การจัดซื้อครภุ ัณฑ์เพ่อื นาไปใหร้ าษฎรหรอื หน่วยงานใชต้ ามโครงการตา่ งๆ เชน่ เครอ่ื งสบู นา้ จักรเยบ็ ผ้า เครอื่ งมือการเกษตร เป็นต้น เม่ือดาเนนิ การจัดซ้อื ตามระเบียบฯแลว้ ให้ ลงทะเบยี นควบคุมพัสดุ ตามวธิ ีการทก่ี าหนดไว้ในระเบียบพสั ดขุ ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และเมอ่ื มี กลุ่มประชาชน ชุมชน หรอื หน่วยงานจะยืมไปเพ่อื การชว่ ยเหลือประชาชนตามโครงการตา่ งๆ ใหผ้ ยู้ มื ทา หลักฐานการยมื เป็นลายลกั ษณ์อักษร โดยแสดงเหตผุ ลความจะเปน็ และกาหนดวนั สง่ คนื และขอ้ กาหนด เกี่ยวกับภาระผกู พนั อนั เนอ่ื งมาจากกรณพี สั ดชุ ารุด บกพร่องสญู หาย และอื่นๆ ตามความจาเป็น โดย หมายเหตุในทะเบียนคุมครุภณั ฑ์ ระบุช่อื บคุ คลหรือหนว่ ยงานก้ยู มื ทง้ั น้ี หน่วยงานที่ให้ยืมตอ้ งกากบั ดูแล และควบคุมการใช้งานให้เปน็ ไปตามข้อตกลงของการยมื ดว้ ย
3.5 หลกั เกณฑก์ ารใช้จา่ ยเงินทดรองราชการเพอื่ ช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั พบิ ัตกิ รณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 1. หลักเกณฑ์น้ีเรียกว่า “หลกั เกณฑก์ ารใชจ้ ่ายเงินทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผู้ ประสบ ภยั พบิ ตั ิกรณีฉุกเฉนิ พ.ศ. 2556” 2. หลักเกณฑน์ ใ้ี หใ้ ชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ท่ี 1 เมษายน 2556 เปน็ ตน้ ไป 3. ใหย้ กเลิกหลักเกณฑ์และวธิ ีดาเนนิ การใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พิบตั ิ กรณีฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2551 ที่ประกาศใช้เม่ือวนั ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 บรรดาหลกั เกณฑ์ และคาส่ังอนื่ ใดทก่ี าหนดไวแ้ ลว้ ในหลักเกณฑน์ ี้ หรอื ซ่ึงขดั หรือ แย้งกับ หลกั เกณฑน์ ้ี ให้ใชห้ ลักเกณฑ์นแ้ี ทน 4. ขอบเขตการจา่ ยเงนิ ทดรองราชการ จะตอ้ งเป็นการชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั ิ กรณีฉุกเฉิน ตามความหมายแหง่ ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลอื ผู้ประสบ ภัยพบิ ตั ิกรณีฉกุ เฉนิ 5. การจ่ายเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยพิบัติกรณฉี ุกเฉนิ ให้ปฏบิ ตั ิ ตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไข และอัตราดังต่อไปนี้ 5.1 ดา้ นการดารงชีพ ใหด้ าเนินการช่วยเหลือเป็นสง่ิ ของหรอื จ่ายเป็นเงิน โดย คานงึ ถึงสภาพและเหตุการณ์ตามความเหมาะสม ดังนี้ 5.1.1 ค่าอาหารจดั เลี้ยงวนั ละไม่เกิน 3 มื้อ มื้อละไม่เกิน 30 บาท ต่อคน 5.1.2 ค่าถงุ ยงั ชพี ชดุ ละไมเ่ กิน 550 บาท ต่อครอบครัว 5.1.3 คา่ จัดซื้อหรอื จัดหาน้าสาหรับบริโภคและใชส้ อยในที่อยอู่ าศัย เท่าท่ีจา่ ย จรงิ ตามความจาเปน็ จนกวา่ เหตุการณป์ ระสบภัยพิบัตจิ ะเขา้ สูภ่ าวะปกติ 5.1.4 ค่าจัดหาสง่ิ ของในการดารงชีพเบือ้ งตน้ กรณีที่อยูอ่ าศัยได้รับความ เสียหายทงั้ หลัง เท่าทจี่ า่ ยจริง ครอบครัวละไม่เกิน 3,000 บาท 5.1.5 ค่าวัสดซุ ่อมแซมหรอื กอ่ สรา้ งที่อยอู่ าศัยประจา ซึง่ ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ เปน็ เจา้ ของทไ่ี ด้รบั ความเสยี หายเทา่ ท่ีจา่ ยจริงหลังละไม่เกิน 33,000 บาท 5.1.6 ค่าวสั ดุซ่อมแซมหรอื สรา้ งย้งุ ข้าว โรงเรอื นสาหรับเกบ็ พชื ผลและคอก สตั ว์ท่ีได้รับความเสียหาย เทา่ ทจ่ี ่ายจรงิ ครอบครวั ละไม่เกนิ 5,000 บาท 5.1.7 กรณีท่ผี ู้ประสบภัยพิบัตเิ ชา่ บ้านเรือนของผูอ้ นื่ และบ้านเชา่ เสียหายจากภยั พบิ ตั ิทั้งหลงั หรอื เสียหายบางสว่ นจนอยอู่ าศยั ไม่ได้ ใหช้ ่วยเหลอื เปน็ ค่าเชา่ บ้านแกผ่ ้ปู ระสบภยั พบิ ตั ิ เทา่ ที่จา่ ยจริง ในอัตราครอบครัวละไม่เกินเดือนละ 1,700 บาท เป็นเวลาไมเ่ กนิ 2 เดอื น 5.1.8 ค่าดัดแปลงสถานท่ีสาหรบั เปน็ ที่พกั ช่ัวคราว เท่าท่ีจา่ ยจริง ครอบครวั ละ ไมเ่ กนิ 2,200 บาท หรอื คา่ ผ้าใบหรอื ผ้าพลาสตกิ หรอื วสั ดอุ นื่ ๆ สาหรบั กันแดดกันฝน เทา่ ท่จี า่ ยจริง ครอบครวั ละไม่เกนิ 900 บาท 5.1.9 ค่าใชจ้ ่ายทสี่ ่วนราชการจดั หาสาธารณปู โภคในทพ่ี ักชว่ั คราว (1) คา่ ไฟฟาู ใหเ้ ปน็ ไปตา มทีก่ ารไฟฟาู นครหลวงหรอื การไฟฟูา ส่วนภมู ิภาคจะเรยี กเก็บ สาหรับกรณที ่ีทอ้ งที่น้ันไม่มีไฟฟูา ให้จดั อปุ กรณ์แสงสว่างอ่ืน ๆ ทดแทนได้ เทา่ ที่จา่ ยจรงิ ตามความจาเปน็ (2) จดั หาน้าบรโิ ภคและใชส้ อยจากหนว่ ยงานทจี่ ังหวดั และอาเภอ มอี ยู่ เช่น การประปาสว่ นภูมิภาค การประปานครหลวง หน่วยดับเพลงิ เทศบาล เปน็ ต้น หรือจดั ซ้ือ
อปุ กรณบ์ รรจุนา้ ตามความจาเป็นของจานวนผูป้ ระสบภัยพบิ ตั ิ รวมท้งั การจดั ซื้อเพือ่ บรโิ ภคใช้สอย เทา่ ที่ จา่ ยจรงิ ตามความจาเป็น (3) จัดสร้างหรอื จดั หาหอ้ งน้า ห้องส้วม 1 ท่ีตอ่ 10 คน เทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ เฉลย่ี ทล่ี ะไม่เกนิ 1,500 บาท (4) จัดสรา้ งท่ีรองรับ ทาลาย หรือกาจัดขยะมูลฝอย เทา่ ท่จี ่ายจริง ตามความจาเปน็ 5.1.10 คา่ เครือ่ งนงุ่ หม่ รายละไมเ่ กิน 1,000 บาท 5.1.11 ค่าเคร่อื งมอื ประกอบอาชีพ และหรอื เงินทุนสาหรับผู้ประ สบภัยพิบัติ ที่เปน็ อาชีพหลกั ในการหาเล้ยี งครอบครัวของผปู้ ระสบภัยพบิ ัติ เท่าท่จี ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 11,000 บาท 5.1.12 คา่ ช่วยเหลอื ผู้บาดเจ็บ (1) กรณีบาดเจ็บสาหสั ท่ีต้องรกั ษาในสถานพยาบาลตั้งแต3่ วนั ข้นึ ไป ใหจ้ ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องตน้ เป็นเงนิ จานวน 3,000 บาท (2) กรณีบาดเจบ็ จนถึงข้ันพิการไม่สามารถประกอบอาชีพตามปกติ ได้ ใหช้ ว่ ยเหลือเบอ้ื งต้นเปน็ เงนิ จานวน 10,000 บาท (3) กรณีภยั พบิ ัตทิ ่ีเปน็ สาธารณภัยขนาดใหญ่หรอื รนุ แรงเปน็ ท่ี สะเทอื นขวัญของประช าชนท่ัวไป ให้จา่ ยเงนิ และหรอื สงิ่ ของปลอบขวญั ผทู้ ีไ่ ด้รับบาดเจ็บทรี่ กั ษาตวั ใน สถานพยาบาลรายละไมเ่ กนิ 2,000 บาท 5.1.13 คา่ จัดการศพผู้เสยี ชวี ิต รายละไม่เกิน 25,000 บาท และในกรณี ผ้ปู ระสบภัยที่เสยี ชวี ิตเปน็ หัวหนา้ ครอบครัวหรอื เปน็ ผู้หารายได้ เล้ียงดคู รอบครัว ใหพ้ จิ ารณาช่วยเหลือ เงินสงเคราะห์ครอบครวั อีกไม่เกนิ 25,000 บาท 5.1.14 กรณีอากาศหนาวมีอณุ หภมู ติ ่ากวา่ 15 องศาเซลเซยี ส และมชี ่วงเวลา อากาศหนาวยาวนานตดิ ต่อกันเกนิ 3 วนั ใหจ้ ่ายคา่ จดั ซอ้ื เครื่องกันหนาวสงเคราะห์ ราษฎรไดเ้ ทา่ ท่จี ่ายจรงิ คนละไมเ่ กิน240 บาท ทงั้ น้ี จังหวัดหนงึ่ ไมเ่ กนิ งบประมาณปีละ1,000,000 บาท 3.6 แนวทางปฏบิ ตั ิในการให้ความช่วยเหลือประชาชนกรณีเกดิ สาธารณภัยขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถน่ิ การซกั ซอ้ มตามหนังสือจงั หวดั ที่ มท 0823.3/ว 3671 ลงวนั ที่ 11 พฤศจิกายน 2547 ซักซ้อม ตามหนังสือกรมการปกครอง ด่วนมาก ที่ มท 0313.4/ว 667 ลงวนั ท่ี 12 มีนาคม 2545 องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ เปน็ หนว่ ยงานท่ีอยใู่ กล้ชิดกับประชาชนได้รบั รถู้ งึ ปัญหาความตอ้ งการ ของประชาชน และมีงบประมาณของตนเองท่ีสามารถใหก้ ารชว่ ยเหลือประชาชนไดอ้ ย่างรวด เร็ว จงึ ขอ ซกั ซ้อมแนวทางปฏิบัติในการให้ความช่วย-เหลือประชาชนกรณเี กิดสาธารณภัย ดงั นี้ 1. การจัดเตรยี มงบประมาณก่อนเกดิ เหตุ 1.1 ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นพจิ ารณาต้ังงบประมาณรายจ่ายประเภทเงินสารอง จ่ายใหเ้ พียงพอต่อการเผชญิ เหตสุ าธารณภยั ตลอดปแี ละ ให้นาเงินสารองจ่ายไปใช้จ่ายเพื่อกรณีฉกุ เฉินท่ีมี สาธารณภยั เกดิ ข้นึ หรือบรรเทาปญั หาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนเปน็ ส่วนรวมเทา่ นน้ั 1.2 จัดต้งั งบประมาณเพอื่ ปอู งกนั สาธารณภยั ไวล้ ่วงหนา้ เช่น ขดุ ลอกคูคลอง ทานบ เหมือง ฝาย เพอ่ื ใหส้ ามารถเก็บกักนา้ ไว้ใช้เพ่ื อการเกษตรในช่วงฤดูแลง้ จัดทาถงั น้า โอ่งน้า ใหแ้ ก่ราษฎร
เพอื่ เกบ็ กกั น้าสาหรับการบริโภค ตง้ั งบประมาณเพอ่ื การจดั หาผ้าห่ม ยารกั ษาโรค สาหรบั กรณีเกิดภยั หนาว ตัง้ งบประมาณเปน็ คา่ วสั ดุนา้ มนั เช้อื เพลิงและหล่อล่ืนสาหรับรถยนต์ของหนว่ ยงานราชการตา่ ง ๆ ท่ี นานา้ หรอื เครอ่ื งอปุ โภค บรโิ ภค ไปแจกจา่ ยราษฎรตามท่หี น่วยงานนั้นร้องขอ เปน็ ต้น 1.3 จัดทาแผนงานโครงการและจัดต้งั คณะกรรมการใหค้ วามช่วยเหลือประชาชนตาม หลักเกณฑ์ว่าดว้ ยการตั้งงบประมาณ เพ่อื การชว่ ยเหลือประชาชนตามอานาจหน้าทขี่ ององคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ 1.4 ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ไดพ้ ิจารณากาหนดวงเงนิ ที่ผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ สามารถยืมเงินสะสม ไปใช้ในกรณฉี ุกเฉนิ ทมี่ ีสาธารณภยั เกิดข้นึ ไว้เป็นการลว่ งหนา้ ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการ รับเงิน การเบกิ จา่ ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององค์กรปกครอ งสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. 2541 ข้อ 82 วรรคสอง 2. การให้ความช่วยเหลอื ในขณะเกิดเหตุ 2.1 ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นพจิ ารณานาเงินสารองจา่ ยซึง่ ได้ต้งั งบประมาณไว้แล้ว ไปใช้จ่าย เป็นลาดบั แรก หากเงินสารองจา่ ยมีไม่เพยี งพอกอ็ าจโอนงบประมาณทเี่ หลือจ่าย หรอื ยังไม่มี ความจาเป็นตอ้ งใช้จา่ ยไปเพอื่ จา่ ยได้โดยอนมุ ัติของคณะผบู้ ริหารท้องถน่ิ ตามระเบียบงบประมาณ ฯ ข้อ 26 2.2 จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์ เพื่อแจกจา่ ยใหก้ บั ราษฎรที่ไดร้ ับความเดอื ดร้อนตามง บประมาณ ท่ีได้ตง้ั งบประมาณไว้ ตามระเบียบพสั ดุที่เกีย่ วขอ้ งโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงอาจจดั หาโดยวิธีตกลงราคา ในกรณี ขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เทศบาล และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ในวงเงินครั้งละไม่เกนิ 100,000 บาท โดยให้เจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดหุ รือเจ้าหนา้ ทที่ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย ดาเนนิ การซ้ือหรือจ้างไปกอ่ นแลว้ รีบ รายงานขอความเหน็ ชอบตอ่ ผสู้ ่งั ซื้อสงั่ จา้ ง ตามระเบียบพสั ดฯุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ น้ัน ๆ ท้งั น้ี อัตราคา่ ใชจ้ า่ ยให้ถอื ปฏิบัตโิ ดยอนโุ ลมตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ดี าเนินการเกี่ยวกบั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉิน 2.3 หากมงี บประมาณไมเ่ พยี งพอแก่การใชจ้ า่ ยเพื่อการชว่ ยเหลือประชาชน องคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ กอ็ าจยมื เงนิ สะสมในส่วนทีเ่ ก็บรกั ษาไว้ไปดาเนินการแก้ไขปัญหาฉกุ เฉินทมี่ สี าธารณ ภยั เกิดข้ึนตามวงเงนิ ทีผ่ ู้ว่าราชการจงั หวัดกาหนด ซ่ึงอานาจอนมุ ตั เิ ป็นของผบู้ รหิ ารท้องถ่ิ นตามระเบยี บ กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการรบั เงิน การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงินขององคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ พ .ศ. 2541 ข้อ 82 วรรคสอง ทั้งน้ี จะตอ้ งกนั เงินสะสมไว้ สาหรับจา่ ยเปน็ เงินเดอื นค่าจ้าง คา่ ตอบแทนไมน่ อ้ ยกว่าสามเดอื นและตอ้ งตั้งงบประมาณชดใช้เงนิ ยื มสะสมให้ครบถว้ นในคราวตรา งบประมาณรายจ่ายครง้ั ต่อไปหรอื ในปงี บประมาณถัดไปดว้ ย 2.4 สาหรับการจัดหาน้าสะอาด เพื่อชว่ ยเหลอื ประชาชนในการบริโภค องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิ่นสามารถจัดหานา้ สะอาด ตรลอดจนวสั ดุ อปุ กรณ์ หรอื ครุภัณฑ์ สาหรบั ผลิตนา้ สะอาด เพ่ือ บรกิ ารประชาชนโดยไม่คิดมลู คา่ ตามหนงั สือกรมการปกครอง ด่วนที่สดุ ที่ มท 0313.4/ว 2305 ลงวันท่ี 4 ตลุ าคม 2543 และกรณีหนว่ ยราชการตา่ ง ๆ นาน้าหรอื เครือ่ งอุปโภค บรโิ ภค ไปแจกจ่ายราษฎรกใ็ ห้ พิจารณาสนบั สนุนงบประมาณเปน็ คา่ วสั ดุนา้ มันเชื้อเพลิงและหล่อลน่ื ตามที่หนว่ ยงานน้นั ร้องขอดว้ ย
3. การใหค้ วามช่วยเหลอื หลังเกิดเหตุ 3.1 ให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนินการชว่ ยเหลอื ประชาชน กรณีเกดิ สาธารณภยั เพื่อสารวจปัญหาความเดอื ดรอ้ นและความตอ้ งการของประชาชน 3.2 กรณที ี่ยังมคี วามจาเปน็ ตอ้ งดาเ นนิ การ เพื่อแกไ้ ขปญั หาความเดือดร้อนของ ประชาชนท่ีประสบสาธารณภยั ตอ่ ไป ใหต้ รวจสอบงบประมาณรายจา่ ยในปจั จุบนั วา่ ยังมงี บประมาณ เพ่อื การช่วยเหลอื ประชาชนผู้ประสบสาธารณภัยอกี หรอื ไมห่ ากมไี ม่เพียงพอให้พจิ ารณาโอน /แกไ้ ข เปลี่ยนแปลงงาน โครงการท่มี ีความจาเปน็ นอ้ ยกวา่ มาดาเ นินการแกไ้ ขปญั หาความเดือดรอ้ นของ ประชาชน 3.3 ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ประสานกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ท่ีใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนในพน้ื ที่ เพอื่ มใิ ห้เกดิ ความซา้ ซ้อนในด้านของภารกิจและวสั ดุ อปุ กรณ์ทน่ี าไปช่วยเหลอื ผลทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาตามแนวคดิ และทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้องข้างตน้ สรุปได้วา่ ในการให้ ความชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยในเบ้ืองตน้ โดยใชง้ บประมาณขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ นนั้ นาไปสู่ สมมตุ ิฐานเกยี่ วกับความสัมพันธ์ระ หวา่ งงบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ กับการให้ ความ ช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั ในเบอ้ื งตน้ ไดว้ า่ สมมตฐิ านที่เกี่ยวข้องกบั การศกึ ษา ประกอบด้วย 1) ตัวแปรอิสระ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ตาแหน่ง ประสบการณ์ปฏิบตั ิงาน ระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน ระดับการศึกษา และปจั จัยจากการได้รบั การสนบั สนนุ ด้านตา่ ง ๆ เชน่ ด้านงบประมาณ มผี ลตอ่ ตัวแป ร ตาม 2) ตวั แปรตาม ได้แก่ ความสาเรจ็ ในการ ใหค้ วามช่วยเหลือเพอื่ บรรเทาความเดอื ดรอ้ นใหแ้ ก่ ผู้ประสบภยั ในเบือ้ งตน้ โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา ตวั แปรตาม ตัวแปรอสิ ระ ปจั จยั ส่วนบุคคล ได้แก่ ความสาเรจ็ ในการใหค้ วามชว่ ยเหลือ ๑. เพศ เพื่อบรรเทาความเดอื ดรอ้ นให้แก่ ๒. อายุ ผู้ประสบภยั ในเบือ้ งตน้ โดยใช้ ๓. ตาแหน่ง งบประมาณขององค์กรปกครองสว่ น ๔. ประสบการณ์ทางาน ท้องถนิ่ ๕. ระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน ๖. ระดบั การศกึ ษา ปจั จัยจากการบรหิ าร จัดการงบประมาณ - งบประมาณ ภาพที่ 2.1 : ความสัมพนั ธ์ระหว่าง งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ กับการใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยในเบ้อื งตน้
กรอบแนวคดิ ข้างตน้ แสดงถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่าง งบประมาณขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น กับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเบอื้ งต้น ภายใตแ้ นวความคดิ แนวคิดเก่ียวกบั ความรเู้ ร่อื งการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของแผน ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ.2553-2557 และงานวจิ ัยเร่อื งการปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ และ อานาจหน้าท่ขี องกานันและผู้ใหญบ่ า้ น ของกลุ่มงานผลิตเอกสาร สานกั ประชาสมั พันธ์ สานกั งาน เลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
บทท่ี 3 ระเบยี บวิธวี จิ ยั เนือ้ หาของบทเป็นการอธิบายถึงวธิ กี ารวจิ ัยสาหรับการศกึ ษาในคร้งั น้ี ซึ่งใช้การวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณ ประกอบด้วย ประชากรและตวั อยา่ ง เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การแปรผลข้อมลู และวิธกี ารทางสถิติสาหรับใชใ้ นการวเิ คราะห์และการทดสอบสมมตุ ิฐานเรื่องความสั มพนั ธร์ ะหว่างตัวแปร ทีก่ าหนดขนึ้ 1. ประชากร ประชากรท่ใี ช้ศึกษา คือ เจา้ หน้าทีข่ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในเขตพื้นท่จี งั หวัดสมทุ รสาคร ทุกแห่งๆ ละ 2 คน ประกอบดว้ ยเจ้าหนา้ ท่ีจากสานักปลัดเทศบาล หรอื สานักปลัดองคก์ ารบรหิ ารส่วน ตาบล จานวน 1 คน และเจ้าหน้าท่งี านปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั จากเทศบาลหรือ องคก์ ารบรหิ าร สว่ นตาบล จานวน 1 คน รวมท้งั สิน้ จานวน 74 คน ผทู้ าวจิ ยั ไดด้ าเนนิ การเกยี่ วกับการเลอื กตัวอยา่ ง ดังน้ี 1. หาจานวนของกลุม่ ประชากรทง้ั หมด ซ่งึ เปน็ เจ้าหน้าทข่ี ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในเขต พนื้ ทจ่ี ังหวัดสมุทรสาครจานวน 37 แห่ง แหง่ ละ 2 คน รวมจานวนทั้งหมด 74 คน 2. กาหนดขนาดตัวอย่างจากตารางสาเร็จรปู และได้จานวน 74 คน 3. จดั แบ่งตัวอยา่ งเป็นกลุ่มยอ่ ยโดยใช้เกณฑ์การแบ่งเป็น 2 กลมุ่ 4. จดั สดั สว่ นของจานวนตัวอยา่ งแต่ละกลมุ่ ดงั ต่อไปนี้ (1) กล่มุ เจ้าหนา้ ท่จี ากสานกั ปลัดเทศบาล และสานกั ปลัดองค์การบริหารสว่ นตาบล จานวน 37 แหง่ แหง่ ละ 1 คน รวม 37 คน (2) กลุ่มเจา้ หนา้ ที่งานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยจากเทศบาลหรือ องค์การบริหารส่วน ตาบล จานวน 37 แห่ง แห่งละ 1 คน รวม 37 คน 2. เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศึกษา ผวู้ ิจยั ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมอื เพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากตวั อย่าง โดยมรี ายละเอียดเก่ียวกับ การสร้างแบบสอบถามเป็นขัน้ ตอนดังนี้ 1. ศกึ ษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร งานวจิ ยั และทฤษฎีทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. สร้างแบบสอบถามเพ่ือถามความคิดเหน็ ในประเดน็ ต่างๆ จานวน 3 ประเดน็ ประกอบดว้ ย (1) ข้อมลู ท่วั ไปเกีย่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม (2) ความคดิ เหน็ ที่เก่ียวข้องกบั ปัจจัยทม่ี ีอทิ ธิพลต่อความสาเร็จในการใหค้ วามช่วยเหลือ ผู้ประสบภยั ในเบอ้ื งต้น (3) ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 3. นาแบบสอบถามทไ่ี ดส้ ร้างข้นึ มาเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือปรบั ปรงุ แก้ไข 4. ทาการปรบั ปรงุ แกไ้ ขและนาเสนอใหอ้ าจารยท์ ี่ปรกึ ษาตรวจสอบความถกู ตอ้ งอกี ครั้งหน่งึ เพื่อใหอ้ าจารย์ท่ีปรกึ ษาอนมุ ัติกอ่ นแจกแบบสอบถาม 5. แจกแบบสอบถามไปยงั ตวั อย่าง
3. การตรวจสอบเครื่องมอื การตรวจสอบเนื้อหา ผวู้ จิ ยั ไดน้ าเสนอแบบสอบถามที่ไดส้ รา้ งขึ้นต่ออาจารย์ท่ปี รกึ ษาเพื่อ ตรวจสอบความครบถว้ นและความสอดคล้องของเนอื้ หาของแบบสอบถามทีต่ รงกับเร่ืองท่จี ะศกึ ษา 4. องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม ผทู้ าวจิ ัยไดอ้ อกแบบสอบถามซึง่ ประกอบดว้ ย 3 ส่วนพร้อมกบั วธิ กี ารตอบคาถามดังต่อไปน้ี คอื สว่ นท่ี 1 เปน็ คาถามเกี่ยวกับข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบคาถาม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ตาแหน่ง ประสบการณเ์ ก่ยี วกับการให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยในเบอื้ งต้น ระยะเวลาการปฏิบัตงิ านด้านการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภยั ในเบอ้ื งต้น และระดับการศกึ ษา เป็นคาถามเลือกตอบ จานวน 6 ขอ้ ลักษณะ คาถามเปน็ คาถามปลายปิดแบบใหเ้ ลือกตอบ ส่วนที่ 2 เป็นคาถามเกี่ยวกบั ความคดิ เห็นท่เี กย่ี วข้องกบั ปัจจยั ทม่ี ีอิทธพิ ลตอ่ ความสาเรจ็ ในการให้ ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ในเบือ้ งตน้ ลักษณะเปน็ คาถามปลายปิดโดยคาถามแบ่งเปน็ 5 ระดบั ตง้ั แต่ นอ้ ยที่สุดถงึ มากทสี่ ุด แยกเป็น 2 ดา้ น ได้แก่ (1) ความสาเร็จด้านการบริหารจดั การงบประมาณ มจี านวน 5 ข้อ (2) ความสาเรจ็ ดา้ นการบริหารจัดการดา้ นบุคลากร มจี านวน 5 ขอ้ สว่ นท่ี 3 ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะเพอื่ ปรับปรุงการบริหารจดั การการใหค้ วามช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภยั ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ เปน็ คาถามปลายเปดิ ที่ใหผ้ ตู้ อบแบบสอบถามระบุปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขต่อความสาเรจ็ ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั และด้าน อื่นๆ ตามความคดิ เหน็ ของผ้ตู อบแบบสอบถาม 5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจยั ได้ดาเนินการเกบ็ ข้อมลู ตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี คอื 1. ผวู้ จิ ัยอธิบายรายละเอยี ดเกยี่ วกับเนอื้ หาภายในแบบสอบถามและวิธกี ารตอบแกต่ วั แทนและ ทีมงาน 2. ผู้วิจัยหรอื ตัวแทนและทมี งาน เข้าไปในสถานที่ต่างๆท่ีต้องการศกึ ษาตามท่รี ะบไุ ว้ขา้ งต้น 3. ผูว้ จิ ยั หรือตัวแทนและทมี งาน ไดแ้ จกแบบสอบถามใหก้ ล่มุ เปาู หมายและรอจนกระทง่ั ตอบ คาถามครบถว้ น ซง่ึ ในระหว่างนัน้ ถา้ ผตู้ อบมขี อ้ สงสยั เกย่ี วกับคาถาม ผูว้ ิจยั หรือทีมงานจะตอบขอ้ สงสยั น้นั
6. การแปรผลขอ้ มูล ผทู้ าวจิ ัยไดก้ าหนดคา่ อนั ตรภาคชั้น สาหรบั การแปลผลขอ้ มูลโดยคานวณคา่ อันตรภาคช้นั เพ่ือ กาหนดช่วงชนั้ ดว้ ยการใช้สตู รคานวณและคาอธิบายสาหรับแต่ละชว่ งชั้น ดังนี้ อันตรภาคชนั้ = ค่าสูงสดุ – ค่าต่าสุด จานวนช้นั ชว่ งชัน้ 1.00 – 1.80 = 5 – 1 = 0.80 1.81 – 2.61 5 2.62 – 3.42 คาอธิบายสาหรับการแปลผล 3.43 – 4.23 ระดบั นอ้ ยท่ีสดุ 4.24 – 5.00 ระดับนอ้ ย ระดบั ปานกลาง/ระดับ ระดับมาก ระดบั มากท่สี ดุ 7. การวิเคราะห์ข้อมลู ขอ้ มูลทไี่ ด้จากแบบสอบถาม ผวู้ จิ ยั ไดน้ ามาวิเคราะห์ ประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ และรวบรวม คะแนนทั้งหมดเพื่อหาคา่ เฉลย่ี (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของกลุ่ม ตัวอย่าง โดยใชก้ ารองิ เกณฑ์ท้ังในกรณกี ารแปลความขอ้ มลู ตามรายขอ้ และในภาพรวมโดยผ้วู จิ ัยจะแบ่ง เกณฑ์ในการวัดครง้ั น้ีออกเป็น 5 ระดบั ดงั น้ี 1.00 – 1.80 ระดบั น้อยท่ีสุด 1.81 – 2.61 ระดบั นอ้ ย 2.62 – 3.42 ระดับปานกลาง/ระดับ 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดับมากทสี่ ดุ รวมทั้งวเิ คราะห์ข้อมูลเก่ยี วกับปจั จยั ส่วนบุคคลกบั ตัวแปร ความสาเรจ็ ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั ในเบอ้ื งตน้ โดยใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึง่ ใชส้ ถติ ิเชงิ พรรณนา ไดแ้ ก่ คา่ เฉล่ีย ส่วนคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน จาแนกเสนอเปน็ ตารางของตวั แปรแต่ละดา้ น พร้อมวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บการบริหารจดั การในการใหค้ วามช่วยเหลือผ้ปู ระสบภยั ในพืน้ ทจี่ ังหวดั สมุทรสาคร ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากส่วนท่ี 3 ปัญหา อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ ซ่งึ เป็นแบบสอบถามปลายเปดิ ใช้การ วเิ คราะหเ์ น้อื หา (Content Analysis) นาเสนอในรปู ความเรียง และหาค่าความถีข่ องแตล่ ะประเดน็ แลว้ จัดลาดับความสาคัญ
บทท่ี4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล บทนี้เป็นการวิเคราะห์ขอ้ มลู เพ่ือการอธิบายและการทดสอบสมมุตฐิ านท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ตัวแปร แต่ละตวั ซงึ่ ขอ้ มูลดงั กล่าวผู้วิจัยไดเ้ ก็บรวบรวมจากแบบสอบถามทม่ี คี าตอบครบถ้วนสมบรู ณ์ จานวน ท้ังสน้ิ 74 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ของจานวนแบบสอบถามท้ังหมด 74 ชุด ผลการวิเคราะห์แบ่งออกเปน็ 2 สว่ นประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 เปน็ ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 เปน็ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความสาเร็จในการให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ในเบื้องต้น ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม ตาราง 4.1 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ เพศ จานวน (คน) ร้อยละ ชาย 56 75.68 หญิง 18 24.32 รวม 74 100.00 จากตารางท่ี 4.1 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถาม เปน็ เพศชาย จานวน 56 คน คิดเปน็ ร้อยละ 75.68 และเพศหญงิ จานวน 18 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.32 ตารางท่ี 4.2 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ อายุ (ป)ี จานวน (คน) ร้อยละ 20 – 29 15 20.27 30 – 39 27 36.49 40 -49 16 21.62 50 – 59 16 21.62 74 100.00 รวม จากตารางท่ี 4.2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มอี ายุ 20 – 29 ปี จานวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 20.27 อายุ 30 – 39 ปี จานวน 27 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.49 อายุ 40 – 49 ปี จานวน 16 คน คดิ เป็น ร้อยละ 21.62 และอายุ 50 – 59 ปี จานวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 21.62
ตารางท่ี 4.3 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามตาแหนง่ ตาแหน่ง จานวน (คน) ร้อยละ ขา้ ราชการ 51 68.92 ลูกจา้ งประจา 15 20.27 พนักงานราชการ 8 10.81 รวม 74 100.00 จากตารางท่ี 4.3 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถาม เปน็ เจ้าหนา้ ทีส่ านักปลดั จานวน 37 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 เจ้าหนา้ ท่งี านปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย จานวน 37 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 ซึ่งแยกเปน็ ข้าราชการ จานวน 51 คน คดิ เป็นร้อยละ 68.92 ลูกจา้ งประจา จานวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ย ละ20.27 และพนกั งานราชการ จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 10.81 ตารางที่ 4.4 แสดงจานวนของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์ ประสบการณ์ จานวน (เคย) รอ้ ยละ มีประสบการณ์ 74 100 รวม 74 100.00 จากตารางที่ 4.4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ท้ัง 74 คนเคยมีประสบการณเ์ ก่ียวกับการให้ความ ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั ตารางท่ี 4.5 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระยะเวลาท่ที างาน ระยะเวลา (ป)ี จานวน (คน) รอ้ ยละ 1–3 14 18.91 4–6 19 25.68 7–9 19 25.68 10 ปขี ึน้ ไป 22 29.73 รวม 74 100.00 จากตารางท่ี 4.5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีระยะเวลาการทางาน 1 – 3 ปี จานวน 14 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.91 เวลา 4 – 6 ปี จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 25.68 เวลา 7 – 9 ปี จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 25.68 และ 10 ปีข้ึนไป จานวน 22 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.73
ตารางที่ 4.6 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั การศึกษา ระดบั การศึกษา จานวน (คน) ร้อยละ ต่ากว่าปริญญาตรี 30 40.54 ปริญญาตรี 33 44.60 ปรญิ ญาโท 11 14.86 รวม 74 100.00 จากตารางที่ 4.6 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถาม จบการศกึ ษาต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน 30 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.54 จบปรญิ ญาตรี จานวน 33 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.60 และปริญญาโท จานวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.86 สว่ นท่ี 2 ข้อมลู เก่ียวกับ ความสาเร็จในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ในเบ้ืองต้น ขององคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในพน้ื ที่จังหวดั สมุทรสาคร ตารางที่ 4.7 แสดงคา่ เฉลยี่ ( ������ ) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ( S.D) ความสาเรจ็ ในการให้ ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั ในเบอ้ื งตน้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในพ้นื ที่จงั หวัดสมุทรสาคร รวมทุก ดา้ น ความสาเร็จ ������ S.D แปรผล ดา้ นการบรหิ ารจัดการงบประมาณ 4.10 0.52 มาก ดา้ นการบริหารจัดการด้านบคุ ลากร 4.06 0.58 มาก รวม 4.08 0.55 มาก จากตารางที่ 4.7 พบว่าประชากรกลุม่ ตวั อย่างมีความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ความสาเรจ็ ในการชว่ ยเหลือ ผูป้ ระสบภัยในเบ้ืองตน้ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในพนื้ ที่จังหวัดสมทุ รสาคร โดยรวมทั้ง 2 ดา้ น อยู่ ในระดบั มาก เม่อื พจิ ารณาจากคา่ เฉล่ยี ได้แก่ ดา้ นการบริหารจดั การงบประมาณ และด้านการบริหาร จัดการด้านบุคลากร ตามลาดบั
ตารางที่ 4.8 แสดงค่าเฉล่ยี ( ������ ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( S.D ) ความสาเร็จในการให้ ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยในเบือ้ งต้นขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ในพ้ืนทจ่ี ังหวดั สมุทรสาคร ดา้ น การบรหิ ารจดั การงบประมาณ ความสาเรจ็ ดา้ น ������ S.D. แปรผล การบรหิ ารจดั การงบประมาณ 4.03 0.40 มาก 1. งบประมาณของหนว่ ยงานทีต่ ง้ั ไว้ สาหรบั การให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั ในเบอ้ื งตน้ มคี วามเพียงพอ 2. ข้ันตอนและวธิ ีการเบกิ จา่ ยงบประมาณ 4.30 0.51 มากทีส่ ดุ เกีย่ วกับการให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ใน เบอื้ งตน้ มคี วามรวดเรว็ ทันเวลา 3. กรณีเกิดเหตุสาธารณภยั ขึ้นในพน้ื ที่ หนว่ ยงานของท่านสามารถดาเนินการให้ความ 4.09 0.47 มาก ช่วยเหลือได้อยา่ งทันท่วงที 4. ในการเบิกจ่ายงบประมาณเพอื่ ใหค้ วาม ช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัยในเบอ้ื งต้นของหน่วยงาน ท่าน ถูกตอ้ งและเป็นไปตามระเบียบของ 4.04 0.68 มาก ราชการ 5. หน่วยงานทา่ นมีการตัง้ งบประมาณ สาหรับ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยในแตล่ ะ 4.03 0.54 มาก ปีงบประมาณ รวม 4.10 0.52 มาก จากตารางที่ 4.8 พบวา่ ประชากรกลมุ่ ตัวอยา่ งมคี วามคดิ เหน็ เก่ียวกับความสาเร็จในการบริหาร จดั การการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเบื้องต้น โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ในพ้ืนท่จี งั หวดั สมุทรสาคร ดา้ นงบประมาณ โดยรวมเฉลยี่ อยใู่ นระดบั มาก เรยี งลาดบั จากค่ าเฉล่ยี สูงสดุ คอื ขั้นตอนและวิธีการเบกิ จ่ายงบประมาณเกี่ยวกบั การ ใหค้ วามชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั ในเบอื้ งตน้ มคี วาม รวดเร็วทันเวลา กรณเี กดิ เหตสุ าธารณภัยขึ้นในพื้นท่ี หน่วยงานของท่านสามารถ ดาเนนิ การใหค้ วาม ช่วยเหลือไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที ในการเบกิ จา่ ยงบประมาณเพือ่ ให้ความ ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยในเบอื้ งตน้ ของ หน่วยงานทา่ น ถกู ตอ้ งและเป็นไปตามระเบยี บของราชการ งบประมาณของหนว่ ยงานทตี่ ัง้ ไว้ สาหรับ การ ให้ความชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัยในเบ้อื งต้น มีความเพยี งพอ และหน่วยงานทา่ นมกี ารต้งั งบประมาณ สาหรับ การใหค้ วามช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในแตล่ ะปีงบประมาณ ตามลาดบั
ตารางที่ 4.9 แสดงค่าเฉล่ยี ( ������ ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( S.D) ความสาเรจ็ ในการให้ ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในเบอ้ื งต้นขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ในพนื้ ท่ีจังหวัดสมทุ รสาคร ด้าน การบรหิ ารจัดการดา้ นบุคลากร ความสาเรจ็ ดา้ นบุคลากร ������ S.D แปรผล 6. จานวนเจ้าหน้าทที่ ี่ปฏบิ ัตงิ านในการใหค้ วาม 4.09 0.54 มาก ชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัยของหน่วยงานท่าน มี จานวนเพียงพอ 7. เจา้ หนา้ ทใี่ นหน่วยงาน มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรอื่ งระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย 4.08 0.63 มาก การงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วน ท้องถน่ิ พ.ศ. 2541 8. เจา้ หน้าทใี่ นหนว่ ยงาน มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการ 4.03 0.59 มาก รบั เงินฯ และการตรวจเงนิ ขององค์กรปกครอง สว่ นท้องถน่ิ พ.ศ. 2547 9. เจ้าหนา้ ทใ่ี นหน่วยงาน มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรือ่ งของหลักเกณฑก์ ารใหค้ วามช่วยเหลอื 4.05 0.54 มาก ผ้ปู ระสบภยั พิบัตกิ รณีฉกุ เฉิน พ.ศ. 2556 10. เจา้ หน้าทใี่ นหนว่ ยงาน สามารถจัดทา เอกสารการเบิกงบประมาณเพื่อใหค้ วาม 4.04 0.58 มาก ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบัตไิ ด้อย่างถูกตอ้ งตาม ระเบียบของทางราชการทุกขัน้ ตอน รวม 4.06 0.58 มาก จากตารางที่ 4.9 พบว่า ประชากรกลมุ่ ตัวอย่างมีความคิดเห็นเกีย่ วกับความสาเรจ็ ในการบรหิ าร จดั การการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในเบอื้ งต้น โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในพนื้ ทจี่ ังหวดั สมุทรสาคร ดา้ นงบประมาณ โดยรวมเฉลย่ี อยู่ในระดบั มาก เรียงลาดบั จากค่าเฉลี่ยสงู สุด คอื จานวนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบตั งิ าน ในการให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภัยของหนว่ ยงานท่าน มจี านวน เพยี งพอ เจา้ หนา้ ที่ ในหน่วยงาน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเรอื่ งระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การงบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ .ศ. 2541 และหลกั เกณฑ์การใหค้ วามช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบตั ิกรณฉี ุกเฉนิ พ .ศ. 2556 ทาใหเ้ จ้าหน้าที่ในหน่วยงาน สามารถจดั ทาเอกสารการเบิก งบประมาณเพือ่ ใหค้ วามชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภัยพบิ ตั ิได้อย่างถูกต้องตามระเบยี บของทางราชการทกุ ขัน้ ตอน และ เจา้ หน้าที่ในหนว่ ยงาน มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรือ่ งระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการ รบั เงนิ ฯ และการตรวจเงนิ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2547 ตามลาดับ
บทที่ 5 สรปุ และอภปิ รายผล บทน้เี ป็นการสรปุ ผลการศึกษา ผลการทดสอบสมมุติฐาน การอภิปรายผลของการศกึ ษา เปรียบเทียบกบั แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ ก่ี ยวข้องที่ผู้วจิ ัยได้ทาการสบื ค้นและนาเสนอไว้ในบทท่ี 2 การนาผลการศึกษาไปใช้ในทางปฏบิ ตั แิ ละข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจัยครั้งตอ่ ไป สรปุ ผลการศกึ ษา ผลการศึกษาดา้ นคุณสมบตั ิของผตู้ อบแบบสอบถาม และผลสรุปตามวตั ถปุ ระสงค์มีดังน้ี จากการเก็บขอ้ มลู จากกลุม่ ตวั อยา่ ง พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นเพศชาย จานวน 56 คน คดิ เป็นร้อยละ 75.68 และเพศหญงิ จานวน 18 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.32 มีอายุ 20 – 29 ปี จานวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.27 อายุ 30 – 39 ปี จานวน 27 คน คดิ เป็นร้อยละ 36.49 อายุ 40 – 49 ปี จานวน 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 21.62 และอายุ 50 – 59 ปี จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 21.62 เป็นเจ้าหนา้ ที่ สานักปลดั เทศบาล/อบต. จานวน 37 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 เจ้าหนา้ ทง่ี านปอู งกันและบรรเทาสา ธารณภัย จานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ซึง่ แยกเปน็ ข้าราชการ จาน วน 51 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 68.92 ลกู จ้างประจา จานวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 20.27 และพนกั งานราชการ จานวน 8 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 10.81 ทกุ คนเคยมปี ระสบการณเ์ กี่ยวกับการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย และมรี ะยะเวลาการ ทางาน 1 – 3 ปี จานวน 14 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.91 เวลา 4 – 6 ปี จานวน 19 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.68 เวลา 7 – 9 ปี จานวน 19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 25.68 และ 10 ปีข้นึ ไป จานวน 22 คน คดิ เปน็ ร้อย ละ 29.73 จบการศึกษาตา่ กวา่ ปริญญาตรี จานวน 30 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.54 จบปรญิ ญาตรี จานวน 33 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 44.60 และปรญิ ญาโท จานวน 11 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.86 ในการศึกษาวิจยั เร่อื ง การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการให้ความช่วยเหลอื เพอื่ บรรเทาความเดือดรอ้ น ใหแ้ ก่ผู้ประสบภัยในเบื้องตน้ โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน กรณศี ึกษา : องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่นิ ในพนื้ ที่จังหวัดสมุทรสาคร มีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื ศึกษาระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจของ เจ้าหนา้ ท่ี จากองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นในเขตพื้นท่จี งั หวัดสมทุ รสาคร ตอ่ การให้ความชว่ ยเหลือ ผู้ประสบภยั และเพ่ือศึกษาถงึ แนวทางการบรหิ ารจดั การ การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ของ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถน่ิ ในเขตพน้ื ท่จี งั หวั ดสมทุ รสาคร ดงั้ น้ัน การศกึ ษาครั้งนจ้ี งึ เป็นการศกึ ษาวิเคราะห์และหา แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน เกยี่ วกับการใหค้ วามชว่ ยเหลือเพื่อบรรเทาความเดอื ดร้อนใหแ้ กผ่ ู้ประสบภยั ใน เบื้องต้น โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ประกอบด้วย ดา้ นการบรหิ ารจดั การ งบประมาณ และด้านการบริหารจดั การด้านบุคลากรสรุปผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล จากการศึกษาความสาเร็จในการให้ความชว่ ยเหลอื เพื่อบรรเทาความเดอื ดร้อนใหแ้ กผ่ ู้ประสบภัย ในเบ้อื งตน้ โดยใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ทัง้ 2 ดา้ น พบวา่ โดยสภาพรวมมคี ่าเฉลยี่ อยู่ในระดับมาก เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ นพบว่า ดา้ นการบรหิ ารจดั การงบประมาณ มคี ่าเฉล่ยี สูงสุด (������= 4.10) เนอ่ื งจากหนว่ ยงานองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ใหค้ วามสาคัญในการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย จงึ สง่ เสริมให้มี ความพรอ้ มด้าน งบประมาณ อยา่ งต่อเนื่อง รองลงมาคอื ดา้ นการบริหารจดั การด้านบคุ ลา กร มคี ่าเฉล่ยี
(������= 4.06) โดยเฉลี่ยอยู่ในระดบั มาก เรยี งลาดับจากค่าเฉลยี่ สงู สุด คือ จานวนเจ้าหน้าทีท่ ี่ปฏิบัติงาน ใน การใหค้ วามช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ของหนว่ ยงานท่าน มีจานวนเพยี งพอ เจ้าหน้าที่ในหนว่ ยงาน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเร่อื งระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2541 เจา้ หนา้ ท่ี ในหน่วยงาน มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรือ่ งของหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัติกรณฉี กุ เฉิน พ .ศ. 2556 เจ้าหนา้ ทีใ่ นหนว่ ยงาน สามารถจัดทาเอกสารการเบิก งบประมาณเพ่อื ใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบตั ิได้อย่างถูกต้องตามระเบยี บของทางราชการทกุ ขน้ั ตอน และ เจา้ หนา้ ที่ในหน่วยงาน มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเรอื่ งระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการ รบั เงนิ ฯ และการตรวจเงนิ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2547 ตามลาดบั การอภิปรายผล ผลการศกึ ษาทส่ี รุปวา่ การให้ความช่วยเหลอื เพือ่ บรรเทาความเดอื ดรอ้ นใหแ้ ก่ผปู้ ระสบภยั ใน เบื้องตน้ โดยใช้งบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ซง่ึ ผลดังกล่าวมคี วามสอดคล้องกบั หลกั เกณฑว์ า่ ด้วยการต้งั งบประมาณเพ่อื การชว่ ยเหลอื ประชาชนตามอานาจหน้าที่ขององคก์ ารบรหิ าร ส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล พ .ศ. 2543 ข้อ 3 กจิ กรรมท่ีเปน็ การช่วยเหลอื ประชาชนตามหลกั เกณฑ์น้ี ตอ้ งอยูใ่ นอานาจหนา้ ทขี่ ององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด เทศบาล และ องคก์ าร บริหารสว่ นตาบล ตามท่ีมีกฎหมายกาหนดใหเ้ ปน็ อานาจหน้าท่ขี ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ นน้ั เช่น การสง่ เสรมิ การทามาหากนิ ของราษฎร การแกไ้ ขปัญหาการประกอบอาชีพ การสงั คมสงเคราะห์ การ ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั การปูองกันและระงบั โรคติดต่อ การสุสานและฌาปนสถาน เป็นตน้ อยา่ งไรกต็ ามผลทไี่ ด้จากการศกึ ษาในครัง้ นส้ี รุปไดว้ ่า 1. ปจั จัยสว่ นบุคล สามารถบ่งบอกระดบั ความรู้ความเขา้ ใจของเจ้าหนา้ ทีจ่ ากองค์กรปกครองสว่ น ท้องถน่ิ ในเขตพื้นท่ีจงั หวดั สมุทรสาคร ซง่ึ สอดคลอ้ งกับ พระราชบัญญัตปิ อู งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 21 ท่กี าหนดวา่ เมอ่ื เกดิ สาธารณภยั ขึ้นในเขตขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นแหง่ พ้ืนท่ี ใด ใหผ้ ู้อานวยการท้องถน่ิ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ แหง่ พืน้ ทนี่ ั้น มหี น้าท่เี ขา้ ดาเนินการปอู งกันและ บรรเทาสาธารณภัย โดยเรว็ ตามความจาเปน็ ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย และจดั ใหม้ กี าร สงเคราะห์ผู้ประสบภยั อยา่ ง ท่วั ถึงและรวดเรว็ ซึง่ ทาใหเ้ กิดความสาเร็จในการใหค้ วามช่วยเหลอื เพือ่ บรรเทาความเดอื ดร้อนใหแ้ กผ่ ปู้ ระสบภัยในเบือ้ งตน้ โดยใชง้ บประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ได้ ถูกตอ้ ง 2. ปจั จยั ในดา้ นการบรหิ ารจัดการงบประมาณ มีผลตอ่ แนวทางในการบริหารจั ดการการ ช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ขององคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในเขตพื้นที่จงั หวัดสมุทรสาคร ซึง่ สอดคล้องกบั แนวทางปฏิบัติในการให้ความชว่ ยเหลือประชาชนกรณีเกดิ สาธารณภัยขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ท่ี กรมการปกครอง ไดซ้ กั ซอ้ มแนวทางปฏบิ ัตใิ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนกรณีเกิดสาธารณภยั โดย กาหนดใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ พจิ ารณาตง้ั งบประมาณรายจ่ายประเภทเงนิ สารองจ่ายใหเ้ พียงพอ ต่อการเผชิญเหตสุ าธารณภยั ตลอดปีและให้นาเงินสารองจ่ายไปใช้จ่ายเพ่ือกรณีฉกุ เฉินที่มีสาธารณภยั เกดิ ขนึ้ หรือบรรเทาปัญหาความเดอื ดรอ้ นของประชาชน
ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ทุกแห่งในพ้ืนทีจ่ ังหวดั สมทุ รสาคร ซงึ่ เมือ่ เกิดเหตสุ าธารณภัยต่างๆขนึ้ ในพืน้ ท่ีของตนเอง สามารถ ดาเนนิ การเกยี่ วกับ การชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยในเบ้ืองตน้ โดยการ นาผล การศึกษา ในคร้ังน้ีไปใชไ้ ด้ ซงึ่ ผลที่ได้จากการศึกษาในครั้งน้ี โดยรวมทัง้ 2 ด้าน อย่ใู นระดบั มาก เมื่อ พิจารณาจากค่าเฉลี่ยได้แก่ ดา้ นการบรหิ ารจดั การงบประมาณ และด้านการบริหารจัดการด้านบุคลากร ตามลาดับ ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจยั ครงั้ ไป เพือ่ ใหผ้ ลการศึกษาในคร้ังน้สี ามารถขยายต่อไปในทัศนะทก่ี ว้างมากขึ้นอันจะเป็นประโยชน์ในการ อธบิ ายปรากฏการณแ์ ละปญั หาของการให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั ในเบอื้ งต้น หรือปัญหาอ่นื ที่มคี วาม เกี่ยวข้องกนั ผูท้ าวิจยั จงึ ขอเสนอแนะประเดน็ สาหรบั การทาวจิ ัยครั้งตอ่ ไปดงั น้ี 1. แนะนาให้ทาการศกึ ษากบั กลุ่มประชากร/กลุม่ ตัวอยา่ ง กลมุ่ อ่นื ๆ ท่ตี อ้ งมีสว่ นเก่ยี วข้องในการ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย เชน่ กานนั ผูใ้ หญ่บ้าน สมาชิกเทศบาล หรอื สมาชกิ องคก์ ารบรหิ ารส่วน ตาบล เพอ่ื ใหส้ ามารถนาผลทไ่ี ด้จากการศกึ ษามาเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน หรือสา มารถใหค้ าปรกึ ษา ตา่ งๆ ทีเ่ กยี่ วกับการใหค้ วามชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยของส่วนราชการ ใหก้ บั ตวั ผปู้ ระสบภัยไดท้ ราบขั้นตอน การให้ความช่วยเหลือ 2.แนะนาใหศ้ ึกษากับตัวแปรอน่ื ๆ เพ่ิมเตมิ เพ่อื เปน็ การยืนยนั ถงึ อิทธพิ ลของตัวแปรท่ใี ช้ใน การศกึ ษาคร้งั น้ี ควรมกี ารศึกษาในลกั ษณะเดี ยวกนั โดยใช้กลมุ่ ตวั อยา่ ง กลมุ่ เปูาหมายเครือขา่ ยดา้ นการ ให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย อน่ี ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง ทั้งหนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และเครือข่าย อาสาสมคั รที่เกยี่ วขอ้ ง ซ่งึ มีบทบาทใหค้ วามช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในพนื้ ทเี่ ดยี วกัน เพ่ือใหท้ ราบถึงแนวทาง และวิธีการบริ หารจัดการการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยใน เบ้ืองตน้ ทาใหร้ ายละเอียดชัดเจนและ สมบูรณ์มากข้ึน 3. แนะนาให้ใชส้ ถติ ติ วั อืน่ มาวิเคราะหใ์ นแงม่ ุมอืน่ ๆ โดยใชว้ ิธีการเกบ็ ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ ด้วยการ สมั ภาษณผ์ ปู้ ระสบภยั และประชาชนท่ไี ดร้ บั ผลกระทบ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ ข้อมูลท่ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อการ ปรับปรงุ และพฒั นาการช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั ตอ่ ไป
บรรณานกุ รม กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2545). แนวทางปฏิบตั ใิ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนกรณี เกดิ สาธารณภัยขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ . กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. (2553). แผนการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ.2553-2557. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2543). หลักเกณฑ์วา่ ด้วยการต้งั งบประมาณเพื่อการชว่ ยเหลือ ประชาชนตามอานาจหนา้ ทข่ี ององค์การบริหารส่วนจงั หวดั เทศบาล และองค์การบริหารส่วน ตาบล พ.ศ. 2543. กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2556). หลกั เกณฑก์ ารใช้จ่ายเงินทดรอง ราชการเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ัตกิ รณีฉกุ เฉิน พ.ศ. 2556. จอหน์ เจ. คลาร์ก. (1957). “ความหมายขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ .” ใน สานกั งานเลขาธิการสภา ผ้แู ทนราษฎร. การปกครองส่วนท้องถน่ิ และอานาจหน้าทข่ี องกานนั และผูใ้ หญ่บ้าน. กรงุ เทพมหานคร : สานกั การพมิ พ์สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร, 9. ชวู งศ์ ฉายะบุตร (2539). “ความหมายขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ .” ใน สานักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร. การปกครองสว่ นท้องถน่ิ และอานาจหนา้ ท่ีของกานนั และผใู้ หญบ่ า้ น. กรุงเทพมหานคร : สานักการพิมพ์สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร, 14. เดเนียล วทิ . (1967). “ความหมายขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ .” ใน สานักงานเลขาธิการสภา ผแู้ ทนราษฎร. การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ และอานาจหน้าที่ของกานนั และผู้ใหญ่บา้ น. กรงุ เทพมหานคร : สานกั การพมิ พส์ านักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร, 9. ประทาน คงฤทธศิ ึกษาการ. (2524). “ความหมายขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ .” ใน สานกั งาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. การปกครองสว่ นท้องถิ่นและอานาจหน้าท่ีของกานันและ ผ้ใู หญบ่ ้าน. กรุงเทพมหานคร : สานักการพิมพ์สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร, 10. ราชกิจจานเุ บกษา. (2550). เล่มที่ 124 ตอนที่ 52 ก, หนา้ 1-23. ราชกิจจานุเบกษา. (2548). เล่มที่ 122 ตอนพเิ ศษ 9 ง, หน้า 25 - 52. ราชกจิ จานุเบกษา. (2541). ตอนพเิ ศษ 61 ง, หน้า 4. รศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2547). “ความหมายขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ .” ใน สานกั งาน เลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร. การปกครองส่วนท้องถน่ิ และอานาจหน้าท่ขี องกานนั และ ผใู้ หญบ่ า้ น. กรงุ เทพมหานคร : สานกั การพิมพส์ านกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร, 10. สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2555 : 9-14). การปกครองสว่ นท้องถิน่ และอานาจหนา้ ทีข่ อง กานันและผใู้ หญ่บา้ น. อทุ ัย หริ ญั โย. (2523). “ความหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ .” ใน สานกั งานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร. การปกครองส่วนท้องถน่ิ และอานาจหน้าท่ีของกานนั และผู้ใหญ่บา้ น. กรงุ เทพมหานคร : สานักการพมิ พส์ านกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร, 10. แฮรสี จี. มอนตาก.ู (1984). “ความหมายขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน.” ใน สานักงานเลขาธิการสภา ผแู้ ทนราษฎร. การปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และอานาจหน้าทข่ี องกานนั และผู้ใหญ่บา้ น. กรงุ เทพมหานคร : สานกั การพิมพ์สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 9.
ประวตั ิผู้ศกึ ษาวจิ ยั ชอื่ – นามสกลุ นายประยงค์ บุญมีรอด วัน เดอื น ปี เกิด 22 ธนั วาคม 2514 สถานท่ีเกิด บ้านเลขที่ 57 หมู่ 4 ตาบลสวนสม้ อาเภอบา้ นแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี บริหารธุรกจิ บณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล ปจั จบุ ันตาแหน่ง นายช่างโยธาอาวโุ ส ปฏบิ ัติหนา้ ที่หวั หน้าฝุายสงเคราะหผ์ ้ปู ระสบภัย สงั กดั สานักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดสมุทรสาคร กรมปูองกนั และ บรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย ประสบการณท์ างาน ปี 2534 – 2536 สานกั งานเรง่ รัดพัฒนาชนบทจังหวัดสมุทรสาคร กรมการเร่งรดั พฒั นาชนบท กระทรวงมหาดไทย ปี 2536 – 2545 ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารเร่งรดั พัฒนาชนบทปราณบรุ ี จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ กรมการเร่งรัดพฒั นาชนบท กระทรวงมหาดไทย ปี 2545 – 2550 ศูนยป์ ูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 4 ประจวบครี ีขันธ์ จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ กรมปูองกนั และ บรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย ปี 2550 – 2551 สานกั งานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั นครปฐม กรมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ปี 2551 – ปจั จุบัน สานักงานปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด สมุทรสาคร กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ***********************************
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: