Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการสร้างสุขของชุมชน

แนวทางการสร้างสุขของชุมชน

Published by วนิดา ตันสกุล, 2019-08-01 23:37:58

Description: แนวทางการสร้างสุขของชุมชน

Search

Read the Text Version

แนวทางการสร้างสขุ ของชมุ ชน

คานา ความสุขกาย สขุ ใจ สุขเงนิ เป็นเปูาหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับคนไทยทุกคน ซึ่งความสุข ของประชาชน สัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในสังคมและเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับการมีชีวิตที่ยืนยาว มีสุขภาพดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว รวมถึงเพ่ือนและ สังคมแนวทางการสร้างสุขของชุมชน ชุมชนสร้างสุข สุขกาย สุขใจ สุขเงิน โดยกระบวนการตาบล จัดการคุณภาพชีวิต จัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง และผู้ที่สนใจใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ เส้นทางการดาเนนิ งานสู่ ชมุ ชนสร้างสุข โดยกระบวนการตาบลจัดการคณุ ภาพชีวิต โดยนาหลักคิด เปาู หมาย และวธิ กี ารปฏิบัติไปปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมตามบริบทของตนเอง เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาใน ระดับชุมชน หรือพ้ืนทีต่ าบล และการทางานร่วมกันกับภาคส่วนต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพท้ังจาก ภายในและภายนอกระบบสุขภาพ โดยใช้ศักยภาพของพ้ืนที่ในการขบั เคล่ือนการดาเนินงานจนเกิด ประโยชน์ตอ่ ประชาชนในพนื้ ท่ี โดยกระบวนการตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ซึ่งมีฐานทุนเดิมมาจาก ตาบลจัดการสขุ ภาพ และหมบู่ า้ นปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสุขภาพ ที่นามาปรับวิธีคิดและต่อยอดการ ทางาน เพ่ือให้ชมุ ชนขับเคลอื่ นได้ด้วยตนเอง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการสร้างสุขของชุมชนฉบับนี้ จะช่วยให้ท่านใช้ประโยชน์ เพื่อการพัฒนา และผลักดันการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน สู่ชุมชนสร้าง สขุ สุขกาย สขุ ใจ สุขเงนิ ตอ่ ไป กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

สารบัญ หนา้ คานา 1 บทนา สุขภาพดเี รมิ่ ที่ใคร 2 ส่วนที่ ๑ นิยามและความหมาย ชมุ ชนสร้างสุข สุขกาย สุขใจ สขุ เงิน 11 ส่วนที่ ๒ เส้นทางดาเนนิ งานชมุ ชนสรา้ งสุข 13 ส่วนท่ี ๓ กรอบแนวคดิ และวธิ ีปฏบิ ตั ิ 20 สว่ นที่ ๔ บทบาทการดาเนินงานในแต่ละระดบั 29 ภาคผนวก เอกสารที่เกย่ี วข้อง (OR Code) การสาธารณสขุ มูลฐานในศตวรรษท่ี 21

บทนา สขุ ภาพดีเรมิ่ ทใ่ี คร พฤติกรรมการใช้ชีวิตของคนในสังคมปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป การใช้ชีวิตท่ีเร่งด่วนและความ สะดวกสบายจากเทคโนโลยที าใหค้ นสว่ นใหญ่ละเลยการดแู ลสขุ ภาพตนเอง เมื่อเจ็บปุวยจึงเริ่มเข้าสู่กระบวนการ รักษาโรค และค้นหาหนทางว่าทาอย่างไรให้มีสุขภาพดี ท้ังที่แท้จริงแล้ว เรื่องสุขภาพไม่มีใครดูแลตัวเราได้ดี เท่ากับเราดูแลตัวเอง ถือเป็นหน้าที่ของทุกคนท่ีต้องทาให้ตนเองมีสุขภาพท่ีดี โดยการดูแลสุขภาพตนเอง การจัดการสภาวะแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี และให้ความร่วมมือกับมาตรการของสังคม จึงได้เกิด นโยบายสง่ เสรมิ สุขภาพปอู งกนั โรค ดว้ ยการสรา้ งเครอื ข่ายความรูด้ ้านสุขภาพ โดยเสริมสร้างศักยภาพประชาชน ในการดูแลสุขภาพตนเอง ขยายจากชมุ ชนสคู่ รวั เรอื น เพื่อชว่ ยดแู ลสุขภาพคนในครอบครัว ให้ครอบคลุมต่อเน่ือง และกลับมาพึ่งตนเองได้ คนในแต่ละครอบครัว คือคนท่ีดีท่ีสุด เหมาะสมท่ีสุด ที่จะทาหน้าที่ในการดูแลสุขภาพ ครอบครัวของตนเอง เรื่องระบบสุขภาพจึงควรเร่ิมจาก ระดับครอบครัว เพื่อวางรากฐานและหล่อหลอม พฤตกิ รรมของสมาชกิ ในครอบครัว จนเกิดเป็นวัฒนธรรมสุขภาพ เกิดการดูแลและจัดการสุขภาพของตนเองของ แต่ละคน การดูแลจัดการสุขภาพของครอบครัว และเช่ือมต่อการดูแลจัดการสุขภาพของชุมชน ดูแลตนเอง แล้ว สง่ ตอ่ ไปดแู ลคนรอบขา้ ง เปน็ วฒั นธรรมของการพึง่ พาอาศัยกันและกัน เกิดชุมชนที่เข้มแข็ง ไม่ใช่แค่เร่ืองสุขภาพ แต่รวมถงึ ด้านอน่ื ๆ ท้ังกาย ใจ เงนิ ในการสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชน ชุมชนท่ีมีความสุข จะปรับวิธีคิดและ วิถีการดาเนนิ ชีวิต มกี ระบวนการเรียนรู้และแลกเปลย่ี นของคนในชมุ ชน โดยใช้ฐานการเรียนรู้บนฐานการดาเนิน ชีวติ เป็นการเอาปัญหาทีค่ นในชมุ ชนมองรว่ มกันเปน็ ตัวตัง้ ซึง่ ในกระบวนการตาบลจดั การคุณภาพชีวิตคือการตั้ง ประเด็นเพื่อพัฒนาตนเอง หรือเพ่ือแก้ไขปัญหาตนเอง เป็นความรู้ในเชิงปฏิบัติท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วม และ ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน ท่ีเน้นการแบ่งปันเอ้ือเฟ้ือและการอยู่ร่วมกัน จากการที่คนในชุมชนเกิดความรู้สึก ว่าร่วมในชะตากรรมเดียวกัน ต้องพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกันเป็นความผูกพันระหว่างคนในชุมชน อาทิ การ ช่วยเหลือดแู ลผูด้ อ้ ยโอกาสในชุมชน การจดั ต้งั กลุ่มออมทรัพย์หรือกองทุนในชุมชน การจัดการขยะ การวางแผน เพ่อื ปอู งกันแกไ้ ขโรคตา่ งๆในชมุ ชน ฯลฯ เหลา่ นี้เปน็ การทาให้คนในชุมชนได้รู้จักศักยภาพตนเองและชุมชน และ รู้จกั ทีจ่ ะบรหิ ารจัดการเร่ืองในชุมชนของตนเอง 1

สว่ นท่ี ๑ นิยามและความหมาย ชุมชนสรา้ งสขุ สุขกาย สขุ ใจ สขุ เงนิ 2

หมายถึง พื้นท่ีการดาเนินงานในระดับตาบล ที่มีผลที่เกิดจากการท่ีผู้นาการพัฒนากลุ่ม ประชาชน และภาคีเครือข่ายร่วมกัน ทาให้ชุมชนเกิดความฉลาดรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ด้านดิจิตัล (Digital Literacy) ด้านการเงิน (Financial Literacy) และเกิดการ เปล่ียนแปลงบทบาทของตนเอง ทาให้สถานภาพของคนในชุมชน เปล่ียนแปลงไปเป็นผู้มีความสุข กาย สขุ ใจ สขุ เงนิ โดยกระบวนการตาบลจัดการคณุ ภาพชวี ติ 3

4

หมายถึง มีสุขภาพดีตามวัย หากเป็นผปู้ ่วยการเจ็บปว่ ยหรือปัญหา สุขภาพตอ้ งลดลง หรือคมุ ได้ และมีพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงคด์ า้ น ออกกำลงั กำย กิจกรรมทำงกำย อำหำร กินเปน็ อยเู่ ปน็ งดเครอ่ื งดื่มที่มแี อลกอฮอล์ บุหรี่ สำรเสพตดิ มพี ฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ด้าน บุหร่ี/ กิน /ออกกาลังกาย 3 ดา้ น ดงั นี้ 1) ละ เลกิ บุหรแี่ ละเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ : การสูบบหุ ร/ี่ การดมื่ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ ลดลง หรือเลกิ ได้ 2) รจู้ ักกนิ : รจู้ ักประกอบอาหาร หรอื รจู้ ักเลอื กอาหารทม่ี ีประโยชน์ มคี ุณภาพ และปลอดภยั ตอ่ ตนเอง 3) รูจ้ กั ออกกาลังกาย : ออกกาลังกายสม่าเสมอ เหมาะสมตามวัย 5

คือ มพี ฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค์ 3 ดา้ น (3 อ) ดงั นี้ 1) อารมณ์ดี : รตู้ น รูเ้ ท่าทันความคิดความรสู้ กึ รูจ้ ักฝึกสติ มคี วามเออ้ื อาทร 2) (ไม่) อดนอน : ต้องไม่อดนอน ในผ้สู ูงอายตุ ้องมีลูกหลานดี มคี นดูแล 3) (จติ ) อาสา : มคี วามเปน็ จิตอาสา และจติ สานึกดี 6

การบริหารจัดการเงิน คอื มีพฤติกรรมทพี่ งึ ประสงค์ 3 ด้าน ดังน้ี 1) รหู้ า : มงี านทา 2) รใู้ ช้ : รู้จักใช้เงินจา่ ยในสง่ิ ที่จาเปน็ และเกดิ ประโยชน์ 3) รูอ้ อม/รู้เก็บ : มีเงินเกบ็ ไว้ใชเ้ มอ่ื ยามฉกุ เฉนิ หรือในคราวจาเปน็ 7

หมายถงึ พื้นท่กี ารดาเนนิ งานในระดบั ตาบล 8

ลักษณะของพ้นื ที่ชุมชน ความซับซอ้ นและความหลากหลาย (Complexity & Diversity) ชนบท พ้นื ทีท่ ่ีอย่นู อกเขตเมืองหรอื เขตเทศบาล ความหนาแนน่ ของประชากรจะต่า เมือง กว่าเมือง ชุมชนขนาดเล็กแต่ใช้พืน้ ท่ขี นาดใหญ่ในการประกอบอาชีพ เล้ยี งชีพ ด้วยเกษตรกรรม มีความคลา้ ยคลงึ กันในรูปแบบดาเนินชวี ติ และวัฒนธรรม กง่ึ เมือง กึ่งชนบท พน้ื ทที่ ี่ทมี ีประชากรอาศยั อยู่หนาแน่นและชุมชนมีขนาดใหญ่ เปน็ ศูนยก์ ลาง ของความเจริญก้าวหนา้ ประชาชนส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี ธุรกจิ การค้า มกี าร ยา้ ยถน่ิ และการเคลื่อนท่ที างสงั คม มีการตดิ ต่อและส่ือสารกันกวา้ งมากกวา่ ชนบท เปน็ เขตเทศบาลหรอื ท้องถน่ิ ทีเ่ ปน็ รปู การปกครองแบบพเิ ศษ ได้แก่ เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร พน้ื ท่ีท่ีทเี ป็นชนบทผสมกับหมู่บา้ นหรือเมืองเล็ก ชุมชนชนบทท่ีอยตู่ ิดกบั เมือง เป็นสว่ นใหญ่ มีลักษณะของพ้ืนท่ที งั้ แบบชนบทและแบบเมือง ชมุ ชนชนบท ซ่ึงเปน็ ชมุ ชนดัง้ เดมิ ทาอาชีพเกษตร ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู กนั ชุมชนเมือง เป็นชุมชนใหม่ท่ีขยายมาและเปลยี่ นแปลงมาจากชุมชนดั้งเดิม เป็น ที่ตงั้ ของส่วนราชการ คอนโด ห้างสรรพสินคา้ ประกอบอาชีพคา้ ขาย ธุรกิจ สงั คมต่างคนต่างอยู่ เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ พื้นทีต่ ามทีค่ ณะกรรมการนโยบายพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษกาหนด พน้ื ท่พี ิเศษอ่ืนๆ พนื้ ท่ีแบบอืน่ ๆนอกเหนือจาก 4 พืน้ ทข่ี ้างต้น เชน่ พ้นื ท่ตี ิดชายแดน ชุมชน ชายขอบ พืน้ ทที่ มี่ ปี ระชากรต่างด้าวอยู่มาก พื้นทสี่ ุขศาลา พืน้ ทเ่ี กาะ เปน็ ตน้ 9

ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต คือ กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาตามบริบทและหรือประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ ท้ังด้าน การดแู ลสุขภาพและคณุ ภาพชีวิต โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้ (๑) ทีมนา (Team)และเครอื ขา่ ยขับเคลือ่ นงาน (๒) แผนการดาเนินงานของชุมชน (Plan) (๓) กิจกรรมดาเนนิ การทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา (Activity)และ (4) มีการมุ่งสู่เปูาหมายผลลัพธ์ (Result) ท่ีตอบสนองต่อความจาเป็นด้านสุขภาพและ คุณภาพชวี ติ 10

สว่ นท่ี ๒ เสน้ ทางดาเนนิ งานชุมชนสร้างสขุ โดยกระบวนการตาบลจดั การคุณภาพชีวิต 11

เสน้ ทางดาเนินงานชุมชนสร้างสุข โดยกระบวนการตาบลจดั การคุณภาพชีวติ 12

ส่วนท่ี ๓ กรอบแนวคดิ และวิธีปฏิบตั ิ 13

กรอบแนวคิดและวธิ ีปฏิบตั ิ การพฒั นาชุมชนสรา้ งสขุ โดยกระบวนการตาบลจัดการคณุ ภาพชวี ติ จากต้นทุนเดิม คอื ตาบลจัดการสขุ ภาพ ตอ่ ยอดปรับวิธคี ิด กระบวนการทางาน และเติมความรอบรู้ ดา้ นเทคโนโลยดี จิ ติ ลั และความรอบรทู้ างการเงนิ เพื่อใหเ้ กิดผลตามเปูาหมาย คือ ประชาชนสุขกาย สุขใจ สขุ เงนิ โดยชุมชนสร้างสุข แบบพง่ึ ตนเอง ด้วยกระบวนการตาบลจดั การคุณภาพชวี ติ คือ 1. กาหนดเปาู หมาย สขุ กาย สขุ ใจ สขุ เงนิ โดยการนาประเด็น พชอ.เปน็ ตัวต้งั มาเป็นทิศทางในการนา ลงสู่การปฏบิ ตั ใิ นพ้ืนทีต่ าบล โดยยดึ ขอ้ มูล บริบท ความต้องการของตาบลเปน็ สาคัญ ให้ชมุ ชนเปน็ ฐาน ประชาชนเปน็ สาคญั 2. ใชก้ ลวธิ ีตาบลจดั การคุณภาพชีวิต ท่ีมีฐานทุนแกนนาการขับเคล่อื น ทีมและเครอื ขา่ ยกาลังคน การ จดั การและความรอบรู้ด้านสุขภาพ จากตาบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ และหมบู่ ้านปรับเปลีย่ นพฤติกรรม สุขภาพ เนน้ ออกแบบการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น ในการขบั เคลือ่ นใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ 14

แนวคดิ ชุมชนสร้างสุขโดยกลไกลตาบลจัดการคุณภาพชวี ติ การดาเนนิ งานชุมชนสรา้ งสุข เปา้ หมาย ๑) ประชาชนสุขภาพดีมีความสุขกาย สุขใจ สุขเงิน อยู่ในชุมชนสร้างสุขโดยกระบวนการตาบลจัดการ คณุ ภาพชีวิต ๒) มีการนาประเด็น พชอ. หรือความเช่ือมโยงของประเด็น พชอ. ลงสู่การปฏิบัติการในพื้นที่ตาบล ดว้ ยกระบวนการตาบลจดั การคณุ ภาพชวี ติ ๓) มีการลดลงของปญั หาสุขภาพ/ปัจจัยเสี่ยงดา้ นสุขภาพตามสภาพปัญหาของพื้นที่ 15

กระบวนการดาเนินงานชมุ ชนสร้างสุข 1. สรา้ งทมี นาและเครือข่ายกาลังคนตั้งแต่ระดับครอบครัวเปน็ ต้นมาจะเปน็ กาลังในการขับเคล่ือน ไดแ้ ก่ (๑) กลมุ่ องค์กรด้านสุขภาพ คอื อสค. อสม. ผูด้ ูแล (Care Giver) แพทย์พน้ื บา้ นปราชญ์ชาวบ้าน (๒) กลุม่ ปกครองท้องที่กานัน, สารวัตรกานันแพทย์ประจาตาบล ผู้ใหญ่บ้านคณะกรรมการหมู่บ้าน/ ชมุ ชน (๓) กลุ่มองค์กรปกครองท้องถ่ิน เช่น นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาเด็กและเยาวชน อาสาสมคั รตา่ ง ๆ (4) กลุ่มองคก์ รชุมชน คณะกรรมการพัฒนาสตรีผู้นาชมุ ชน กลุม่ ตา่ งๆ ในชุมชน (5) ภาคประชาสังคม สมชั ชาสุขภาพ (6) กลุ่มสถาบัน /องค์กร/หน่วยงานรัฐและเอกชน เช่น บ้าน วัด โรงเรียน หน่วยบริการปฐมภูมิและ พชอ. ในพ้ืนที่ รา้ นขายยา คลนิ กิ /รพ.เอกชน ธุรกิจบริการสุขภาพ (7) กลุ่มองค์กรทางด้านเศรษฐกิจในชุมชน ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนองค์กรธุรกิจของชุมชนองค์กรธุรกิจ ในชุมชนกองทุนไดแ้ ก่ กองทนุ สุขภาพระดับท้องถ่นิ หรือพืน้ ที่ กองทนุ หมบู่ า้ นและชุมชนเมืองกลุ่มออมทรัพย์ตา่ งๆ 2. ศึกษาขอ้ มลู พ้ืนฐาน เรยี นรูข้ อ้ มลู พ้นื ฐานตน้ ทุนตาบล และวิเคราะหข์ ้อมลู ของชุมชน 3. จัดการชุมชนและวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพ่ือชุมชนสร้างสุข โดยใช้งบประมาณดาเนินงานจากกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ีเป็นหลัก ร่วมกับกองทุนอ่ืนๆในชุมชนและแหล่งทุนอ่ืน โดยการเสนอ แผนงานโครงการของชมุ ชนแบบมีสว่ นรว่ มต่อแหลง่ ทุน 4. จดั กจิ กรรมเพอื่ เรยี นรู้ในชุมชน เพอ่ื สร้างความความฉลาดรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ (Health Literacy) ด้านดิจติ ัล (Digital Literacy) และดา้ นการเงิน (Financial Literacy) 5. เฝูาระวังพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการเปลี่ยนความต้องการหรือความจาเป็น ความขาดแคลน (Need) มา เปน็ ความตอ้ งการทีจ่ ะทาทีจ่ ะประพฤตปิ ฏิบัติ หรืออปุ สงคท์ างพฤติกรรม (Demand for action) 6. จัดเวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่ความย่ังยืน 16

7. ติดตามประเมินผล โดยการติดตามความก้าวหน้าของงานในด้านผลลัพธ์ของชุมชนและกระบวนการ ทางาน - การประเมนิ ผลลัพธ์ตามเปูาหมายที่ชุมชนกาหนด ผลลัพธช์ ุมชนสร้างสุข 3 ดา้ น คอื สขุ กาย สุขใจ สขุ เงนิ - ประเมินกระบวนการเชิงการพฒั นาแบบเสริมพลัง (1) การดาเนินงานในพน้ื ทที่ ั่วไป ทุกชมุ ชน 7,255 ตาบล 1.1 ชมุ ชนทุกแห่งดาเนนิ การชมุ ชนสรา้ งสขุ โดยตาบลจัดการคณุ ภาพชวี ิต ดังนี้ 1) ทบทวนตนเองและกาหนดเปูาหมายสรา้ งสุขของตาบลโดยนาประเด็น พชอ. มาเป็น ทิศทางสรา้ งสุข “สุขกาย สุขใจ สุขเงิน” 2) ส่อื สาร เรียนรู้และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารชมุ ชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศกึ ษา วเิ คราะหข์ ้อมลู สรา้ งความเข้าใจในชมุ ชน 3) จัดการชุมชนและวางแผนแบบมีสว่ นร่วม เพ่อื ชมุ ชนสรา้ งสุข 4) จดั กิจกรรมสร้างสขุ ดาเนนิ งานตามกลวธิ ีตาบลจดั การสขุ ภาพ และหมู่บา้ นปรบั เปลี่ยน พฤติกรรม โดยเน้นการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน และใช้ทุนเดิมของชมุ ชนส่งเสรมิ การ ดาเนนิ งาน เพื่อปรบั วถิ ชี ุมชนให้มีความย่ังยืน - สรา้ งและพฒั นาทีมแกนนาชุมชนสรา้ งสขุ และภาคเี ครือข่าย - จดั การชมุ ชนและการวางแผนแบบมีสว่ นรว่ มเพ่ือชุมชนสร้างสุข - จดั กจิ กรรมสรา้ งสุขและดาเนนิ งานในชุมชน “สขุ กาย สขุ ใจ สขุ เงนิ ” 5) ประเมินผลตนเองตามเปูาหมายท่ีชุมชนรว่ มกนั กาหนด (2)การดาเนนิ งานของพ้นื ท่ตี ้นแบบ ปี 2562 พนื้ ทต่ี ้นแบบชุมชนสร้างสขุ “สุขกาย สุขใจ สขุ เงนิ ” โดยกระบวนการตาบลจัดการคุณภาพชวี ิต พ้นื ท่ีต้นแบบ : จังหวดั คัดเลือกพ้นื ที่ท่มี ีผลดาเนนิ งานเด่นในดา้ น สุขกาย สุขใจ สขุ เงนิ จังหวดั ละ 2 ตาบล จากตา่ งอาเภอ กาหนดพ้ืนที่ดาเนินงาน โดยจังหวัดคัดเลือกพื้นท่ีที่มีผลดาเนินงานเด่นในด้าน สุขกาย สุขใจ สขุ เงนิ จงั หวัดละ 2 ตาบล จากตา่ งอาเภอ จดั กลุ่มพ้นื ท่ีตน้ แบบชมุ ชนสร้างสขุ โดยจดั กลุ่ม 5 กลมุ่ ดงั น้ี 1) ชนบท 2) เมอื ง 3) กึ่งเมืองกึง่ ชนบท 4) เขตเศรษฐกจิ พิเศษ 5) พ้ืนที่พเิ ศษอนื่ ๆ (2,1) สร้างพื้นท่ตี ้นแบบ (Model) 1) จัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน 2) แลกเปลย่ี นเรยี นรชู้ ุมชนต้นแบบกับเครือขา่ ยและชุมชนอื่น (2.2) หารปู แบบท่ีควรจะเป็นในการพัฒนาชมุ ชนสรา้ งสุข 1) รว่ มเรียนร้ใู นชุมชนตน้ แบบกับพ้นื ทอี่ ่นื ๆ 2) ติดตามเยยี่ มเสริมพลงั ในพนื้ ที่ 17

(2.3) พัฒนากลไกความรว่ มมือแบบบูรณาการในการพัฒนาตาบลจดั การคุณภาพชวี ติ ที่มีเป้าหมาย เดียวของงานปฐมภมู ิ 1) ร่วมประชุมกับเครือข่ายพนื้ ทตี่ ้นแบบ 2) เขา้ ร่วมพฒั นาทมี เสริมพลังสร้างสขุ จากกองสนบั สนุนสขุ ภาพภาคประชาชน และศนู ย์ พฒั นาการสาธารณสุขมูลฐาน สานักงานสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพเขต ผ้รู ับผดิ ชอบงานระดับจังหวัด เพื่อเปน็ พ่ี เลี้ยงในการดาเนินงานและร่วมเป็นทมี เก็บข้อมูล 3) เข้าร่วมพัฒนาแกนนาขับเคล่ือน (Gate Keeper) ระดับตาบล ผลผลติ 1) จานวนตาบลไดร้ ับการส่งเสริมพฒั นาและสนับสนุนเพือ่ ให้เกิดตาบลจดั การคุณภาพชีวิต จานวน ๗,๒๕๕ ตาบล (๑.1) พ้ืนท่ีตน้ แบบ (Model) ชุมชนสร้างสขุ 1๕๒ แห่ง (1.๒) รูปแบบการพฒั นาชมุ ชนสรา้ งสขุ ๕ แหง่ 2) มโี ครงการ/กจิ กรรม ด้านสุขภาพและจดั การยกระดบั คุณภาพชีวติ ทดี่ าเนินการโดยชุมชน/ท้องถิ่น 3) มีการดแู ลผู้สูงอายแุ ละสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ และสง่ เสริมสุขภาพทุกกลมุ่ วยั 4) ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางระบบสขุ ภาพและมสี ่วนร่วมในการดูแลจัดการสุขภาพและเข้าถึง ระบบบริการสขุ ภาพ (4.๑) มีประชาชนกลุม่ เปาู หมายได้รับกจิ กรรม/บริการสขุ ภาพทีเ่ หมาะสม ปรับเปลยี่ น พฤติกรรมสุขภาพและสามารถดแู ลสขุ ภาพตวั เอง (Self Care) (4.๒) มปี ระชาชนกลุม่ เปูาหมายไดร้ ับการคัดกรอง/เฝูาระวงั ปจั จัยเส่ียงดา้ นสุขภาพ ๕) ครอบครัวมีศกั ยภาพในการดูแลสุขภาพดว้ ยตนเองตามเกณฑ์อยา่ งต่อเนื่อง ๖) เกิดการบูรณาการ การมีส่วนรว่ ม ความเป็นผ้นู าและเจา้ ของร่วมกัน 7) เกดิ ระบบสุขภาพชมุ ชน (7.1) การดูแลสุขภาพดว้ ยตนเองและช่วยเหลอื กนั เอง (7.2) ระบบบรกิ ารปฐมภูมโิ ดยชุมชนและภาครฐั (7.3) ระบบบริหารจดั การเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 18

ผลลพั ธ์ ๑) ประชาชนสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิต มีความสุขกาย สุขใจ สุขเงิน อยู่ในชุมชนสร้างสุขโดย กระบวนการตาบลจัดการคุณภาพชีวิต เช่น ตาบลดาเนินการชุมชนสร้างสุขด้วยเร่ืองบุหร่ี ใช้หลักของความสุข เป็นตัวนา ประเด็นเป็นจุดศูนย์รวมของการพูดคุย วิเคราะห์ข้อมูล คิดกลยุทธ์ จัดการชุมชนและวางแผนแบบมี ส่วนรว่ ม และร่วมกนั ทา ตงั้ แตแ่ กนนาขับเคลอื่ นแต่ละคนสารวจตนเองและทาตนเองเปน็ แบบอย่างในการเลิกสูบ บุหร่ีหรือไม่สูบบุหร่ี ดูแลคนในครอบครัวให้เลิก/ไม่สูบบุหรี่ ชวน/ช่วยเพื่อน/ญาติและคนในชุมชนจากละแวก ใกล้ชิดไปสู่กลุ่มใหญ่ให้เลิกสูบบุหรี่ด้วยวิธีการต่างๆท่ีคนในชุมชนมีส่วนร่วม จนทาให้ผู้ที่สูบบุหรี่เลิกสูบบุหร่ีได้ ประชาชนทีเ่ ลิกสบู บุหรี่จะมี สุขกาย คือ ไม่ปุวย และไม่เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบเส้นเลือดและ หวั ใจอักเสบ สุขใจ คือ คนในครอบครัว คนใกล้ชิดและผู้เลิกสูบบุหรี่ไม่เหม็นกลิ่นบุหร่ีที่ติดตามร่างกาย ในบ้านเรือน ไม่มีกล่ินควันบุหร่ี ทุกคนสบายใจท่ีได้อยู่ในบรรยากาศท่ีไร้ควันบุหรี่ ผู้เลิกสูบบุหรี่เป็นท่ียอมรับของบุคคลต่างๆ เป็นบคุ คลตน้ แบบของลูกและคนในครอบครัวท่ีทุกคนภาคภูมิใจ และญาติไม่ห่วงวิตกว่าผู้เลิกสูบบุหร่ีจะเกิดการ เจบ็ ปุวยด้วยโรคมะเรง็ ถงุ ลมโปงุ พอง ฯลฯ สขุ เงนิ คือ เม่ือเลิกสูบบุหรี่แล้วไม่ต้องเสียเงินค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่ ทาให้เงินตามราคาของบุหรี่/ซอง ยังคงมีอยู่เป็นค่าใช้จ่ายของคนในครอบครัว นามาออมได้ และการที่คนไทยในแต่ละตาบลท่ีสูบบุหรี่ จานวน 1,378 คน/ซอง/80 บาท สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ทาให้สามารถช่วยประหยัดเงินได้ 101,240 บาท/วัน หรือ 40,237,600 บาท/ปี จะทาให้สามารถนาเงินเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งในชีวิตประจาวันและการพัฒนา ชุมชน ๒) การลดความแออัดของโรงพยาบาล เพ่ิมความครอบคลุมในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่ท้ิงใครไว้ ข้างหลังปัญหาสุขภาพ/ปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพตามสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีลดลง จากการจัดการด้วยปัญญาของ คนในชุมชนและการพ่ึงพาตนเองของชุมชน ๓) มกี ารนาไปต่อยอดพัฒนาในการสรา้ งความยั่งยนื ของการพฒั นาคุณภาพชีวิตระดบั อาเภอ/ระดับเขต ลงสกู่ ารปฏิบตั กิ ารในพื้นทต่ี าบลใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรี โดยมกี ลไกตาบล จัดการคณุ ภาพชีวติ เป็นตวั เช่ือมท่ีมภี าคประชาชนมสี ว่ นรว่ มแบบบูรณาการอย่างเปน็ เจา้ ของ และนาสเู่ ปูาหมาย คณุ ภาพชีวติ Smart Citizen รปู แบบกลไกการจดั การตาบลจัดการคณุ ภาพชีวิตและความเชอ่ื มโยงในงานปฐมภูมิ สวนกลาง -ทมี งานบูรณาการงานปฐมภูมิ: สบส สสป พชอ (สสวช ) กบรส กยผ กรมคร กรมอ ปรบั บทบาท บูรณาการ ทางานรว่ ม ภาค เขต ศูนย สสม เครือขายวิชาการ เขตสุขภาพ(CPOปฐมภูมิ) - พั นา เสริมศักยภาพทีมพ้ืน-ทปี่รบั เกณฑ์ ทาชุดเค-รจื่อัดงกมระอื บวนการ“กระบวนกร“ - พั นานวัตกรรม พั นาต้นแบบ แกนหลกั พั นาชมุ ชนสร้างสขุ พ้นื ท่ีนารอง -ติดตามเยย่ี มเสรมิ พลงั เวทีเรียนรู้ ถอดบทเรยี น สบส เขต สปสช เขต ศูนยวิชาการเขต กขป - ติดตาม สนับสนุน ชวยเหลอื แนะนา แกนหลักตอยอดตาบลจดั การคุณภาพชีวติ จงั หวัด สสจ : กลมุ พั นาคณุ ภาพและรปู แบบบรกิ าร สช กลุมงาน - บรู ณาการ ประสาน ติดตามดูcommitment สรา้ งครูข อาเภอ เขต ตาบล พชอ พชข (สสอ เขต) ภาคประชาชน (บุคคล ครอบครัว)+องคกรดา้ นสขุ ภาพ (อสม ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต อสค แพทยพ้นื บา้ น CG จิตอาสา รพ สต PCC/FTC คลินิก เอกชน รพ เอกชน รา้ นขายยา ธรุ กจิ สขุ ภาพ ) องคกรในชุมชน: อปท +ผูน้ าชมุ ชน(เปนทางการและไม องคกรของชมุ ชน (บา้ น วัด โรงเรยี น)+กองทุนสขุ ภาพตาบล ภาคเอกชน องคกร ทางการ)+รพ สต เอกชน ภาคประชาสังคม พชอ หมบู า้ น ชมุ ชน อสม อสค แพทยพ้นื บ้าน CG จติ อาสา /FTC ผนู้ าชมุ ชน ครู พระ อาสาสมคั รอ่นื ๆ ครอบครัว ประชาชน อสค บคุ คล (Self Care/Management,HL,DL,FL) สุขภาพดี คณุ ภาพชีวwิตwดีwม.ีค1pวpาtม.cสoุขmพึ่งตนเองได้ 19

สว่ นท่ี ๔ บทบาทการดาเนนิ การหรือกิจกรรมหรือข้ันตอน การดาเนนิ การในแต่ละระดับ 20

บทบาทการดาเนินการหรือกิจกรรมหรอื ข้นั ตอนการดาเนนิ การในแตล่ ะระดบั ระดับประเทศ :  ขั้นเตรยี มการ : - แต่งต้ังคณะกรรมการระดับประเทศโดยบูรณาการในคณะกรรมการนโยบายพัฒนา คุณภาพชีวิตระดับพ้ืนที่ซึ่งมีปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็น กรรมการและเลขานกุ าร อธฺบดกี รมสนบั สนนุ บริการสุขภาพเป็นกรรมการ - กาหนดเปูาหมาย นโยบาย - บรู ณาการกบั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องทุกภาคสว่ น  ขนั้ ปฏิบตั ิการ : - ประชุมคณะกรรมการระดับประเทศ โดยบูรณาการในคณะกรรมการนโยบายพัฒนา คุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ให้มีการนาเสนอกรอบงานและโครงการในการประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนา คุณภาพชวี ติ ระดับพื้นท่ี และร่วมดาเนนิ การในคณะอนกุ รรมการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ ซ่ึง ผูแ้ ทนกรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพเป็นกรรมการ - ประชุมถา่ ยทอดนโยบายสรา้ งความเข้าใจและแนวทางการปฏิบัติ - จัดทาคมู่ อื แนวทางการดาเนินงาน - พัฒนาศกั ยภาพทมี งานชมุ ชนสร้างสขุ และเครือข่าย การอบรมครู ก โดยศูนย์พัฒนาการสาธารณสขุ มลู ฐาน ๕ แห่ง พฒั นาศักยภาพทมี งานกลางหลักสตู รเยี่ยมเสริมพลงั โดยส่วนกลาง สร้างและพัฒนาศักยภาพทมี ชุมชนสรา้ งสขุ พน้ื ท่ีนาร่อง ดา้ นการวางแผน แบบมีสว่ นร่วมเพ่อื ชมุ ชนสรา้ งสุขหลักสูตรภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลง และการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือสร้าง ความรอบรูด้ ้านสุขภาพ (HL) ความรอบรูด้ า้ นดิจติ ัล (DL) และความรอบรู้ด้านการเงิน (FL) - จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตาบลจัดการคุณภาพชีวิตชุมชนสร้างสุขระดับชาติ - สนับสนุนวิชาการและแหล่งงบประมาณในการสร้างและพัฒนาแนวคิดใหม่สู่การ ปฏบิ ตั เิ พ่ือดึงศกั ยภาพของชมุ ชน/ประชาชน ในการมีส่วนร่วมให้เกิดการพัฒนางานให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพและ ยั่งยืน - สร้างแรงจูงใจและสนับสนุนการศึกษาดูงานเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ - พัฒนาระบบข้อมูลตาบลจัดการคุณภาพชีวิตออนไลน์ในระดับประเทศและส่งเสริม การใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมูลในการพัฒนางาน  ขน้ั ติดตาม/ประเมินผล - มีการตดิ ตามประเมินผลในรูปแบบของการเย่ยี มเสรมิ พลัง - รายงานผู้บรหิ ารเพือ่ จดั ทาขอ เสนอนโยบาย 21

ระดับจังหวดั :  ข้นั เตรียมการ - มอบหมายจากกระทรวงมหาดไทยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหัวหน้าทีมขับเคล่ือน และติดตามกากบั การดาเนินงานชมุ ชนสร้างสขุ ของจงั หวดั - จัดทาแผนบูรณาการและกาหนดเปูาหมาย เพ่ือให้ครู ก พัฒนา ครูขอสม. อสค. หมู่บ้านปรับเปล่ียนพฤติกรรมโรงเรียน วัด ฯลฯ และเพื่อให้ทุกระดับมีกระบวนการขับเคล่ือนตาบลจัดการ คณุ ภาพชวี ติ เพ่ือชุมชนสรา้ งสุข”สุขกาย สขุ ใจ สุขเงิน”  ขนั้ ปฏบิ ัตกิ าร - ถ่ายทอดนโยบาย แนวคิด แนวทางการดาเนินชุมชนสร้างสุขโดยตาบลจัดการ คุณภาพชีวิตแก่ผู้บริหาร,ทีมงาน,ส่วนราชการ องค์กรเอกชน สถานพยาบาลรัฐและเอกชน ธุรกิจบริการสุขภาพ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ อสม. อสค. ประชาชนและภาคเี ครอื ขา่ ยทุกระดบั - อบรมครู ข พัฒนากลไกและศกั ยภาพเครือขา่ ย - พัฒนา“ชุมชนสรา้ งสุข” โดยกระบวนการตาบลจัดการคุณภาพชวี ติ ทกุ จงั หวัด ทุกพ้ืนที่ตาบล (รวมหมูบ่ า้ นปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม & รร.สุข บญั ญตั ิ) นาแนวคิดชุมชนสรา้ งสขุ ฯ ไปดาเนนิ การในพื้นที่ 7,255 ตาบล นาประเด็น พชอ. ลงสู่การปฏิบัติในพื้นท่ีตาบลโดยการต่อยอดพัฒนาตาบลจัดการสุขภาพ/หมู่บ้าน ปรับเปลี่ยนสู่ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต ชุมชนสร้างสุข “สุขกาย สุขใจ สุขเงิน”หรือวิเคราะห์ กาหนดประเด็น พฒั นา/แก้ปัญหาตามความต้องการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบทพ้ืนที่หรือประเด็น พชอ.หรือจาก Shopping Listเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และสุขภาพของประชาชนในพ้ืนที่ -ขับเคลื่อนการพัฒนาตาบลจัดการคุณภาพชีวิต : ชุมชนสร้างสุข“สุขกาย สุขใจ สุข เงิน”อย่างจริงจัง โดยคัดเลือกพื้นที่นาร่องชุมชนสร้างสุข เชื่อมกับ พชอ.เพ่ือนาประเด็นที่ตาบลกาหนดไปสู่การ ปฏิบัตอิ ย่างตอ่ เนื่องเปน็ รูปธรรม - ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานบริการทุกแห่งจัดระบบสนับสนุนการขับเคลื่อนตาบล จดั การคุณภาพชีวติ - สนบั สนนุ การจดั โครงการ/กิจกรรม ในการแกไ้ ขปัญหาและลดปจั จัยเสย่ี งดา้ น สขุ ภาพแบบบูรณาการระดบั อาเภอ/ตาบล  ขน้ั ตดิ ตาม/ประเมินผล - มีการติดตามประเมินผลในรูปแบบของการเย่ียมเสริมพลงั -สนบั สนนุ และพฒั นาระบบข้อมูลโดยการกระตุ้นให้มกี ารปรบั ปรงุ ขอ้ มูล แลกเปลยี่ น ข้อมลู และนาข้อมุลไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนินงาน -ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าท่ีติดตามผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามประเด็นของ ตาบลและการเช่ือมตอ่ กับ พชอ. - ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานบริการทุกแห่ง รายงานผลการดาเนินงานตาบลจัดการ คุณภาพชีวิต - ถอดบทเรยี นการดาเนินงานและส่งเสรมิ การแลกเปลีย่ นเรียนรภู้ ายในอาเภอ/จังหวดั - ส่งเสริมให้ทุกตาบลประเมินผลการดาเนินงานชุมชนสร้างสุขโดยตาบลจัดการ คณุ ภาพชีวิตในเชงิ พฒั นาและมีขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ประกอบ - ประเมินผลเพ่ือเสรมิ พลงั ชุมชนสรา้ งสขุ 22

ระดบั อาเภอ:  ข้นั เตรียมการ - เลขาพชอ.ถ่ายทอดนโยบาย แนวคิด แนวทางปฏิบัติการดาเนินงานชุมชนสร้างสุข โดยตาบลจดั การคณุ ภาพชวี ติ แกค่ กก.พชอ. และเครือข่ายรวมถึงภาคประชาชน -สมคั รเข้ารว่ มเป็นพื้นที่นารอ่ งชมุ ชนสร้างสุข - จดั ระบบสนับสนุนการดาเนินงานตาบลจดั การคณุ ภาพชวี ติ  ขนั้ ปฏิบตั ิการ -บรหิ ารจัดการเชิงพืน้ ที่ เพอื่ หนนุ เสริมตาบลจัดการคุณภาพชวี ิตพน้ื ที่ดาเนนิ การ -สรา้ งเครอื ขา่ ยจัดการสขุ ภาพชมุ ชนและเสริมศกั ยภาพพ่เี ลี้ยง - ส่งเสริมและสนับสนุนประชาชนและชุมชนร่วมกันดูแลสุขภาพพึ่งตนเองได้ และไม่ ทอดทง้ิ กนั - พฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ - พัฒนาการสาธารณสขุ และสง่ิ แวดล้อม  ขนั้ ติดตามประเมินผล - เย่ียมเสรมิ พลังตาบลจัดการคณุ ภาพชีวติ ชมุ ชนสร้างสุข - ติดตามผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามประเด็นของตาบลและการเช่ือมต่อกับ พชอ. และรายงานผล ถอดบทเรียนการดาเนินงานและสง่ เสริมการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ภายในอาเภอ/จงั หวดั - ประเมินผลเพื่อเสริมพลงั ชุมชนสรา้ งสุข 23

ระดับตาบล :  ขนั้ เตรยี มการ - สอื่ สาร สรา้ งความเขา้ ใจ สร้างการเรียนรู้ แนวคิด แนวทางการดาเนินงานตาบล จัดการคุณภาพชวี ิต -ประเมินความต้องการ ความจาเปน็ หรือความขาดแคลน (need)ของประชาชน เพื่อ เปลย่ี นเปน็ ความตอ้ งการทีจ่ ะทา จะประพฤติปฏิบตั ิ หรืออุปสงค์พฤตกิ รรมในการ ปฏิบัติ (demand for action) - ตัง้ เปูาหมายของตาบลจัดการคณุ ภาพชวี ติ ร่วมกบั พชอ. ในระยะยาวขนั้ ปฏิบัติการ  ขั้นปฏิบัติการ ๑. ผู้นาการพัฒนาของตาบล สร้างและพัฒนาทีมแกนนาชุมชนสร้างสุขโดยตาบล จัดการคณุ ภาพชวี ิต ทีม่ อี งคป์ ระกอบเครือขา่ ยที่เข้ารว่ มทีมสุขภาพตาบลจากหลายภาคส่วน คือ (๑) องคก์ รดา้ นสุขภาพ ไดแ้ ก่ อสม. อสค. Caregiver แพทย์พน้ื บา้ น (๒) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้แก่ นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาชกิ สภาทอ้ งถิน่ กรรมการ กลุ่มเด็กและเยาวชน/สภาเด็กและเยาวชนและอาสาสมคั รตา่ งๆ (๓)องค์กรปกครองท้องท่ี ได้แก่กานัน, สารวัตรกานัน, แพทย์ประจาตาบล ผใู้ หญ่บ้าน, คณะกรรมการหมบู่ ้าน/ชุมชน (๔) องค์กรในชุมชน ได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาสตรี ผู้นาชุมชน และกลุ่ม ตา่ ง ๆ ในชุมชน (๕) ภาคประชาสงั คม สมัชชาสุขภาพ (๖) สถาบนั /องค์กร/หนว่ ยงานรฐั และเอกชนคอื (๖.๑) บ้าน วัด โรงเรียน ร้านขายยา คลินิก/รพ.เอกชนและธุรกิจบริการ สขุ ภาพ (๖.๒) กลุ่มองค์กรทางด้านเศรษฐกิจในชุมชนได้แก่วิสาหกิจชุมชน,องค์กร ธุรกิจของชุมชน,องค์กรธรุ กิจในชมุ ชน (๖.๓) กองทุนได้แก่ กองทุนกองทุนสุขภาพระดับท้องถ่ินหรือพื้นที่,กองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองกลุ่มออมทรัพย์และสถาบันการเงินต่างๆของชุมชน (๖.๔) หน่วยบริการปฐมภูมิได้แก่ คลินิกหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (๖.5) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ระดับอาเภอ (พชอ.) เพอ่ื ร่วมดาเนนิ การโดย ๑.๑ จัดตั้งทีมพฒั นาตาบลจดั การคณุ ภาพชีวิต ชุมชนสร้างสุขในรูปของคณะกรรมการ หรือทีมงาน เพ่ือรวมคน รวมพลังใจ มาเพื่อเรียนรู้เร่ืองเก่ียวกับตนเองและร่วมกันสร้างความสุขกาย สุขใจ สุข เงิน ใหก้ บั ตนเองและคนในชุมชน ๑.๒ มีการกาหนดบทบาทหน้าท่ี แบ่งงานกันทา มอบหมายงาน มีวิธีการทางาน ทชี่ ดั เจน ๑.๓ มีการพัฒนาศักยภาพทีมตาบล ในเร่ืองการจัดการชุมชนและการวางแผน แบบมสี ว่ นร่วมเพื่อชุมชนสรา้ งสขุ 24

๑.๔ มกี ารพฒั นาความรู้ อสม. ๔.๐ และการดแู ลสุขภาพและจัดการคุณภาพชีวิต ตาม ประเด็นและบรบิ ทของพืน้ ทท่ี ่นี ามาพฒั นาหรือแก้ไขปัญหา ๑.๕ สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพและเครือข่ายการพัฒนา ทกุ ภาคสว่ น เสริมสรา้ งความเป็นผู้นาและเจา้ ของร่วมกนั ในการพัฒนาและแกไ้ ขปญั หาท่เี กิดขนึ้ ในพื้นที่ ตลอดจน สรา้ งเสริมใหบ้ ุคคล ครอบครัว และชมุ ชน มีสุขภาวะทางกาย จิต สังคมและการเงิน เพื่อคุณภาพชีวิตท่ีดีและเกิด ความย่งั ยนื สบื ไป ๒. จัดการชุมชนและการวางแผนแบบมสี ่วนร่วมเพื่อชุมชนสรา้ งสุข ๒.๑ มีและใช้ข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน หมู่บ้าน ตาบล และพฤติกรรมสุขภาพ ของประชาชน คอื ๑) มีข้อมูลท่ีสาคัญ โดยทีมพัฒนาชุมชนสร้างสุข ตาบลจัดการคุณภาพชีวิต จะต้องมีการสารวจเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลสาคัญ ประกอบด้วย(๑) ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน หมู่บ้าน ตาบล และ พฤติกรรมสุขภาพของประชาชน(๒) ข้อมูลความเชื่อ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ สังคม วิถีถ่ิน วิถีชีวิต ทุนทางสังคม ผลผลิต เงิน ทรัพยากร ภูมิปัญญา (๓) ข้อมูล จปฐ. (๔) ข้อมูลสุขภาพ (๕) ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและ คุณภาพชีวิตของประชาชนจากส่วนราชการและเอกชน (๖) ข้อมูลองค์กร/เครือข่ายสุขภาพและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตในชุมชน และ(๗) ข้อมูลความต้องการของประชาชนในการพัฒนาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ความรอบรู้ ทางดา้ นดจิ ติ ัลและความรอบรู้ด้านการเงิน หรือความต้องการสุขกาย สขุ ใจ สขุ เงนิ ของประชาชน ๒) การใช้ข้อมูล ข้อมูลที่ได้มาจากการสารวจ จะต้อง (๑) คืนข้อมูลให้ ประชาชนได้รับทราบเพ่ือสร้างการรับรู้ และมีส่วนร่วมในการคิด ร่วมทา ร่วมสรุปบทเรียน ร่วมรับผลจากการ กระทา และจัดทาแผนจัดการคุณภาพชีวิตของตาบล ชุมชนสร้างสุข (๒) ใช้ข้อมูลประกอบการจัดทาแผนชุมช1น3 สรา้ งสขุ ตาบลจัดการคณุ ภาพชวี ติ และกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพกายสุขภาพ ใจและปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพและการจดั การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สุขภาพทางการเงินและ ความรอบรูด้ ้านดจิ ติ ัล ๒.๒ เข้าใจปัญหา จัดการชุมชนและวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อชุมชน สรา้ งสขุ ๑) เข้าใจปัญหา ทีมแกนนาจะต้องนาข้อมูลท่ีได้จากการสารวจมาวิเคราะห์ สะท้อนให้เห็นปัญหาสุขภาพ/ปัญหาโรคและคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน และวิเคราะห์สาเหตุของ ปญั หา/พฤตกิ รรมทไี่ มถ่ กู ต้องหรือไม่พงึ ประสงค/์ คุณภาพชวี ิต ว่ามาจากอะไร มีปัจจัยแวดล้อมอะไรท่ีเป็นสาเหตุ ของพฤติกรรมสุขภาพ/คณุ ภาพชีวติ นนั้ เชน่ ปจั จัยภายในบุคคล ได้แก่ ความรู้ไม่เพียงพอ มีความเช่ือที่ผิดๆ ไม่มี ทักษะในการปฏิบัติในเร่ืองนั้นๆ ปัจจัยภายนอกของบุคคล ได้แก่ บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข บริการ พ้นื ฐานของรัฐ กฎระเบยี บ มาตรการของสงั คมต่างๆ 25

๒) จัดการชุมชนและวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อชุมชนสร้างสุขโดย (๑) วิเคราะห์ชุมชนด้วยการกาหนดขอบเขตและความหมายของชุมชนการรวบรวมข้อมูลสุขภาวะ/ข้อมูลคุณภาพ ชีวิตของชุมชนการประเมินสมรรถนะชุมชน โครงสร้าง กลไกชุมชน องค์กรชุมชน และพลังการขับเคล่ือนร่วม แหลง่ ประโยชน์การประเมินข้อจากดั ของชุมชนการประเมินภาคแี ละพนั ธะมติ รในชมุ ชนการวิเคราะห์ความพร้อม ในการจดั การและขับเคลื่อนชุมชนการสังเคราะห์ข้อมูลและลาดับความสาคัญ (๒) สร้างวิสัยทัศน์ร่วม เปูาหมาย ร่วม และจัดทาแผนบูรณาการเพื่อพัฒนาสุขภาวะ/คุณภาพชีวิตชุมชน โดยการกาหนด และวิเคราะห์ปัญหา สาคัญท่ีภาคี หรือพันธมิตรต้องการขับเคลื่อนร่วมกันแบบบูรณาการคัดสรรผู้จัดการชุมชน (เฉพาะประเด็น) คัด สรร และกาหนดกลไก และบทบาทการทางานรว่ มกนั ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคสาธารณะสร้าง กิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนัก ความเป็นจ้าของ และศักยภาพใหม่เพ่ือการขับเคล่ือนงานร่วมกัน วิเคราะห์ ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ พัฒนาแผนยทุ ธศาสตร์และแผนปฏบิ ัติการ โดยไม่ลมื เพมิ่ ระดบั ความร่วมมือของพันธมิตร โดยจะต้อง - กาหนดพฤตกิ รรมสุขภาพ คุณภาพชีวติ หรอื ความสขุ กาย สขุ ใจ สขุ เงนิ ที่พงึ ประสงค์ - กาหนดกลุ่มเปูาหมายท่ีจะดาเนินการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ การสร้าง ความสุขกาย สุขใจ สขุ เงนิ ให้ชัดเจน - กาหนดวิธีการดาเนินงานหรือกิจกรรมหลักของแผนงาน/โครงการ โดยให้กาหนด กิจกรรมท่สี ามารถแก้ไขสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพน้นั ๆท่สี อดคลอ้ งกับปญั หาสุขภาพและบริบทของพื้นท่ี ๓. จดั กจิ กรรมสร้างสขุ และดาเนนิ งานในชมุ ชน “สขุ กาย สุขใจ สุขเงิน” ๓.๑ชมุ ชนดาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน ๓.๒ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้และการจัดปัจจัยแวดล้อมที่จะส่งผลให้ประชาชนในชุมชน เกิดการเรียนรู้ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรอบรู้ด้านดิจิตัล ความรอบรู้ด้านการเงินและมีการปรับเปล่ียน พฤตกิ รรมทีถ่ ูกต้อง ๑) กิจกรรมสร้างความสุขกาย เพือ่ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมที่พึงประสงคต์ ามหลัก ๒ อ ๒ ส คือ (๑) พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในการเสริมสร้างร่างกาย โดยกิน อาหารหลากหลาย ไม่ซา้ ซาก จาเจ กินผักหลากหลายสแี ละผลไม้สด กินอาหารไม่หวานจัด กินอาหารที่ไม่มีไขมัน สงู และกนิ อาหารทไ่ี มเ่ ค็มจัด พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพ่ือปลอดโรคปลอดภัย โดยกินอาหารสุก สะอาด ปราศจากเชอื้ โรคและสารเคมี ต้องควบคุมการกินและน้าหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ต้องไม่อว้ น (๒) พฤติกรรมการออกกาลงั กายเพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและสุขภาพ ออกกาลงั กายแบบแอโรบิคอยา่ งน้อย ๑ ชนิด ออกกาลังกายแบบฝึกความแข็งแรงกลุ่มกล้ามเนื้อหลักทุกส่วนของร่างกาย อย่างน้อย ๑ ชนดิ 26

(๓) พฤติกรรมการไม่สบู บหุ รเ่ี พ่ือสุขภาพ หลกี เลย่ี งการทดลองสูบบุหรี่ (กลุ่มไม่เคยสูบ) ลดและเลิกการสูบบุหรี่ (กล่มุ ทส่ี ูบเป็นประจาและเป็นครั้งคราว) ไม่สบู บุหร่ีในสถานท่ีท่กี ่อให้เกิดความราคาญกบั บุคคลรอบขา้ ง อสม.สารวจ ค้นหาผู้สูบบุหร่ี ชักชวนคนสูบบุหร่ีให้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ พร้อมท้ังชว่ ยเหลือและตดิ ตามการเลกิ สบู บหุ รี่ อสม.และเจา้ หนา้ ที่ทสี่ ูบบุหรีเ่ ลิกบหุ รีเ่ พื่อเป็นตน้ แบบแกป่ ระชาชน ในชมุ ชน จัดกิจกรรม ปจั จยั บรรยากาศ พฤติกรรมบาบัดชว่ ยเหลือการเลิกบุหรี่ (๔) พฤติกรรมไมด่ ่ืมสรุ าหรอื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอลเ์ พ่ือสุขภาพและปูองกนั โรคเร้ือรงั หลีกเลยี่ งการทดลองดื่มสุราหรือเครื่องดม่ื ที่มีแอลกอฮฮล์ (กลุ่มไมด่ ืม่ ) ลดและเลกิ การดื่มสุรา (กล่มุ ด่มื ประจาและด่ืมเปน็ คร้งั คราว) อสม.และเจา้ หนา้ ท่ีที่ดืม่ สุราหรอื เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลเ์ ลิกดม่ื สรุ าหรอื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ เพื่อเป็นตน้ แบบแก่ประชาชนในชุมชน จดั กจิ กรรม ปัจจยั บรรยากาศ มาตรการ พฤติกรรมในการไม่ด่ืมสุราหรือ เคร่ืองดื่มทมี่ ีแอลกอฮฮล์ และสร้างทกั ษะชวี ติ ท่ีเหมาะสม กระตุ้นใหเ้ ด็ก เยาวชนไทยและคนทกุ เพศทุกวัยมี ภมู คิ มุ้ กันให้กับตัวเองในการดาเนินชีวิตท่ีไม่เสย่ี งต่อการเกดิ ปญั หาตา่ งๆ จากการด่ืมเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ ความเครียด ๒) กจิ กรรมสรา้ งความสุขใจ เพอื่ ให้เกิดพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคต์ ามหลัก ๒ อ คอื (๑) พฤติกรรมการจัดการอารมณค์ วามเครยี ด มีวิธีการจัดการความเครียดให้กับตนเองอย่างน้อย ๑ วิธี ทุกคร้ังที่มี (๒) พฤติกรรมการอดนอน มีวิธกี ารจัดการการนอนหลบั ทีม่ ีคุณภาพให้กับตนเองและต้องไมอ่ ดนอน ๓) กจิ กรรมสร้างความสขุ เงนิ เพอื่ ใหเ้ กิดพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ คือ รูห้ า รใู้ ช้ รู้ออม/ รู้เกบ็ โดยชุมชนจะต้อง (๑) ประเมินและวิเคราะห์การรับรู้/ความต้องการข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ความรู้เร่ืองดิจิตัล ความรู้ทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงินและทัศนคติทางการเงินของกลุ่มวัยต่างๆในชุมชน/ แหลง่ ข้อมูลในชุมชน/ชอ่ งทางการเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสาร (๒) ประสานและสร้างความร่วมมือเครือข่ายสื่อมวลชน สื่อท้องถ่ิน ส่ือบุคคล สื่อชุมชนในการเผยแพร่ข่าวสารด้านสุขภาพ (๓) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารความรู้ท่ีถูกต้อง หลากหลายช่องทางหลากหลาย (๔) รณรงค์สร้างกระแสการรับรู้ (๕)จัดกิจกรรม เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้องตามหลัก ๔ อ ๒ ส ส่ือดิจิตัล และทักษะทางการเงินในรูปแบบที่ หลากหลาย (๖) สร้างและพัฒนาบุคคลในครอบครัวให้เป็นต้นแบบในการประพฤติปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพ และจัดการคุณภาพชีวิต และเป็นผู้ดูแลสมาชิกในครอบครัว อย่างน้อยครอบครัวละ ๑ คน หรือที่เรียกว่า อาสาสมัครประจาครอบครัว (อสค.) (๗) จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ตามหลัก ๔ อ ๒ ส ส่ือดิจิตัลและทักษะ ทางการเงิน รู้หา รู้ใช้ รู้ออม/รเู้ กบ็ (๘) จัดกิจกรรมเสริมทักษะการส่ือสารท่ีหลากหลายรวมถึงการใช้เทคโนโลยีดิ จิตัลเพ่ือการสร้างสุขภาพและการสร้างรายได้ ลดรายจ่าย (๙) พัฒนานักการสื่อสารด้านสุขภาพและจัดการ คณุ ภาพชวี ิตในชมุ ชน (๑๐) ส่งเสริม พัฒนาให้มกี ิจกรรมการสือ่ สารสองทางในชมุ ชน (๑๑) จัดโปรแกรมด้าน 27

สุขภาพและการจัดการคณุ ภาพชวี ิต เพอื่ ใหป้ ระชาชนได้ฝกึ ปฏิบัติตนเอง (๑๒) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้ประชาชนมีการกาหนดเปูาหมาย ปฏทิ ินการปฏิบัติตนตามหลัก ๔ อ ๒ ส และทกั ษะทางการเงิน (๑๓) สง่ เสริมสนับสนนุ ใหป้ ระชาชนมีการบนั ทึกความก้าวหน้าของการปฏบิ ัติตนตามแผน/เปาู หมายที่กาหนด (๑๔) ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ประชาชนมีการเฝาู ระวังพฤติกรรมสขุ ภาพและพฤตกิ รรมทางการเงินด้วยตนเอง (๑๕) จดั กิจกรรมเสรมิ ทักษะใหป้ ระชาชนได้ฝกึ วเิ คราะหใ์ นประเด็นการเลอื กใชส้ ือ่ ที่ถกู ต้อง ประเมินสื่อ/ขอ้ ความ / เนื้อหาส่อื ดว้ ยตนเอง (ชัวรก์ ่อนแชร)์ (๑๕) ประสานและสร้างความร่วมมือเครือขา่ ยส่ือมวลชนสือ่ ท้องถ่ิน สือ่ ดิ จติ ลั การใช้ประโยชน์จากสอื่ ชุมชนในการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารความรู้ ตามหลัก ๔ อ ๒ ส ทถ่ี ูกต้อง (๑๖) เฝาู ระวังขา่ วสาร/โฆษณาท่สี ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพ (๑๗) ประเมนิ ผลการรับรขู้ อ้ มูลข่าวสารตามหลกั ๔ อ ๒ ส และ นาขอ้ มูลท่ไี ด้จากการประเมนิ แจง้ คืนกลบั ใหป้ ระชาชนในชุมชนได้รบั ทราบ (๑๘) จดั กิจกรรมให้ประชาชนได้ฝกึ ทกั ษะการเจรจาต่อรอง/ปฏิเสธในส่ิงทเี่ ปน็ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพ (๑๙) สรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชนไดเ้ รยี นรทู้ างเลอื กท่ี เหมาะสม ในการปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ๔ อ ๒ ส และทกั ษะทางการเงนิ การใชห้ ลกั เศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนิน ชวี ติ การทาบญั ชีครวั เรอื น และการสง่ เสรมิ วิสาหกจิ ชมุ ชนพนื้ ฐาน (การดาเนินการเพือ่ กิน เพ่ือใชใ้ นชุมชน เพอ่ื ให้ครอบครวั พ่งึ ตนเองได้ ลดรายจา่ ย เพมิ่ รายรับ) ๓.๓ สรา้ งพนั ธะสัญญา หรอื ขอ้ ตกลงในการขับเคลือ่ นแผนปฏิบตั กิ ารร่วมกนั ๓.๔ สร้างและพัฒนาระบบงานร่วมกัน เพื่อดาเนินงานร่วมในกิจกรรมสาคัญ พัฒนา เคร่อื งมือและติดตามความกา้ วหน้า กลไกสอื่ สารและการสะทอ้ นกลับ ๓.๕ จดั ให้มีกระบวนการประเมินผล และติดตามความก้าวหนา้ ตามข้อตกลงรว่ มกัน ๓.๖ การสรปุ “ความสาเรจ็ ระยะสั้น” สอ่ื สารต่อสาธารณะ/ภาคี และให้เครดิตตอ่ ภาคี ๓.๗ แบ่งปนั ข้อมูลใหม่ แหล่งประโยชน์ และวสั ดุอปุ กรณร์ ะหวา่ งองคก์ รภาคี ๓.๘ เฝูาระวังพฤติกรรมสุขภาพและคุณภาพชีวิต โดยกาหนดแนวทางการเฝูาระวัง พฤติกรรมสุขภาพและคุณภาพชีวิตท่ีต้องเฝูาระวัง เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล และใช้ ประโยชนข์ อ้ มูล ๔. การประเมนิ ผลและสร้างความยัง่ ยนื ตอ่ การพฒั นาคุณภาพชีวิต โดย ๔.๑ ประเมนิ ผลลพั ธ์ และประสิทธผิ ลของแผนยุทธศาสตร์ /แผนปฏิบตั ิงาน ๔.๒ สรุปผล และบทเรียน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของงาน บูรณาการคุณภาพ ชีวิต ๔.๓ บรู ณาการบทเรยี นเขา้ กับระบบงานปกติ และเครอื ข่ายในชุมชน ๔.๔ เผยแพร่ผลงาน สรา้ งบรรยากาศเชงิ บวก และให้เกียรติกบั ทกุ ภาคี/องค์กร ๔.๕ สรปุ ผลงาน และพัฒนาความตอ่ เนื่อง ของงานในอนาคต  ขัน้ ตดิ ตามประเมนิ ผล -ติดตามผลการพัฒนาชุมชนสรา้ งสขุ ตามประเดน็ ของตาบลและรายงานผล - ติดตามความก้าวหน้า/เยย่ี มเสรมิ พลงั -ประเมินผล และชืน่ ชม - จัดเวทเี รยี นรู้ แลกเปล่ยี นข้อมูลของคนในชมุ ชน ทาข้อมูลเปรียบเทยี บผลก่อนและ หลังการดาเนนิ งาน เพือ่ สร้างโอกาสการพัฒนาหรือต่อยอดในระยะต่อไป 28

เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง 29



30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook