วจิ ัยทางการพยาบาล (พย.๑๓๓๐)
บทที 2การเขียนโครงร่างและรายงานการวจิ ัย วตั ถุประสงค์ทวั ไป เมือเรียนจบบทเรียนนีแล้ว นักศึกษาสามารถเขียนโครงร่ างวิจัย และรายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ได้ถกู ต้อง
บทที 2การเขียนโครงร่างและรายงานการวจิ ัย วตั ถุประสงค์เฉพาะ 1. บอกหลักการและแนวทางในการเขยี นโครงร่ างการวิจัยได้ถกู ต้อง 2. บอกหลกั การและแนวทางในการเขยี นรายงานการวิจัยได้ถกู ต้อง 3. เขยี นรูปแบบรายงานการวิจัยได้ถกู ต้อง 4. บอกเทคนิครายงานผลการวิจัยได้ถกู ต้อง
การเขยี นโครงร่างการวจิ ัย (Research Proposal)โครงร่างการวจิ ยั เป็นเอกสารทีแสดงรายละเอียด และแผนการเพือ ดาํ เนินการวิจยั ของผวู้ ิจยั ซึงใชเ้ ป็นสือกลางระหวา่ งผวู้ จิ ยั และ ผชู้ ่วยวิจยั หรือผทู้ ีเกียวขอ้ งใหม้ ีความเขา้ ใจทีตรงกนั และจะได้ ให้ความร่วมมือในโครงการทีเสนอตลอดจนอดุ หนุนทุนในการวิจยั
หลกั การและแนวทางการเขยี นโครงร่างวิจัย 1. ชือโครงการวิจัย 2. ประเภทของงานวิจัย 3. กล่มุ วิชาและสาขาวิชาทีทาํ การวิจัย 4. ชือและประวัติของคณะผ้วู ิจัย 5. ความเป็นมาและความสาํ คัญของปัญหา 6. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 7. สมมติฐานการวิจัย (ถ้าม)ี 8. ขอบเขตของการวิจัย
หลกั การและแนวทางการเขยี นโครงร่างวิจัย (ต่อ) 9. นิยามศัพท์เฉพาะ 10. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 11. การทบทวนวรรณกรรม 12. วิธีดาํ เนินการวิจัย 13. ระยะเวลาและแผนการดาํ เนินการวิจัย 14. งบประมาณ 15. สถานทีทาํ การวิจัย 16. อุปกรณ์การวิจัย 17. เอกสารอ้างอิง
การเขยี นรายงานการวิจัย (Research Report)รายงานการวิจยั เป็นเอกสารรายงานขนั ตอนการทาํ วิจยั ในแตล่ ะขนั ตอน และผลสรุปทีไดจ้ ากการวจิ ยั เพอื นาํ ไปเผยแพรใหผ้ อู้ ่านทราบ รายละเอยี ดในแต่ละขนั ตอนของการวิจยั และนาํ ผลการวิจยั ไปใช้ ประโยชน์ รวมทงั ไดแ้ ง่คดิ สาํ หรับการศึกษาวิจยั ในประเดน็ ปัญหาที ต่อเนืองจากงานวิจยั หรือประเด็นปัญหาทีน่าสนใจ
หลกั การในการเขียนรายงานการวจิ ัย 1. ความถกู ต้องของรูปแบบ 2. ความเหมาะสมด้านภาษา 3. ความถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ 4. ความเรียบร้ อยของรายงานการวิจัย 5. ความครอบคลมุ ประเดน็ และสาระ 6. ความมีจรรยาบรรณของนักวิจัย
รูปแบบของรายงานการวจิ ยัรายงานการวิจยั (research report) โดยทวั ไปประกอบดว้ ยส่วนสาํ คญั 3 ส่วนคือ 1. ส่วนต้น (Preliminary section หรือ Font page) 2. ส่วนเนือเรือง (Body of the report) 3. ส่วนท้ายหรือส่วนอ้างอิง (Referent report)
ส่วนต้น 1. ปกหน้า (Title page) 2. หน้าอนมุ ตั ิ (Approval page) 3. บทคัดย่อ (Abstract) 4. หน้าประกาศคุณูปการ หรือกิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement page) 5. สารบัญ (Table of contents) 6. บญั ชีตาราง (List of tables) 7. บัญชีภาพประกอบ (List of figures)
ส่วนเนือเรืองหรือเนือหารายงาน บทที 1 บทนํา 1.1 ความเป็นมาและความสาํ คัญของปัญหา 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1.3 สมมติฐานการวิจัย 1.4 ความสาํ คญั ของการวิจัย 1.5 ขอบเขตของการวิจัย 1.6 นิยามศพั ท์ทีใช้ในการวิจัย 1.7 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
ส่วนเนือเรืองหรือเนือหารายงาน (ต่อ)บทที 2 เอกสารและรายงานวจิ ัยทเี กยี วข้อง เป็ นการทบทวนวรรณกรรมและการนาํ เสนอเนือหาสาระทีเกยี วข้องกบั ประเดน็ ปัญหาการวิจัย แนวคิดและทฤษฎี งานวิจัยทังในประเทศ และต่างประเทศทีเกยี วข้องกบั ตวั แปรและแนวคิดทีอธิบายตัวแปร ที ศึกษา โดยนาํ เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้องทีได้รวบรวมมา วิเคราะห์และสรุป โดยเขยี นเนือหาสาระในลกั ษณะของการ บรู ณา การ
ส่วนเนือเรืองหรือเนือหารายงาน (ต่อ) บทที 3 วิธีดาํ เนินการวจิ ัย 3.1 รูปแบบของการวิจัย 3.2 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 3.3 เครืองมือทีใช้การรวบรวมข้อมลู 3.4 การรวบรวมข้อมลู 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
ส่วนเนือเรืองหรือเนือหารายงาน (ต่อ)บทที 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเนือหาสาระในบทนีเป็ นการนาํ เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู โดยทัวไปจะ นาํ เสนอในรูปตาราง แผนภมู ิตาราง หรือกราฟ โดยมคี าํ อธิบาย ประกอบตารางทีนาํ เสนอในลักษณะทีกระชับและครอบคลมุ สาระสาํ คัญของข้อมลู ทีนาํ เสนอ
ส่วนเนือเรืองหรือเนือหารายงาน (ต่อ) บทที 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 การสรุปย่อสาระสาํ คัญ 5.2 สรุปผลการวิจัย 5.3 อภิปรายผล 5.4 ข้อเสนอแนะ 5.5 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครังต่อไป
ส่วนท้ายหรือส่วนอ้างอิง 1. บรรณานุกรม 2. ภาคผนวก 3. ประวัติผู้วิจัย
เทคนิคการเขยี นรายงานการวิจยั1. ใช้ภาษาทีชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา2. ใช้ภาษาเขยี นทีประโยคกะทัดรัด ระวงั การใช้ภาษาพดู3. ใช้ประโยคทีเป็ นอดีตและเป็นการเขยี นรายงานถึงสิงต่างๆทีเกิดขึนแล้ว4. ไม่ควรใช้ภาษาต่างประเทศ ถ้ามภี าษาไทยอย่แู ล้ว5. ไม่ควรใช้อักษรย่อ โดยทัวไปนิยมเขยี นด้วยคาํ เตม็6. การใช้สรรพนามบรุ ุษต่างๆ ถ้าแทนตัวเองใช้คาํ ว่า “ผ้วู ิจัย” ถ้าต้องการ แทนผู้อืน ให้ระบุชือ นามสกุลของผู้นัน เช่น “กลุ ยา ตันติผลาชีวะ”7. คาํ อธิบายในการเขยี นรายงานต้องถูกต้องตามหลกั วิชา โดยมหี ลกั ฐาน ยืนยนั หรือมเี อกสารอ้างอิง ไม่ควรกล่าวอ้างอย่างเลือนลอย
เทคนิคการเขยี นรายงานการวิจยั (ต่อ)8. คาํ สะกดต่างๆต้องถกู ต้อง การสะกดผิดอาจทาํ ให้ความหมายผิดพลาดได้9. ใช้เครืองหมายวรรคตอนให้ถกู ต้อง รวมทังเครืองหมายอืนๆ10. ควรมีความสมาํ เสมอ (Consistency) ในการใช้คาํ ศัพท์ต่างๆ ถ้าใช้คาํ ใดให้ใช้คาํ นัน ตลอดในการเขยี นรายงานฉบับนัน เช่นใช้คาํ ว่า “ผู้ป่ วย” ไม่ใช่ว่า “คนไข้” บ้าง ปะปนกัน11. การเขยี นตวั เลข เขยี นให้เป็นระบบเดยี วกนั ตลอด เช่น ทศนิยม 3 หลัก ไปตลอด ให้ เหมือนกัน12. สูตรสถิติต่างๆ ทีเป็นสูตรมาตรฐาน เช่น การหาคะแนนเฉลยี ส่วนเบียงเบน มด้วาตยรฐานกไ็ ม่จาํ เป็นต้องเขยี นไว้ในรายงานการวิจัย และไม่ต้องแสดงวิธีคาํ นวณ13. การเขยี นรายงานทังฉบับ ควรมกี ารลาํ ดับความทีดเี ป็นระบบ มีความสัมพันธ์ ต่อเนืองกนั อย่างราบรืน ไม่ใช้สํานวนซาํ กนั ในทีใกล้ๆ กัน
ตัวอย่างรายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ความสัมพนั ธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะของตนเอง การรับรู้ภาวะ สุขภาพ และพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: