สื อการเรียนรู้ วั น สํา คั ญ ทางพระพุ ทธศาสนา
วนั มาฆบูชา ตรงกบั วันขึน้ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๔ ความหมายวันมาฆบูชา วันมาฆบชู า หมายถึง การบูชา ในวนั เพ็ญเดอื น ๓ เนืองในโอกาสคล้าย วันที พระพุทธเจา้ ทรงแสดงโอวาทปาตโิ มกข์ แกพ่ ระภกิ ษุจาํ นวน ๑,๒๕๐ รูป หรอเรยกอกี อยา่ งว่า วันจาตุรงคสันนบื าต กจิ กรรมวนั มาฆบูชา ทําบญุ ตักบาตร เวยนเทียน ฟงธรรม ปฏิบตั ิธรรม เทศนา ทมี า https://www.sanook.com/campus/910849/
วนั วิสาขบชู า ตรงกับวนั ขึน ๑๕ คาํ เดือน ๖ ความหมาย คาํ วา่ \"วสาขบชู า\" หมายถงึ การบูชาในวนั เพ็ญเดอื น ๖ วสาขบชู า ยอ่ มาจาก \" วสาขปรุ ณมีบชู า \" แปลวา่ \" การบูชาในวนั เพญ็ เดือนวสาขะ \" ถา้ ปใดมีอธิกมาส คือ มี เดอื น ๘ สองหน กเ็ ลือนไปเปนกลางเดือน ๗ ความสาํ คัญ วนั วสาขบูชา เปนวนั สําคัญยงิ ทางพระพุทธศาสนา เพราะเปนวนั ทีพระพทุ ธเจ้าประสตู ิ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คอื สําเร็จ ได้ปรนพิ พาน คือ ดับ เกดิ ขึนตรงกนั ทัง ๓ คราว กจิ กรรมวนั วสิ าขบูชา ทําบญุ ตักบาตร ฟงธรรมเทศนา เวยนเทียน ปฏิบัติธรรม ทมี า http://www.dhammathai.org/day/visaka.php
วันอาสาฬหบชู า ตรงกับวนั ขนึ ๑๕ คํา เดือน ๘ วันอาสาฬหบูชา คอื วันทีพระพุทธเจ้าไดท้ รงประกาศพระพุทธศาสนาเปนครังแรก หลัง จากตรัสรู้ได้ ๒ เดือน โดยแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปญจวัคคยี ์ทงั ๕ ไดแ้ ก่ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภทั ทยิ ะ พระมหานามะ และพระอสั สชิ ทีปาอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี แคว้นมคธ จนพระอญั ญาโกณฑญั ญะไดบ้ รรลุธรรมและขอบวชเปนพระภิกษรุ ูปแรกในพระพุทธ ศาสนา จงึ ถือวา่ วนั นีมีพระรัตนตรัยครบองค์สามบรบรู ณค์ รังแรกในโลก คอื มีทงั พระพทุ ธ พระ ธรรม และพระสงฆ์ ซงึ เหตุการณ์นเี กดิ ขึนก่อนพุทธศักราช ๔๕ ป กจิ กรรมวันอาสาฬหบูชา ทําบญุ ตักบาตร เวยนเทียน ปฏบิ ตั ิธรรม ฟงธรรมเทศนา ทมี า http://chaisri-nites.hi-supervisory5.net/theskal/xasalh
วันเขา้ พรรษา ตรงกบั วัน แรม ๑ คาํ เดอื น ๘ สําหรับ วนั เขา้ พรรษา เปนวนั ทีพระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานวา่ จะพกั ประจําอยู่ ณ ทีใดทีหนงึ ตลอดระยะเวลาฤดฝู นทมี ีกาํ หนดเปนระยะเวลา ๓ เดอื น ตามทพี ระธรรม วนยั บัญญตั ไิ ว้ โดยไมไ่ ปคา้ งแรมทอี นื หรอทเี รยกติดปากกันโดยทัวไปวา่ \"จาํ พรรษา\" กจิ กรรมวันเข้าพรรษา ถวายเทยี น ถวายผา้ พรรษา อาบนาํ ฝน ทาํ บญุ ตักบาตร อธฐิ านงดเว้น ฟงธรรมเทศนา อบายมขุ ตา่ ง ๆ ทีมา https://hilight.kapook.com/view/13698
รกเฺ ขยฺย อตฺตโน สาธุ ลวณํ โลณตํ ยถา พึงรักษาความดขี องตนไว้ ดังเกลอื รักษาความเคม็
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: