ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 38 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนจากแชมพู และสบู่ ของวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเมล็ดพั นธุ์ข้าวบ้านหนองร่อง พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองร่อง ตำบลบ้านเป้า จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นโครงการบริการวิชาการที่ยกระดับผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ จากข้าวอินทรีย์ สู่แชมพู และสบู่ ของชุมชน ผ่านการ ข้าวบ้านหนองร่อง และสมาชิกโครงการ โคก บริหารกลุ่มในรูปของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้ หนองนา โมเดล ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว โดยเน้นการสื่อสารการตลาดเพื่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม การเชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่า เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพั นธุ์ข้าวบ้านหนองร่อง ชุมชนคนหนองร่อง เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ พัฒนาสู่ จำนวน 40 ราย จุดแข็ง ชูจุดขาย ส่งเสริมรายได้ชุมชน รูปแบบ ชุดความรู้ Timeline พัฒนาการวิสาหกิจ ลักษณะการดำเนินงาน โดยการบริหารแบบมีส่วนร่วม ชุมชนกลุ่มผู้ผลิตเมล็ดพั นธุ์ข้าวบ้านหนองร่อง ของตั้งแต่วิเคราะห์กลุ่มและผลิตภัณฑ์ ออกแบบและ 1 ฐานข้อมูล พั ฒนาการสื่อสารการตลาดเพื่ อสังคมและสิ่ง Poster โปรโมทเพื่อเพิ่มช่องทางการส่งเสริม แวดล้อมผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบท การขายออนไลน์ 1 ชิ้นงาน เรียน และสรุปผลการเรียนรู้ร่วมกัน นอกจากนี้ยัง คลิปห่วงโซ่คุณค่าชุมชน คนหนองร่อง(การ บูรณาการร่วมกับ โครงการ โคก หนอง นา โมเดล ตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม) 1 ชิ้นงาน ศาสตร์พระราชาเพื่ อส่งเสริมการพั ฒนาคุณภาพชีวิต ช่องยูทูบ เพื่อรังสรรค์ผลิตภัณฑ์ชุมชน คน ที่ดีงามของชุมชนอย่างยั่งยืน หนองร่อง ภายใต้ชื่อ หนองร่อง..ร่าเริงใจ แผนธุรกิจ วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ ผลการดำเนินงาน 2565 : ข้าวบ้านหนองร่อง (Business Plan) (ดำเนินการแล้ว ร้อยละ95) งบประมาณปี 2565 : 100,000บาท วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเมล็ดพั นธุ์ข้าวบ้านหนองร่องข้าร่วม โครงการจำนวน40 ราย( นักศึกษา และสมาชิกโคก หนองนา โมเดล 21 ราย) Timeline พัฒนาการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว บ้านหนองร่อง 1 ฐานข้อมูล Poster โปรโมทเพื่อเพิ่มช่องทางการส่งเสริมการขายออนไลน์ 1 ชิ้นงาน พัฒนาแกนนำในพื้นที่ เรื่อง สื่อ Poster โปรโมทเพื่อเพิ่มช่อง ทางการส่งเสริมการขายออนไลน์และเปิดช่องช่องยูทูบ เพื่อ รังสรรค์ผลิตภัณฑ์ชุมชน..คนหนองร่อง 1 ชิ้นงาน แผนธุรกิจ วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านหนองร่อง (ประกอบการขอสินเชื่อ) 1 แผน คลิปห่วงโซ่คุณค่าชุมชน คนหนองร่อง(การตลาดเพื่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม) 1 ชิ้นงาน ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
39 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลศรีวิชัย อำเภอลี้ จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ โครงการบริการวิชาการในลักษณะของ 1. กลุ่มอาชีพ ลำไยอบแห้งสีทอง หมู่ 12 บ้านอุดม การพั ฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน พั ฒนา โดยมีการต่อยอดอาชีพเดิมตามฐาน 2. กลุ่มจักสารไม้ไผ่ หมู่ 10 บ้านศรีวิชัย ภูมิปัญญา จากการสร้างผลิตภัณฑ์จาก 3. จำนวนนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในโครงการ มากกว่า องค์ความรู้และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย 10 คน มีความรู้ ทักษะการทำงานในชุมชน และเข้าใจ เพื่อสร้างแหล่งรายได้ สร้างสินค้าที่มีความ คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ แตกต่างแปลกใหม่ ได้แก่ ลำไยอบแห้งสี 4. จำนวนรายวิชาที่บูรณาการกับโครงการ 2 รายวิชา ทอง และผลิตภัณฑ์จักสารไม้ไผ่ และยัง เกิดสร้างศูนย์เรียนรู้การอบลำไยสีทอง สร้าง ศูนย์เรียนรู้ลำไยอบแห้งสีทอง เพื่อ (งบประมาณปี 2565 ) 100,000 บาท เป็นศูนย์ให้ความรู้ให้กับผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป ผลการดำเนินการในไตรมาสที่ 2 (ดำเนินการแล้ว ร้อย 60) 1. กิจกรรมคัดเลือกสินค้าเพื่อพัฒนาเป็นสินค้าหลักของกลุ่มจักสารไม้ไผ่ 2. กิจกรรมออกแบบตราสินค้าของกลุ่มจักสารไม่ไผ่และกลุ่มลำไยอบแห้งสีทอง 3. กิจกรรมกำหนดตราสินค้าของกลุ่มจักสารไม้ไผ่และกลุ่มลำไยอบแห้งสีทอง 5. กิจกรรมร่วมกันพัฒนาทางช่องทางการจัดทำหน่ายสินค้าทั้งสองกลุ่ม 5. กิจกรรมติดตามการผลิตค้าและจำหน่ายสินค้าตามช่วงงานประเพณีของกลุ่มจักสารไม้ไผ่ เพื่ อการวางแผนพั ฒนาในอนาคต มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 40 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพู น จังหวัดลำพู น เป้าหมายของโครงการ ผลการดำเนินการ เพื่ อให้เกิดศูนย์เรียนรู้เกษตรปลอดภัยเพื่ อ งบประมาณปี 2565 จำนวน 100,000 บาท พั ฒนาและยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และส่ง ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 เสริมการขายผลิตภัณฑ์ตลอดจนถ่ายทอดองค์ 1) เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับ ความรู้ให้แก่คนในชุมชนเพื่ อกระจายการพั ฒนา ด้านเกษตรและส่งเสริมการปลูกกระชายเพื่ อการ อาชีพและการต่อยอดสร้างรายได้ ด้วย สร้างรายได้แก่ชุมชน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยทดสอบ 2) เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับ ประสิทธิผลทางการแพทย์จากน้ำมันกระชายเพื่ อ การแปรรูปกระชายเพื่ อใช้ในรักษาสุขภาพ ยกระดับเป็นยาสมุนไพรรักษาไวรัสโคโรน่า 3) เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับ โควิด -19 และยกระดับน้ำมันกระชายเป็นย่า การแปรรูปกระชายเพื่ อใช้ปรุงอาหารเพื่ อสุขภาพ หม่องและยานวดสมุนไพร ตลอดจนยกระดับเป็น 4) เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการอบรมให้ความรู้และ น้ำมันกระชายแทนน้ำมันมะกอกในการปรุงรส การสาธิตการนวดรักษาสุขภาพโดยใช้สมุนไพร อาหารเพื่ อสุขภาพ ไทย “น้ำมันกระชาย” 5) อยู่ระหว่างการทดสอบประสิทธิผลทางการ มีการบูรณาการรายวิชาและให้นักศึกษาได้ แพทย์ เพื่อยกระดับน้ำมันกระชายเป็นสมุนไพร มีส่วนร่วมในการพัฒนาเชิงพื้นที่จำนวน 7 รักษาไวรัสโคโรน่า โควิด -19 รายวิชา และมีการบูรณาการความรู้ร่วมกันของ คณาจารย์ด้านวิทยาศาสตร์ (เคมี,ชีววิทยา,สาธารณสุข) และสาขาวิชา นิเทศศาสตร์ เพื่อสร้างชุดความรู้ผ่าน กระบวนการสื่อสารให้เข้าใจและส่งเสริมการนำไป ใช้ประโยชน์แก่คนในชุมชนตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพู น ได้อย่างยั่งยืนต่อ ไป ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
41 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาแส่ง อำเภอเกาะคา จังหวัด ลำปาง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพื่ อพั ฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้ นที่ได้รับการพั ฒนาและยก ชุมชน OTOP ให้เป็นอาชีพและ ระดับจำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ แหล่งรายได้ในชุมชน แหล่งการเรียนรู้ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น เพื่ อนำความรู้ทางวิชาการไปสู่การ และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้อื่นในท้องถิ่น ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนท้อง จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการ ถิ่นและให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมใน เรียนการสอนในการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้อง การพั ฒนาเชิงพื้ นที่ ถิ่น 2 รายวิชาและเข้าร่วม ร้อยละ 50 เพื่ อให้เกิดแหล่งเรียนรู้การพั ฒนา จำนวนผู้ผลิตและผู้ประกอบการที่ได้รับการพั ฒนา ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ศักยภาพและมีขีดความสามารถที่เพิ่มขึ้น 20 คน (งบประมาณปี 2565 จำนวน 100,000 บาท) ผลการดำเนินงาน 1.การวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์สมุนไพรและผลิตภัณฑ์ เชือกกล้วย พบว่าสเปรย์นวดสมุนไพรและลูกกลิ้งนวดสมุนไพร เป็นที่ชื่นชอบของกลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สมุนไพรเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้า 3. การพัฒนารูปแบบหูกระเป๋าจากหวายให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ จากเชือกกล้วยและผลิตภัณฑ์จักสานจากเชือกพลาสติก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 42 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์สมุนไพรพื้ นบ้านสู่ผลิตภัณฑ์ ชุมชน OTOP และมาตรฐานอาหารและยา พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพื่ อพั ฒนาและยกระดับ กลุ่มผู้ผลิตและผู้ประกอบการที่ได้รับการพั ฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ให้ ศักยภาพและมี ขีดความสามารถจำนวน ๒๕ คน เป็นอาชีพและแหล่งรายได้ใน เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรพื้นบ้าน เช่น กระชาย ชุมชน ขาว กระเทียม ขิง ข่า ตระไคร้ และ ฟ้าทลายโจร โดย เพื่ อบูรณาการรายวิชาและให้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรอบแห้งสำหรับชงดื่ม นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ จำนวน ๑ สูตร พั ฒนาเชิงพื้ นที่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน ๓ เพื่ อให้เกิดศูนย์/แหล่งเรียนรู้ ผลิตภัณฑ์ การพั ฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน การขยายพื้ นที่การเพาะและปลูกสมุนไพรในครัวเรือน เพื่ อให้เกิดองค์ความรู้/ จำนวน ๒๕ ครัวเรือน นวัตกรรม/งานวิชาการในการ คณะกรรมการดำเนินงาน อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ พั ฒนาชุมชนท้องถิ่น นักศึกษา จำนวนไม่น้อยกว่า ๒๐ คน ผลการดำเนินงาน 1. กิจกรรมการวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม 2. กิจกรรมการให้ความรู้การจัดท าบัญชีบัญชี 3. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการสร้างอาชีพ บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น และการนำใช้ประโยชน์จาก สมุนไพรพื้ นบ้านมาประยุกต์ใช้และการอนุรักษ์อาชีพพื้ นบ้าน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
43 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ University as a Marketplace พื้ นที่ดำเนินการ จังหวัดลำปาง และจังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ เป็นโครงการบริการ เป้าหมาย :วิสาหกิจ/ผู้ประกอบการในพื้นที่ วิชาการที่มุ่งเน้นยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ จังหวัดลำปางและจังหวัดลำพู น จำนวนไม่น้อย ชุมชนสู่ University as a Marketplace การ กว่า ๕๐ ราย ยกระดับรายได้ของคนในชุมชน ผลักดันให้เกิด งบประมาณปี 2565 : จำนวน 1,000,000 บาท การกระตุ้นเศรษฐกิจในแต่ละพื้ นที่ทั้งในส่วนของ ผลการดำเนินงานไตรมาสแรก : 1) เก็บรวบรวม ตลาดกายภาพ ตลาดออนไลน์ และพัฒนา จัดทำรายการข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัด ศักยภาพของผู้ขายในตลาด และบูรณาการกับ ลำปางและจังหวัดลำพู น 2)ประสานความร่วมมือ การเรียนการสอนก่อให้เกิดการลงพื้ นที่ปฏิบัติ กับภาคีเครือข่ายในการกระจายสินค้าและการรับ รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน ดำเนินการในการ ซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน ร้านข้าวแต๋นธานีเส้นทางไป สร้างระบบการตลาดกายภาพและตลาดออนไลน์ น้ำตกแจ้ซ้อน และสวนแชมป์เกษตรอินทรีย์ เส้น เปิดพื้นที่ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค จัดอบรม ทางถนนเลี่ยงเมืองไปจังหวัดแพร่ ร้านภูตะวัน พัฒนาศักยภาพของผู้ขาย และส่งเสริมการขาย ในศูนย์เรียนรู้และพั ฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ จัดทำสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์แบบออฟ พอเพียง กฟผ.แม่เมาะ 3) ตลาดออฟไลน์ ออก ไลน์และออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์ร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดลำปาง 4) พัฒนาช่องทางการตลาด ออนไลน์ ระบบฐานข้อมูลสินค้า เพจ LPRU MARKETPLACE เว็บไซต์ LAMPANGMART ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 44 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านปวง อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ ผลการดำเนินการ ไตรมาส 1 - 2 ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ : เป็นโครงการส่งเสริม 1. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลตำบลบ้านปวง กลุ่ม ความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และ อาชีพในพื้ นที่ตำบลบ้านปวง ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมี รายได้เพิ่มขึ้น มีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ - มีจำนวน 11 หมู่บ้าน รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน : วิเคราะห์อาชีพ - อาชีพหลัก เกษตรกรรม และบางครัว หลักเพื่อหาต้นทุน และลดค่ายใช้จ่ายในการ เรือนมีการปลูกผักอินทรีย์เพื่ อจำหน่ายและ ประกอบอาชีพ สร้างอาชีพเสริมควบคู่กับการ บริโภค ประกอบอาชีพหลัก เพื่อพัฒนาอาชีพเสริมให้กลาย - อาชีพอื่นๆ ทอผ้าชนเผ่า ย้อมผ้า ทอผ้า เป็นอาชีพหลักต่อไป และส่งเสริมเวลาว่างให้เกิด ฝ้าย ทอผ้าไหม ร่ายได้เข้าสู่ครัวเรือน 2. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ทักษะอาชีพและ แนวทางพั ฒนาทักษะอาชีพเสริม สิ่งที่จะทำต่อไป 3. ใช้จ่ายงบประมาณไปแล้ว 18,300 บาท คิดเป็น 9.60% 1. จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพเสริมของตำบล ต้นเดือนเมษายน 2. จัดกิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของตำบล ต้นเดือนเมษายน 3. เบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ 90% ในไตรมาส 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
45 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้ นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งงาม อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ : เป็นโครงการส่งเสริม 1. ชาวบ้านในชุมชนเขตพื้นที่ตำบล ความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยก ทุ่งงาม จังหวัดลำปาง ไม่น้อยกว่า 60 ระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีรายได้ ครัวเรือน เพิ่มขึ้น มีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ 2. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วม ไม่น้อย รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน : ส่งเสริมความรัก กว่า 20 คน ความสามัคคี ส่งเสริมทักษะอาชีพทั้งอาชีพหลัก อาชีพรอง รวมทั้งพัฒนาอาชีพใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้ ผลการดำเนินการ ไตรมาส 1 - 2 และลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมความรักความสามัคคี สิ่งที่จะทำต่อไป มีระเบียบวินัย รู้หน้าที่ของตนเองและผู้อื่น เข้าใจคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 1. พัฒนาทักษะอาชีพ เดือนเมษายน ประการ 2. พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เดือนเมษายน 2. วิเคราะห์ทักษะอาชีพของชุมชนตำบลทุ่ง 3. ส่งเสริมอาชีพใหม่ เดือนพฤษภาคม งาม อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง จำนวน 4. ส่งเสริมอาชีพในชุมชน เดือนพฤษภาคม 11 หมู่บ้าน 5. เบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ 90% ในไตรมาส 3 3. ใช้จ่ายงบประมาณไปแล้ว 39,296 บาท คิดเป็น 13.10 % ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 46 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้ นที่ดำเนินการ บ้านปางป๋วย ตำบลนาสัก จังหวัดลำปาง เทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ ผลการดำเนินการ ไตรมาส 1 - 2 เป็นโครงการที่มีพันธกิจหลักสำคัญ คือ \"การ ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 บริการวิชาการเพื่ อตอบสนองความต้องการของ - จัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สังคม และสืบสานโครงการตามพระบรมราโชบาย\" รูป แบบลักษณะการดำเนินงาน ด้วยวิธีการถ่ายทอดองค์ ร่วมกับชุมชนพื้ นที่ ความรู้มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีกับการประกอบวิชาชีพ ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 2 สำหรับ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ลดรายจ่าย รวมถึง การฝึกอบรม เพื่อสร้างและพัฒนาความเชี่ยวชาญใน - จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการใน อาชีพที่สามารถ เพิ่มพู นรายได้ สร้างโอกาสในการหา ประเด็นรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณา งานประจำและการสร้างรายได้เสริม นอกจากนี้ยังมี การจัดการเรียนการสอนเพื อการพั ฒนา การพัฒนาความรู้และทักษะ รวมถึงการสร้างทัศนคติ คุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับ ที่ดีให้กับนักศึกษาในการทำงานร่วมกับชุมชนด้วยกา คนในชุมชน หัวข้อ \"การเขียนแบบชิ้นงาน รบูรณาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ เพื่อ 3 มิติ เบื้องต้นโปรแกรม SolidWorks\" ให้ เกิดความรักความสามัคคี ความมีระบียบวินัย รู้ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ณ สิ้นไตรมาส หน้าที่สิทธิของตนเองและผู้อื่น เข้าใจคุณลักษณะคน ที่ 2 ไทยที่พึ่งประสงค์ 4 ประการ - งบประมาณที่ดำเนินการใช้จ่ายแล้ว 40,570 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.99 เป้าหมาย เป้าหมาย : กลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มอาชีพ บุคลากรหน่วยงานท้องถิ่น และผู้สนใจ จังหวัดลำปางและลำพู น - จำนวนครัวเรือนในจังหวัดลำปางและลำพู นจำนวน 70 ครัวเรือน - นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหรกรรมร่วมเป็นคณะทำงานในการ ดำเนินโครงการไม่น้อยกว่า 20 คน งบประมาณปี 2565 : 300,000 บาท ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
47 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้ นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ ผลการดำเนินการ ไตรมาส 1 - 2 ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ: เป็นโครงการส่งเสริมความ 1. ประชุมงานหารือกิจกรรมและแผนงาน รักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ โครงการร่วมกับเทศบาลบ้านกลางพื้ นที่ รายได้ให้กับคนในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ตำบลบ้านกลาง มีความเข้มแข็งพึ่ งพาตนเองได้ 2. ทบทวนแผนงานกิจกรรม ร่วมกับ รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน: วิเคราะห์อาชีพหลัก เทศบาลบ้านกลาง สมาชิกเทศบาลและ เพื่อหาต้นทุน และลดค่ายใช้จ่ายในการประกอบอาชีพ ผู้นำชุมชน สร้างอาชีพเสริมควบคู่กับการประกอบอาชีพหลัก - จำนวน 12 หมู่บ้าน เพื่ อพั ฒนาอาชีพเสริมให้กลายเป็นอาชีพหลักต่อไป - อาชีพหลัก เกษตรกรรม ทำนา ทำสวน และส่งเสริมเวลาว่างให้เกิดร่ายได้เข้าสู่ครัวเรือน ลำไย และการเลี้ยงสัตว์ - อาชีพอื่นๆ ทอผ้าชนเผ่า ย้อมผ้า ทอผ้า สิ่งที่จะทำต่อไป ฝ้าย ทอผ้าไหม ทำอุตสาหกรรมในครัว เรือน 1. วิเคราะห์ทักษะอาชีพและแนวทางพัฒนา (ตู้เสื้อผ้า, ตู้ใส่กับข้าวอลูมิเนียมและ 2. พัฒนาทักษะอาชีพ ต้นเดือนเมษายน ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์) ค้าขาย รับจ้าง 3. ส่งเสริมอาชีพ กลางเดือนเมษายน ทั่วไป รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม 4. ส่งเสริมความรัก ความสามัคคี ปลายเดือนเมษายน 3. ใช้จ่ายงบประมาณไปแล้ว 19,380 5. เบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ 90% ในไตรมาส 3 บาท คิดเป็น 6.46% เป้าหมาย 1. ชาวบ้านในชุมชนเขตพื้นที่ตำบล บ้านกลาง จังหวัดลำพู น ไม่น้อยกว่า 60 ครัวเรือน 2. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วม ไม่น้อยกว่า 20 คน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 48 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชน และสมรรถนะภาคีเครือข่าย พื้ นที่เป้าหมาย จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพู น 15 ตำบล 10 ตำบล ผลการดำเนินงาน งบประมาณ : 2,103,900 บาท (ยอดผูกพัน 883,633 บาท และยอดจ่ายแล้ว 124,572 บาท) ผลการดำเนินการ ไตรมาส 1 - 2 -กำหนดพื้นที่เป้าหมาย และประสานงานด้านการดำเนินโครงการ -การจัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพื้นที่เป้าหมาย ร่วมวางแผน การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสมรรถนะภาคีเครือข่าย -จัดทำระบบฐานข้อมูลชุมส่วนการจัดเก็บข้อมูล และอยู่ระหว่างการ จัดเก็บข้อมูลชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย (จัดเก็บแล้ว 8,640 ครัวเรือน) -ทำการส่งเสริมสมรรถนะภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ๆ ได้มีการวางแผน การดำเนินงานแล้ว อาทิ กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ กิจกรรมการบริหารจัดการขยะชุมชน ฯลฯ แผนการดำเนินงานต่อไป -จัดเก็บข้อมูลชุมชนในพื้นที่เป้าหมายให้ครบ ตำบลละ 1,000 ครัวเรือน -จัดทำระบบฐานข้อมูลชุมส่วนการนำเสนอสรุปผลข้อมูลชุมชนที่ทำการ รวบรวม -ดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสมรรถนะภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ๆ ตาม แผนกิจกรรมได้วางแผนร่วมกับ อปท. ในพื้นที่เป้าหมายตามความ ต้องการของชุมชน อาทิ การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ การบริหาร จัดการขยะชุมชน การส่งเสริมอาชีพในชุมชน ฯลฯ ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
49 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านปวง อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ : เป็นโครงการยกระดับมาตรฐาน -ผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลบ้านปวงกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ชุมชน ตำบลบ้านปวง อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัด ที่ 1 จำนวนสมาชิก 30 คน ลำพู น เพื่อให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีความเข้มแข็งพึ่งพา -ผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลบ้านปวงกลุ่ม ตนเองได้ ที่ 2 จำนวนสมาชิก 30 คน รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน : ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน -นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา ให้เป็นอาชีพและแหล่งรายได้ในชุมชน โดยการพัฒนา จำนวน 5 คน คุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีความน่าเชื่อต่อผู้บริโภค -จำนวน 1 หมู่บ้าน ชื่อหมู่บ้านห้วย พัฒนาบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมการขาย ปิง ตำบลบ้านปวง ผลิตภัณฑ์ชุมชนในช่องทางออนไลน์ งบประมาณปี 2565: 100,000 บาท ผ้าฝ้ายทอมือ ผลการดำเนินการ ไตรมาส 1 - 2 1. สกัดข้อมูลกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้นที่ตำบลบ้านปวงที่มี ศักยภาพในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ได้แก่ - ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ ผ้าไหม - ผลิตภัณฑ์ผ้าซิ่นตีนจก - ผลิตภัณฑ์ผ้าทอชนเผ่า 2. วางแผนแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ สิ่งที่จะทำต่อไป ผ้าฝ้ายทอมือลายขอ -พั ฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ -ออกแบบโลโก้ผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 50 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ คณะเทคโนโลยีการเกษตร โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ โครงการนี้เป็นโครงการบริการวิชาการที่ยก เชิงปริมาณ ระดับคุณภาพชีวิตโดยมุ่งเน้นที่จะชักชวนเกษตร เกษตรกรที่มีใบรับรองการทำการเกษตร (กลุ่มทำนา) ในพื้นที่ 13 หมู่บ้านของตำบลปงยาง อินทรีย์หรืออยู่ระหว่างการยื่นขอรับรอง คกเข้ารวมกลุ่มเพื่อทำนาข้าวอินทรีย์ (ปลอดการใช้ ในตำบลปงยางคก เข้าร่วมโครงการไม่ สารเคมี) เพื่อให้เกิดรายได้ที่แน่นอน มีตลาดรับซื้อ น้อยกว่า 15 คน มีคุณภาพชีวิตมั่นคง ปลอดภัย ซึ่งจะเห็นได้ว่ามี มีการบูรณาการโครงการเข้ารับการเรียน ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพั ฒนาท้องถิ่น การสอนอย่างน้อย 2 รายวิชา ของมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปางที่มุ่งเน้นการมีส่วน จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมต่อจำนวน ร่วมในการพัฒนา ปรับปรุง แปรรูป ส่งเสริมสินค้า นักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชามากกว่า (ข้าวอินทรีย์) ให้มีหลากหลายรูปแบบผลิตภัณฑ์ให้มี ร้อยละ 25 มูลค่าเพิ่ มตามนโยบายของรัฐบาล เชิงคุณภาพ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการ จัดกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กิจกรรมที่ 1 : การสร้างเสริมความรักความสามัคคี กลุ่มเป้าหมายมีความพึ งพอใจใน การเปิดเวทีและอบรมเชิงปฏิบัติการการประเมิน โครงการ ไม่น้อยกว่า 80 ศักยภาพตนเองร่วมกับหน่วยงาน/ชุมชนเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ ไม่ กิจกรรมที่ 2 : การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนา น้อยกว่าร้อยละ 80 องค์ความรู้ในการบริหารจัดการแปลงอินทรีย์ กิจกรรมที่ 3 : อบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปเพื่อ งบประมาณปี 2565: 300,000 บาท ยกระดับผลิตภัณฑ์จากข้าวอินทรีย์ และการขอ มาตรฐานสินค้าแปรรูปจากข้าวอินทรีย์ กิจกรรมที่ 4 : อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำบรรจุ ภัณฑ์สินค้าแปรรูปจากข้าวอินทรีย์ กิจกรรมที่ 5 : อบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายภาพ เพื่อโฆษณาสินค้า การจัดการด้านการตลาดและช่อง ทางการจำหน่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
51 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ หมู่2 และหมู่8 ตำบลบ้านเป้า จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นการบริการวิชาการที่ส่งเสริมความรัก เป้าหมาย : กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักอินทรีย์บ้าน ความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ หนองร่อง วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรบ้านทุ่ง ผลิตภัณฑ์ชุมชน คือสเปรย์ น้ำย่านาง ใบเตย ม่านเหนือ และสมาชิก โครงการโคก หนองนา สกัดเย็น(ธรรมชาติ 100%) เพื่อยกระดับรายได้ให้ โมเดล กับคนในชุมชนฐานราก ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการกลุ่ม และสร้างเกษตรกรต้นแบบ เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน จำนวน 50 ราย ในการแปรรูปสเปรย์น้ำย่านาง ใบเตย & สกัดเย็น ชุดความรู้ Timeline กระบวนการผลิตน้ำ ผ่านการพั ฒนาแบรนด์ที่มาจากความต้องการของ ย่านาง&ใบเตยสกัดเย็น /กล้วยผงดิบ 2 ชุด ลูกค้าระดับบนและกลุ่มลูกค้าที่รักสุขภาพ รูปแบบ Poster โปรโมทเพื่อเพิ่มช่องทางการส่งเสริม ลักษณะการดำเนินงาน ตั้งแต่ร่วมวิเคราะห์ต้นน้ำ การขายออนไลน์ 1 ชิ้นงาน คือศักยภาพกลุ่ม กลางน้ำ กระบวนการแลก คลิปการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาครูต้นแบบ ปลายน้ำคือ ต้นแบบจากหิ้ง.. สู่ห้าง 1 ชิ้นงาน การตลาดสู่ Modern trade และตลาดออนไลน์ เพจผลิตภัณฑ์บ้านเป้ากับนักเล่าเรื่องเพื่ อส่ง นอกจากนี้ยังบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน เสริมช่องทางการตลาด (ศูนย์รวมของดี/ของ โดยเน้น นศ. นำเสนอผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ผ่าน เด่น ผลิตภัณฑ์บ้านเป้า) การพัฒนาแบรนด์ด้วยสื่อดิจิทัล และกิจกรรมการ สื่อการส่งเสริมความรักชาติ “คนไทยมี ประกวดอาหารจากพื ชผักอินทรีย์ของดีในชุมชน คุณธรรมจริยธรรมค่านิยมความเป็นไทย รวมทั้งประกวดสื่อการส่งเสริมความรักชาติ “คน จิตสำนึกที่ดีงามต่อส่วนรวม ความรักชาติ ไทยมีคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมความเป็นไทย จิตสำนึกที่ดีงามต่อส่วนรวม ความรักชาติศาสนา ศาสนา พระมหากษัตริย์ เชื่อมโยงกับวิถี พระมาหากษัตริย์ เชื่อมโยงกับวิถีผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลิตภัณฑ์ชุมชน คนบ้านเป้า” ทั้ง 2 ชุมชน คนบ้านเป้า” งบประมาณปี 2565 : 300,000 บาท ผลการดำเนินงาน 2565: (ดำเนินการแล้ว ร้อยละ90) ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 52 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ บ้านต๋อแก้วพัฒนา ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นโครงการบริการวิชาการที่มุ่งเน้นในการ เป้าหมาย: ลดต้นทุนและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในชุมชน 1. เกษตรกรในตำบลน้ำโจ้ที่ต้องการลดต้นทุนการ เพื่อที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ซึ่ง ตัวโครงการส่งเสริมความรู้ในด้านการผลิตพื ชให้ ผลิตเพื่ อยกระดับรายได้และต้องการทำเกษตรแบบ ได้มาตรฐานตามหลักของการทำเกษตรแบบ ปลอดภัยเข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 ราย ปลอดภัย รวมถึงให้ความรู้และบริการในด้านการ ตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในผลผลิต การ 2. มีการบรูณาการโครงการเข้ากับการเรียนการ ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารในดิน และการ สอนไม่น้อยกว่า 3 รายวิชา ให้คำแนะนำในการจัดการดินและปุ๋ยอย่างแม่นยำ เพื่ อช่วยเหลือเกษตรกรได้มีการบริหารปัจจัยการ 3. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมต่อจำนวนนักศึกษาที่ ผลิตในด้านต่าง ๆ ภายใต้กรอบของการลด ลงทะเบียนในรายวิชามากกว่าร้อยละ 30 ต้นทุนและเพิ่ มผลผลิตได้ด้วยตนเองอย่างมี งบประมาณปี 2565: 300,000 บาท ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังส่งเสริมแนวทางการ ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 (การเบิกจ่ายงบ จัดตั้งคลินิกดินและปุ๋ยแม่นยำภายในชุมชนขึ้น ซึ่ง ประมาณรวม 2 ไตรมาส = 66,304.33 บาท ดำเนิน กิจกรรมดังกล่าวจะส่งเสริมให้คนในชุมชนมีส่วน การเบิกจ่ายไปแล้วร้อยละ 22.10) ร่วมในการบริหารจัดการ อีกทั้งยังส่งเสริมความ รักความสามัคคี นอกจากนี้โครงการยังได้ทำกา ด้านบริการวิชาการเพื่ อลดต้นทุนการผลิต รบูรณาการกับรายวิชาของสาขาเกษตรศาสตร์ - อบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่ อให้โครงการได้มีความเชื่อมโยงกับการจัดการ เรื่องแนวทางการผลิตพื ชแบบปลอดภัย เรียนการสอน อีกทั้งเพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียน - อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้สารเคมีในการเกษตร รู้จากสถานการณ์จริง และได้มีส่วนร่วมในการ อย่างปลอดภัย พัฒนาเชิงพื้นที่ อันจะเป็นการส่งเสริมให้เกิดการ พั ฒนาทรัพยากรที่เป็นตัวบุคคลเพื่ อตอบโจทย์ ด้านบริการวิชาการเพื่ อช่วยเหลือชุมชน ของการพั ฒนาชุมชนและท้องถิ่นต่อไปได้ใน - คลีนิกเกษตรเคลื่อนที่ บริการรับตรวจดินเพื่อ อนาคต วิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารพื ชในดินและความเป็น กรด-ด่างของดิน (คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ครั้งที่ 1) ด้านการขับเคลื่อนศูนย์คลินิกดิน - มีการกำกับติดตามความก้าวหน้าของการรวม กลุ่มของเกษตรกรในพื้ นที่ - มีการกำหนดโครงสร้างในการบริหารจัดการ ของกลุ่มในการขับเคลื่อนคลินิกดิน ฯ - มีการวางแผนการปฏิบัติงาน ด้านบริการวิชาการเพื่ อส่งเสริมรายได้ - จะดำเนินการในไตรมาส 3 ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
53 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้ นที่ดำเนินการ ตำบลล้อมแรด ตำบลเวียงมอก ตำบลแม่มอก ตำบลเถินบุรี ตำบลแม่วะ ตำบลนา โป่ง และตำบลแม่ถอด อ. เถิน จ. ลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ: อาชีพส่วนใหญ่ของ จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการพ้ น ประชากรใน อ.เถิน คือ เกษตรกรรม รับจ้าง เกณฑ์ความยากจน > 60 ครัวเรือน ค้าขาย และการทำปศุสัตว์ การทำปศุสัตว์ อ.เถิน จำนวนรายวิชาที่บูรณาการกับโครงการ 2 เป็นการประกอบกิจการในลักษณะเลี้ยงสัตว์ในครัว รายวิชา (สรีรวิทยาของสัตว์และการผลิต เรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม ซึ่งเกษตรกรผู้ และการจัดการสัตว์ใหญ่) เลี้ยงโคเนื้อ จำนวน ~200 ครัวเรือน ได้รวมตัว องค์ความรู้/นวัตกรรม/ผลงานวิชาการที่ จัดตั้งขึ้นเป็นกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อ อ.เถิน ครอบคลุม เกิดจากโครงการ จำนวน 1 ผลงาน พื้นที่ทั้งหมด 7 ตำบล ซึ่งมีมูลค่ารวมทาง A. ประชุมชี้แจงรูปแบบโครงการ วางแผนงาน เศรษฐกิจของการเลี้ยงโคเนื้อ ประมาณ ร่วมกับเกษตรกรและเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ 30,000,000 บาทต่อปี อย่างไรก็ตามการเลี้ยงโค อ.เถิน เนื้อ มีความเสี่ยงสูงที่สัตว์จะเกิดโรค และติดต่อกัน B. ร่วมกับเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ อ.เถิน และกลุ่ม ได้อย่างรวดเร็ว เช่น โรคลัมปีสกิน ซึ่งระบาดอยู่ เกษตรกร ฉีดวัคซีนลัมปีสกินวัวเนื้อ ของกลุ่ม ในขณะนี้ เมื่อสัตว์ติดโรคและเกิดการแพร่ระบาด จะ เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อ อ.เถิน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ของเกษตรกร และ C. ติดตามผลการฉีดวัคซีน ด้วยการเก็บ มูลค่าทางเศรษฐกิจโดยรวมของทั้งอำเภอ ตัวอย่างเลือดวัว เพื่อแยกเอาซีรั่ม และนำไป รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน: การอบรมสร้าง วิเคราะห์หาค่าระดับภูมิคุ้มกันด้วยวิธี Elisa ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคลัมปีสกิน และการ จำนวน 5 ครั้ง (5 เดือน) สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาและวัคซีน เพื่อป้องกันและ D. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้เลี้ยงโคเนื้อ รักษาโรค อีกทั้งยังบรูณาการเพื่อสร้างผลงานทาง เกี่ยวกับโรคลัมปีสกิน วิชาการที่เกษตรกรสามารถนำความรู้มาใช้ต่อยอด “เวทีอภิปราย เรื่อง การสร้างความรู้ความเข้าใจ ในอนาคต โรคลัมปีสกินในวัวเพื่ อการป้องกันและการรักษา งบประมาณ: 300,000 บาท โรค และสนับสนุนเวชภัณฑ์ยาและอุปกรณ์ที่ การเบิกจ่ายงบประมาณ: 198,153 บาท (~66 %) จำเป็นสำหรับการป้องกันและรักษาโรคลัมปีสกิน” จำนวน 2 ครั้ง (82 ครัวเรือน) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 54 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวิเชตนคร อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ ในปี พ.ศ.2564 มี เป้าหมาย การดำเนินงานโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย 1) เพื่อยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก มรการจัดตั้ง\"ศูนย์การเรียนรู้...ปูนาแบบครบ 2) เพื่อส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนา วงจร\" ในพื้นที่หมู่ 3 บ้านใหม่ผ้าขาวซึ่งเป็นแหล่ง คุณภาพชีวิต ให้กับคนในชุมชนในพื้นที่ เรียนรู้ตั้งแต่ต้นทางในด้านการเลี้ยง กลางทาง 3) เพื่อบูรณาการรายวิชาและให้นักศึกษาได้มีส่วน ด้านการแปรรูป ซึ่งเป็นศูนย์กลางที่สามารถรับซื้อ ร่วมในการพั ฒนาเชิงพื้ นที่ ผลผลิตปูนาจากชาวบ้านทั้งในและนอกพื้ นที่ของ 4) เพื่อให้เกิดองค์ความรู้/นวัตกรรม/งานวิชาการ ตำบลวิเชตนคร การจับปูนาจากธรรมชาติจึงไม่ ในการพั ฒนาชุมชนท้องถิ่น เพี ยงพอและมีความเสี่ยงด้านสารเคมีตกค้างใน งบประมาณปี 2565 300,000 บาท ตัวปูนา การส่งเสริมการเลี้ยงปูนาจึงสามารถ ผลการดำเนินงานไตรมาส 2 พั ฒนาสู่การสร้างรายได้ให้กับชุมชนรวมถึงการ จัดกิจกรรมอบรม เรื่อง การเลี้ยงปูนา มาตรฐาน อนุรักษ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น(น้ำปู) และการ การเลี้ยง การเลี้ยงปูนาเพื่อผลิตพ่อแม่พันธุ์ และ แปรรูปที่หลากหลายเพิ่ มช่องทางการจำหน่ายได้ การตลาด ในวันที่ 7 เมษายน 2565 มากยิ่งขึ้น รููปแบบลักษณะการดำเนินงาน เป็นกิจกรรมที่ เพิ่มรายได้ให้ครัวเรือน โดยการเพิ่มอาชีพใหม่ และเพิ่มมูลค่าอาชีพเดิม โดยการให้ความรู้ด้าน การเลี้ยงปูนา มาตรฐานการเลี้ยง และส่งเสริม การเลี้ยงในครัวเรือน/ส่งเสริมการแปรรูป/จัด กิจกรรมส่งเสริมด้านการตลาด/จัดกิจกรรมส่ง เสริมความรักความสามัคคีและจักทำชุดสื่อเผย แพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำปูของตำบลวิเชตนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
55 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดลำพู น และจังหวัดลำปาง วัตถุประสงค์โครงการ ผลการดำเนินการ เพื่ อขับเคลื่อนพั นธกิจการส่ง ผู้ประกอบการที่สนใจ จำนวน 30 คน เสริมการตลาดของกลุ่มเกษตรกร ผู้ประกอบการที่สนใจจำนวน 5 กิจการ มีโอกาสประสานงาน ผู้ประกอบการสินค้าแปรรูปเกษตร กับฝ่ายจัดซื้อด้วยวิธีการเจรจาออนไลน์หรือนำผลิตภัณฑ์ไป และสหกรณ์การเกษตร จังหวัด เสนอ -เจรจาที่สำนักงานของโมเดิร์นเทรด ตลอดจน จัด ลำปาง - ลำพู น ภายใต้การดำเนิน เจรจาการค้าออนไลน์ให้กับผู้นำเข้าหรือตัวแทนการค้าใน งานของศูนย์เทคโนโลยีการเกษตร ไทย - ต่างประเทศอย่างน้อย 5 แห่ง และนวัตกรรมลำปาง มีผู้ร่วมการอบรมจำนวน 29 ราย ประกอบด้วยภาคเอกชน (LP-AIC) 20 ราย และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำนวน 9 ราย มีนักศึกษาสาขานวัตกรรมและธุรกิจอาหาร และอาจารย์สาขา นวัตกรรมและธุรกิจอาหาร เข้าร่วมอบรมจำนวน 5 ราย มีการดำเนินงานจัดทำธุรกิจโปรไฟล์ จำนวน 5 ธุรกิจ ผู้ประกอบการสามารถยื่นใบเสนอราคาไปยังโมเดอนเทรดใน ไทยได้จำนวน 1 ราย ผู้ประกอบการที่ได้ฝึกการเจรจาระหว่างประเทศ 8 ราย ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 56 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองช้างคืน ตำบลหนองช้างคืน จังหวัดลำพู น วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้ชุมชนเพาะ เป้าหมาย ปลูกพื ชผักปลอดภัยในครัวเรือนเพื่ อการ จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการอย่าง บริโภคและจำหน่ายในตลาดสินค้าปลอดภัย น้อย 50 ครัวเรือน และส่งเสริมการเพาะปลูกอัญชันรอบบ้าน ด้วยการควบคุมคุณภาพตามมาตฐานของ งบประมาณปี 2565 - 300,000 บาท บริษัทรับซื้ออัญชันอบแห้งส่งออกใช้การ ผลการดำเนินงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต เกษตรปลอดสารพิ ษและเทคโนโลยีอบแห้ง ถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต และเชื่อมโยงตลาดรับซื้อมีความร่วมมือกับ เกษตรปลอดสารพิษ ชุมชนผลิตไตรโคเด หน่วยงาน สสส., รปสต.หนองข้างคืน, อร์มาได้เอง ตลาดกลางผลผลิตทางการเกษตรเมือง ถ่ายทอดเทคโนโลยีอบแห้ง ชุมชนนำ ลำพู น (ตลาดป่าเห็ว), บริษัทจีเอสไอ (รับ เทคโนโลยีไปใช้ และสามารถผลิตอัญชันอบ ซื้ออัญชันอบแห้ง), สวทช.ภาคเหนือ แห้งที่มีคุณภาพ หาแนวทางร่วมกันกับตลาดป่าเห็วในการ รับซื้อผลผลิตปลอดสารพิ ษ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
57 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน/ผู้ประกอบการ วัดทุ่งบ่อแป้นสามัคคีธรรม พื้ นที่ดำเนินการ บ้านทุ่งบ่อแป้น ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นโครงการที่ให้ความรู้ในการบริโภค เป้าหมาย สมุนไพรอย่างปลอดภัย การมีพื้นที่แปลง จำนวนสมาชิกกลุ่มสมุนไพรวัดทุ่งบ่อ สาธิตสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้ และการผลิตลูก แป้นสามัคคีธรรม 25 คน ประคบ/สมุนไพรอบตัวต้านโควิดที่มีคุณภาพ พร้อมจำหน่ายเป็นสินค้าชุมชนใช้การถ่ายทอด งบประมาณปี 2565 - 100,000 บาท องค์ความรู้การดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์ ผลการดำเนินงาน แผนไทย เทคนิคการอบแห้งสมุนไพรที่มี คุณภาพ และการสร้างแบรนด์สินค้า ด้วย ให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยการใช้ กระบวนการแบบมีส่วนร่วมกับชุมชนมีความ สมุนไพรตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ร่วมมือกับหน่วยงาน ศูนย์เรียนรู้การพัฒนา แตรียมพื้ นที่แปลงสาธิตสมุนไพร สตรีและครอบครัวภาคเหนือ พร้อมโรงเรือนสำหรับการเพาะต้นกล้า ให้ความรู้เทคนิคการอบแห้งสมุนไพร พร้อมทั้งการเลือกรูปแบบและโลโก้ลูก ประคบ/สมุนไพรอบตัวต้านโควิด มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 58 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลผลิตผักปลอดภัยภายใต้ แบรนด์ safe for sure จังหวัดลำพู น-ลำปาง พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดลำปางและจังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นโครงการยกระดับมาตรฐานผลผลิตพื ชผัก เป้าหมาย ด้วยการวิเคราะห์สารพิ ษด้วยชุดทดสอบที่ได้ จำนวนกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านการรับรอง รับการรับรองมาตรฐานและเป็นเทคนิคที่ มาตรฐาน 20 กลุ่ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และสำนักงาน จำวนผู้ประกอบการรายเดี่ยวได้รับรอง มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มาตรฐาน 12 ราย (มกอช.) ใช้ในการยืนยันคุณภาพพืชผักปลอด สารพิ ษ งบประมาณปี 2565 - 100,000 บาท ใช้การลงพื้ นที่เพื่ อประเมินปัจจัยการผลิต ผลการดำเนินงาน แวดล้อม และสุ่มตัวอย่างพืชผักของ เกษตรกรนำมาวิเคราะห์สารพิษตกค้าง พร้อม ลงพื้นที่ประเมินแปลงเพาะปลูก และเก็บ ทั้งคืนข้อมูลและหาแนวทางปรับปรุง ตัวอย่างวิเคราะห์สารพิ ษตกค้าง กระบวนการผลิตร่วมกัน ออกใบรับรองมาตรฐาน safe for sure ปี 65 มีความร่วมมือกับหน่วยงาน สำนักงานเกษตร เนื่องจากกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจาก และสหกรณ์จังหวัดลำปาง, กลุ่ม TOAF งบประมาณปี 2564 โดยงบประมาณ ปี 2565 PGS ลำปาง, กลุ่ม TOAF PGS ลำพู น, จะเป็นตรวจติดตามกลุ่มเดิมและรับรองกลุ่มใหม่ สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
59 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ พั ฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนโดย เป้าหมาย : ผลิตภัณฑ์แยมหรือสเปรดเพื่อสุขภาพ เน้นผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบอินทรีย์และเป็นผลิต จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ และถ่ายทอดกระบวนการ ภัณพ์เพื่อสุขภาพ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ ผลิตให้กับเกษตรกร เกษตรกร โดยผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาจะเป็น งบประมาณปี 2565 : 100,000 บาท ผลิตภัณฑ์แยมจากวัตถุดิบอินทรีย์ และบูรณา ผลการดำเนินงานไตรมาสที่สอง : ทางคณะดำเนิน การรายวิชาและให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ งานได้ทำการพั ฒนาผลิตภัณฑ์แยมมะม่วงผสม พัฒนาเชิงพื้นที่ ซึ่งรายวิชาที่บูรณาการได้แก่ เสาวรส และผลิตภัณฑ์แยมจากข้าวไรซ์เบอร์รี่ การแปรรูปอาหาร 2 เทคโนโลยีผักและผลไม้ อินทรีย์ผสมผลมัลเบอร์รี่ ซึ่งเป็นผลิตภัณพ์ที่ได้ การพั ฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร จากการร่วมระดมสมองกับเกษตรกร โดยใช้ วัตถุดิบอินทรีย์ และเป็นวัตถุดิบที่ทางเกษตรกร สามารถทำการเก็บรักษาไว้ในช่วงที่มีผลผลิตมาก และนำมาทยอยผลิตได้ตลอดทั้งปี โดยใช้มัลติทอล ไซรัปเป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล ซึ่งใน ไตรมาสที่ 2 นี้ ได้กระบวนการผลิตแยมมะม่วง ผสมเสาวรสเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และกำลังพัฒนา กระบวนการผลิตแยมจากข้าวไรซ์เบอร์รี่อินทรีย์ ผสมผลมัลเบอร์รี่ให้เสร็จสิ้น คิดเป็นปริมาณงาน ร้อยละ 60 ของงานทั้งหมด มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 60 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชมพู อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ เป้าหมาย ปัจจุบันผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ที่มาจาก ห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO จำนวน 1 ห้องปฏิบัติการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยได้รับความสนใจจากผู้ ผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้ นที่ได้รับการพั ฒนา บริโภค แต่ยังพบปัญหาในด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ และยกระดับ จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ ยังไม่ได้มาตรฐานและไม่มีความสม่ำเสมอ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผลิตภัณฑ์อาหารที่ผู้ประกอบการจะต้องเน้น งบประมาณปี 2565 100,000 บาท ให้มีความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค ผลการดำเนินงานไตรมาสที่สอง ตรวจ ดังนั้น คณะเทคโนโลยีการเกษตร จึงมีความมุ่งมั่นที่ จะเป็นหน่วยงาน (Third Party) สำหรับตรวจสอบ ติดตามคุณภาพภาพในโดยกรมวิชาการเกษตร คุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารที่ผ่านการรับรองตาม และศูนย์วิทยาศาสตร์ , มรภ.ลำปาง และดำเนิน มาตรฐานสากลด้วยระบบ การแก้ไขข้อบกพร่องก่อนนำส่งกรม ISO/IEC 17025:2017 วิทยาศาสตร์บริการในเดือนเมษายน 2565 รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน กรอบดำเนินการและการจัดสรรงบประมาณออก เป็น 3) กิจกรรมหลัก ได้แก่ การสอบเทียบประจำปีสำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการ ขอรับรอง การตรวจติดตามจากหน่วยงานภายนอก (กรม วิทยาศาสตร์บริการ) เพื่อขอ การให้บริการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
61 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ กองพั ฒนานักศึกษา โครงการขับเคลื่อนและขยายผลวิศวกรสังคม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการตลาด ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่พริก อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประชุม/แนะนำ/สังสรรค์/สร้างเสริมความเข้าใจร่วมกันในการพั ฒนา พื้นที่ของ นศ.วศค. โดยรูปแบบของการประชุมเป็นแบบออนไลน์ ลงพื้นที่ เพื่อศึกษาบริบท ปัญหา และสภาพจริง งบประมาณ : ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่าย โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองลำพู น จังหวัดลำพู น ผลการดำเนินการ ประชุม/แนะนำ/สังสรรค์/สร้างเสริมความเข้าใจร่วมกันในการพั ฒนา พื้นที่ร่วมกับผู้บริหาร วันที่ 8 ก.พ.2565 ประชุม/แนะนำ/สังสรรค์/สร้างเสริมความเข้าใจร่วมกันในการพั ฒนา พื้นที่ร่วมกับผู้นำชุมชน วันที่ 14 มี.ค 2565 สำรวจความต้องการของชุมชน แล้วทำการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้ เพื่ อนำไปจัดทำแผนในการดำเนินการต่อไป การดำเนินการในกิจกรรมครั้งที่ 1 จะดำเนินการในวันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน 2565 งบประมาณ : ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่าย ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 62 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้ นที่ดำเนินการ ตำบลวังพร้าว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ มีการลงพื้นที่และโทรศัพท์พู ดคุยกับกลุ่มอาชีพต่าง ๆ เพื่อค้นหา โจทย์ในการดำเนินงานพัฒนากลุ่มอาชีพ ร่วมกับนักศึกษาวิศวกร สังคมและกลุ่มอาชีพต่าง ๆ มีการวิเคราะห์ศักยภาพชุมชนในการทำหมู่บ้านท่องเที่ยวโฮมสเตย์และ เส้นทางท่องเที่ยว ต่อยอดจากกิจกรรม U2T ตำบลวังพร้าว ในหัวข้อ “เที่ยววังพร้าว อิ่มบุญ สุขใจ สักการะพระใหญ่ ไหว้ตะเคียนยักษ์” โดย ชุมชนและนักศึกษาวิศวกรสังคมมีส่วนร่วม งบประมาณ : ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่าย การส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ (วัดกู่คำ) พื้นที่ดำเนินการ ตำบลต้นธงชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประชุมนักศึกษาวิศวกรสังคม ประชุมปรึกษาหารือผู้นำในพื้ นที่ งบประมาณ : ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
63 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลี้ อำเภอลี้ จังหวัดลำพู น ผลการดำเนินการ กิจกรรมเวทีวิเคราะห์ปัญหาชุมชน และเวทีวิเคราะห์ปัญหาการจัดการ ขยะชุมชน บ้านกลาง ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ลำพู น วันที่ 10 มี.ค 2565 งบประมาณ 13,540 บาท (ดำเนินการแล้ว) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “เสวียนรักษ์โลก ลดขยะสร้างปุ๋ย” และ การจัดทำเสวียนรักษ์โลก วันที่ 26 มี.ค 2565 จัดทำเสวียนขนาดใหญ่ร่วมกันกับชุมชนบ้านกลาง กิจกรรมธนาคารใบไม้ ลด PM2.5 แลกไข่ งบประมาณ 15,600บาท กิจกรรมเปิดตลาดสวนสามแสน รักษ์โลก ร่วมกับชุมชนบ้านกลาง ตำบลลี้ (9 เม.ย 2565) กิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะในครัวเรือน ชุมชนบ้านกลาง และ มอบอุปกรณ์การคัดแยกขยะให้กับชุมชน (9 เม.ย 2565) พื้นที่ดำเนินการ บ้านฟ่อนและบ้านชมพู ตำบลชมพู อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ลงพื้นที่บ้านฟ่อนหมู่ 2 และเข้าร่วมประชุมหมู่บ้านร่วมกับชุมชนบ้าน ชมพู หมู่ 7 เพื่อสำรวจความต้องการของชุมชน ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 64 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้ นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านเป้า อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการประยุกต์ใช้องค์ ความรู้การปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาชุมชนตำบลบ้านเป้า อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ณ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2565 ลงพื้ นที่เพื่ อเก็บข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือนและชี้แจงการดำเนินกิจกรรม โครงการ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2565 จัดกิจกรรมอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 จัดกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะประเภทต่างๆ ในชุมชน ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 จัดทำประชาคมเพื่อตั้งกองทุนขยะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 ประเมินผลและถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ (การจัดการขยะครัว เรือนชุมชนทุ่งม่านเหนือ) ช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 จัดทำรายงานผลการจัดโครงการและนำเสนอผลการดำเนินงาน ช่วง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2565 งบประมาณ : ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่าย พื้ นที่ดำเนินการ บ้านใหม่รัตนโกสินทร์ ตำบลนาสัก ผลการดำเนินการ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง การลงพื้นที่เพื่อกำหนดปัญหา และการขอนุมัติโครงการ เมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2565 จัดเวทีเสวนาระหว่างนักศึกษาวิศวกรสังคม อาจารย์ เจ้าหน้าที่ดำเนินงาน และชุมชน เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดี และการนำทักษะวิศวกรสังคมไปประยุกต์ ใช้ในการแก้ปัญหาของชุมชน จัดอบรมให้ความรู้ ดำเนินการแก้ปัญหาร่วมกับชุมชน ติดตาม ประเมินผล และการวัดผลการดำเนินการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
65 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเถินบุรี อำเภอเถินจังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประชุม/แนะนำ/สังสรรค์/สร้างเสริมความเข้าใจ ร่วมกันในการพัฒนาพื้นที่ของ นศ.วศค. ประสานพื้ นที่และลงสำรวจพื้ นที่ เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการ ดูแลป่าชุมชนและการสำรวจพื้ นที่ป่าชุมชน กิจกรรม ได้แก่ นักศึกษาสำรวจป่าชุมชน สอบถาม การถอดข้อมูลตามสถานการณ์ วันที่ 30 มี.ค. 2565 นักศึกษาลงพื้ นที่เพื่ อลงมือปฏิบัติการตาม กิจกรรมที่กำหนด โดยมีกิจกรรมให้นักศึกษาร่วม สร้างแนวกันไฟและทางลาดตระเวน สะท้อนคิด วันที่ 5 เม.ย 2565 พื้นที่ดำเนินการ บ้านฟ่อนและบ้านชมพู ตำบลชมพู อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชุมชนเบื้องต้น เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2565 งบประมาณ1,320 บาท (ดำเนินการแล้ว) ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 66 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้นที่ดำเนินการ บ้านปางป๋วย ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ การลงพื้นที่เพื่อกำหนดปัญหา และการขอนุมัติโครงการ เมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2565 จัดเวทีเสวนาระหว่างนักศึกษาวิศวกรสังคม อาจารย์ เจ้าหน้าที่ ดำเนินงาน และชุมชน เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดี และการนำทักษะ วิศวกรสังคมไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาของชุมชน จัดอบรมให้ความรู้ ดำเนินการแก้ปัญหาร่วมกับชุมชน ติดตาม ประเมินผล และการวัดผลการดำเนินการ พื้ นที่ดำเนินการ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพู น ผลการดำเนินการ ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชุมชนเบื้องต้น เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2565 ประชุมเพื่อวางแผน ระหว่างอาจารย์และนักศึกษาในโครงการ วิศวกร ประชุมเพื่ อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนมอบหมายการ ติดตามกิจกรรมในพื้ นที่ เวทีประชุมร่วมกับผู้นำชุมชน, เกษตรตำบล, กลุ่มเกษตรกรและ ประชาชนเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการทำงานในวันที่ 4 เม.ย. 2565 เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรอินทรีย์ แบบผสมผสาน วันที่ 6 เมษายน 2565 เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการ ปลูกผัก ผลไม้ และสมุนไพรหมุนเวียน ระหว่างวันที่ 7-8 เม.ย 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
67 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ การสร้างฝายชะลอน้ำและการวางแผนการใช้ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม พื้นที่ดำเนินการ บ้านต้นต้อง หมู่ 5 ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประชุมเพื่อวางแผน ระหว่างอาจารย์และนักศึกษาในโครงการ วิศวกรสังคม ลงพื้นที่บ้านต้นต้อง เพื่อสัมภาษณ์นายก อบต.พิชัย เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลป่าชุมชน และการสำรวจพื้นที่ป่าชุมชน วันที่ 30 มี.ค 2565 นักศึกษาลงพื้ นที่เพื่ อลงมือปฏิบัติการตามกิจกรรมที่กำหนด โดยมีกิจกรรมให้นักศึกษาร่วมสร้างแนวกันไฟและทางลาด ตระเวน สะท้อนคิด วันที่ 5 เม.ย 2565 เวทีจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแนวกัน ไฟและเสวียนเก็บใบไม้ในพื้นที่ป่าชุมชน วันที่ 9-10 เม.ย 2565 โครงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานเพื่ อแก้ปัญหาชุมชน พื้ นที่ดำเนินการ วัดปงสนุก ตำบลเวียงเหนือ ผลการดำเนินการ อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ประชุม/แนะนำ/สร้างความเช้าใจร่วมกันของทีม งานนักศึกษาวิศกรสังคม ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2565 รูปแบบออนไลน์ รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้เพื่ อจัดเก็บองค์ความรู้ เกี่ยวกับภูมิปัญญาของชุมชน ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 68 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ การพัฒนาช่องทางการตลาด ผ่านนักเล่าเรื่องชุมชนคนบ้านเป้า พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านเป้า อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประชุม/แนะนำ/สังสรรค์/สร้างเสริมความเข้าใจร่วมกันในการ พัฒนาพื้นที่ของ นศ.วศค. วันที่ 9 ก.พ. 2565 ประชุม/มอบหมายงาน วันที่ 11 ก.พ. 2565 ลงพื้นที่ คัดเลือกผลิตภัณฑ์เด่น เพื่อเรียนรู้ Timeline กระบวนการอย่างถ่องแท้ วันที่ 25 ก.พ 2565 จัดเวทีการพัฒนานักเล่าเรื่องชุมชน(ทั้ง วศค.และชุมชน) ผ่าน ผลิตภัณฑ์ของดี ของเด่น ตำบลบ้านเป้า วันที่ 10,15 และ 18 มี.ค 2565 จัดเวทีเสวนา 3 พื้นที่คือ 1) บ้านหนองร่อง 2) บ้านทุ่งม่าน เหนือ 3) กลุ่มสืบสานลานนาศิลป์ วันที่ 4 - 5 เม.ย 2565 จัดเวทีการสื่อสาร หรือเป็น story teller ในวันที่ 30 เม.ย และวันที่ 1 พ.ค. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
69 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม โครงการยกระดับมาตรฐานและการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้ นเมืองสู่การ สร้างมูลค่าเพิ่ม ชุมชนผนวก University as a Marketplace พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าซาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพู น รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เพื่ อพั ฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอชุมชน ได้การพั ฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้ น OTOP ให้เป็นอาชีพและแหล่งรายได้ในชุมชน เมือง ไม่น้อยกว่า 30 ชิ้น เช่น เสื้อ บ้านฉางข้าวน้อย ตำบลป่าซาง อำเภอป่าซาง ลายปักเสื้อ กระเป๋า โคมไฟ เป็นต้น จังหวัดลำพู น ชุมชนได้รับการพั ฒนาและส่งเสริม เพื่ อบูรณาการรายวิชาหลักการออกแบบ การพั ฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้ น ผลิตภัณฑ์และให้นักศึกษาสาขาวิชาศิลปะและการ เมือง โดยใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่นเป็น ออกแบบได้มีส่วนร่วมในการพั ฒนาเชิงพื้ นที่ แนวความคิดการออกแบบ จำนวน เพื่ อให้แหล่งเรียนรู้การพั ฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอ 1 ชุมชน พื้นเมืองในชุมชนบ้านฉางข้าวน้อย ตำบลป่าซาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพู น เพื่ อให้เกิดองค์ความรู้ด้านการออกแบบและ นวัตกรรมการใช้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์สำเร็จรูป ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอท้องถิ่น ให้เกิดรูป แบบใหม่และตอบโจทย์ผู้บริโภค ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 70 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนช่างศิลป์ล้านนาลำปาง - ลำพู น และสมรรถนะภาคีเครือข่าย พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดลำปาง 8 ตำบลและจังหวัดลำพู น 2 ตำบล รูปแบบลักษณะโครงการ เป้าหมาย/ผลการดำเนินการ เป็นโครงการที่เน้นการเก็บรวบรวมข้อมูล มีฐานข้อมูลระดับตำบลรวม 10 ฐานข้อมูล เพื่ อจัดทำระบบฐานข้อมูลทางด้านศิลปะ 10 ตำบล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ประเมินและ วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาของท้องถิ่น วางแผนพั ฒนาเชิงพื้ นที่ตามศักยภาพแบ่งออก ของจังหวัดลำปางและจังหวัดลำพู นการมีบูรณา เป็น ในจังหวัดลำปาง จำนวน 8 ตำบลและ การกับภาคีเครือข่ายที่มีสมรรถนะในการนำข้อมูล จังหวัดลำพู น ไปใช้ประโยขน์เพื่ อการจัดทำแผนงานพั ฒนาเชิง จำนวน 2 ตำบล พื้นที่ 10 เครือข่าย ในจังหวัดลำปางและจังหวัด งบประมาณ : ปี 2565 จำนวน 200,000 ลำพู น ประกอบด้วย สำนักงานวัฒนธรรม บาท จังหวัดลำปาง สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ผลการดำเนินงานไตรมาส 1,2,3 : กิจกรรม ลำพู น สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง สำนักงาน ทั้งหมด 3 กิจกรรม ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว 1 ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม กิจกรรม และใช้จ่ายงบประมาณคิดเป็นร้อยละ อัธยาศัยจังหวัดลำปาง โรงเรียนวัดพระแก้ว 10 ของโครงการ ดอนเต้าสุชาดาราม เทศบาลตำบลนาครัว และ เทศบาลตำบลเวียงตาล เน้นในส่วนของช่าง ศิลป์ล้านนาในจังหวัดลำปางอีกทั้งบูรณาการ รายวิชาและให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ พั ฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
71 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ สถาบันวิจัยและพั ฒนา โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ กิจกรรมการจัดการน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และเพื่อการเกษตร กิจกรรมการลดต้นทุนในการทำการเกษตร จากการปลูกข้าวโพด มันเทศ มันสำปะหลัง ฯลฯ และข้าว จัดทำบ่อเลี้ยงปลา ขนาดเล็ก การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ข้าว มัน ข้าวโพด โดยการการ จัดทำแปลงมันต้นแบบ กิจกรรมการเพิ่ มรายได้จากอาชีพเสริมจากผลิตภัณฑ์พริกลาบพริก ข่า เครื่องดื่มเชียงดา กิจกรรมการส่งเสริมด้านสุขภาพโดยการช้รางจืดและเชียงดาใน การลดสารตกค้างและน้ำตาลในเลือด กิจกรรมการกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคีพั ฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ผลการดำเนินการ การประชุมติดตามคณะดำเนินงานโครงการครั้งที่ 1 รายงานผลการดำเนินการของแต่ละโครงการฯ สรุปโครงการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 72 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ สถาบันวิจัยและพั ฒนา โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านค่าและตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ การลดต้นทุนในการเลี้ยงโค จากการทำอาหารสัตว์ การลดต้นทุนในการทำการเกษตร จากการปลูกข้าวโพด มันเทศ มันสำปะหลัง มันม่วง ฯลฯ และข้าว จัดทำบ่อเลี้ยงปลา ขนาดเล็ก กิจกรรมการลดรายจ่ายจากน้ำอุปโภคบริโภค การจัดทำแปลงเกษตรสวนครัวปลอดภัย ไว้กินร่วมกันของชุมชน การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ข้าว มัน ข้าวโพด เห็ด ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
73 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ สถาบันวิจัยและพั ฒนา โครงการจัดทำฐานข้อมูลชุมชนและสมรรถนะภาคีเครือข่าย พื้นที่ดำเนินการ 100 อบต.และเทศบาล จังหวัดลำปาง ผลการดำเนินการ ประสานงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายเพื่ อร่วมพั ฒนาข้อมูลสารสนเทศทรัพยากรน้ำ และอากาศ ประสานงานหน่วยงานเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับฐานข้อมูลน้ำเบื้องต้นจาก สำนักงาน ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ภาค 1 ลำปาง(สทนช.) และสำนักงานทรัพยากรน้ำ ภาค 1 ลำปาง เก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณน้ำท่า(ผิวดิน/ใต้ดิน)พร้อมพิกัดตำแหน่ง 100 ตำบลจากเจ้า หน้าที่เก็บข้อมูล จัดทำปฏิทินสถานการณ์น้ำเพื่อการเกษตรทั้งปีในพื้นที่ 100 ตำบล จัดทำระบบสารสนเทศคลังน้ำจังหวัด เพื่อขอข้อมูลแบบต่อเนื่อง จัดอบรมขับเคลื่ือนเกษตรปลอดภัย/เพิ่มมูลค่าแบบครบวงจร จำนวน 25 ตำบล ในจังหวัดลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 74 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการจัดตั้งสถาบันภาษา โครงการพั ฒนาสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ รูปแบบลักษณะโครงการ ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษา เป็นโครงการที่มุ่งเน้นพัฒนาทักษะความรู้ด้านการใช้ภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา และอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพในด้าน ต่างๆ และเพื่อการพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยมีการจัดกิจกรรมทั้งในรูปแบบ ของการพัฒนาทักษะผ่านการจัดการอบรมภาษาอังกฤษในด้านต่างๆ การจัดสอบวัดระดับภาษา อังกฤษสำหรับนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาในรูป แบบที่มีความเฉพาะทางมากขึ้น การพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษผ่านการจัดการแข่งขันหรือการ ประกวดรวมถึงการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ด้านภาษา สื่อ Multimedia และ Software รวมถึง การจัดหาวัสดุตำราภาษาอังกฤษ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ใช้จ่ายงบประมาณแล้ว 918,894 บาท คิด กลุ่มเป้าหมาย เป็น 36.76% (ณ วันที่ 30 มีนาคม 2565) นักศึกษาสาขาครุศาสตร์ และสาขาอื่นๆ จำนวน 1,500 คน สอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ การอบรมเตรียมสอบและทดสอบวัดระดับ CEFR ในระดับ B1 และ B2 ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์ CEFR สำหรับ มีการจัดทำหลักสูตร/สื่อนวัตกรรมเพื่ อพั ฒนา นักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ในรูปแบบ Online ทักษะภาษาอังกฤษ จำนวน 2 หลักสูตร (มีนาคม - เมษายน) มีการจัดทำชุดข้อสอบมาตรฐานตามแนวของ การจัดอบรมภาษาอังกฤษด้วยโปรแกรม CEFR จำนวน 3 ชุด สำเร็จรูป English Discoveries งบประมาณดำเนินงาน 2,500,000 บาท Online ให้กับนักศึกษา (ภาคเรียนที่ 2/2564 และ 1/2565) การจัดหาสื่อตำราภาษาอังกฤษสำหรับใช้ ประกอบการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาพื้นฐาน (Stretch Student’s book) และโปรแกรมสำเร็จรูป English Discoveries Expert การจัดการประกวดทักษะภาษาอังกฤษ สำหรับนักศึกษา (LC Online Showcase) การจัดหาสื่อเสริมทักษะภาษาอังกฤษตาม ความต้องการของนักศึกษา ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
75 ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ โครงการจัดตั้งสถาบันภาษา โครงการพั ฒนาสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษา กิจกรรมภายใต้โครงการที่ได้ดำเนินการแล้ว กิจกรรมการประกวดพั ฒนาทักษะภาษาอังกฤษ แผนการดำเนินงานในไตรมาสต่อไป การอบรมภาษาอังกฤษรูปแบบออนไลน์ การอบรมเตรียมสอบและทดสอบวัดระดับภาษา การจัดทำหลักสูตร/สื่อนวัตกรรมเพื่ อพั ฒนาทักษะ อังกฤษสำหรับนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายก่อนจบการ ภาษาอังกฤษ และการจัดอบรมภาษาอังกฤษ ศึกษา (Exit Exam) รูปแบบออนไลน์ สำหรับนักศึกษาในหลักสูตรต่างๆ (เพื่อให้ นศ.เข้า อบรม Online ในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน) การพั ฒนาข้อสอบวัดระดับภาษาอังกฤษตามแนว มาตรฐาน CEFR (ทำแผนดำเนินงานร่วมกับเครือ ข่าย มรภ. กลุ่มภาคเหนือ 20-22 เม.ย.65) การจัดกิจกรรมเสริมเพื่ อพั ฒนาทักษะภาษา อังกฤษผ่านการประกวดรูปแบบต่างๆ การจัดหาสื่อเสริมทักษะภาษาอังกฤษตามความ ต้องการของนักศึกษา การทดสอบวัดระดับภาษาอังกฤษของ นศ. ตาม แนวมาตรฐาน CEFR มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 Lampang Rajabhat University
ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ 76 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ กองกลาง โครงการอุทยานวิถีพอเพี ยง (ศูนย์การเรียนรู้เกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดำริ) พื้นที่เป้าหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง หมู่ 9 ตำบลชมพู จังหวัดลำปาง รูปแบบลักษณะโครงการ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ : เป็นการน้อมนำแนวพระราชดำริ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ดำเนินการโครงการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้เกิดเป็นแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม และสามารถ นำไปใช้ได้จริง รูปแบบลักษณะการดำเนินงาน : เป็นกิจกรรมที่ดำเนินอย่างเนื่อง มีการสร้างฐานการเรียนรู้ตาม แนวพระราชดำริ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษา บุคลากร อาจารย์ เกษตรกร และผู้ที่สนใจ ทั่วไปในท้องถิ่น ปัจจุบันมีการทำเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน ซึ่งมีงานหลักในปัจจุบันได้แก่ การปลูก พืชหมุนเวียน การปลูกไม้ผล การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงโค การผลิตปุ๋ยหมักคุณภาพ การปลูกข้าวอินทรีย์ และการอนุรักษ์กระบือไทย ตลอดจนถึงโครงการอบรมทางด้านการเกษตรทั้งพืชและสัตว์ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 1. เป็นศูนย์สาธิตการทำการเกษตรแบบ ผสมผสานตามแนวพระราชดำริ 2. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำเกษตร และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ งบประมาณปี 2565 : 300,000 บาท ผลการดำเนินงานไตรมาสแรก 1. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเกษตร นักศึกษา และบุคลากร 2. สามารถสร้างรายได้จากผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตจากอุทยานวิถี พอเพี ยง ตุ ล า ค ม 6 4 - มี น า ค ม 6 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Lampang Rajabhat University
Search