Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารบัญ

สารบัญ

Published by Darin Pomoon, 2022-02-07 03:56:30

Description: สารบัญ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินงาน LAMPANG โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ จังหวัดลำปาง https://www.lpru.ac.th

สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร บทนำ รายงานสรุปตัวชี้วัดการดำเนิ นงานระดับตำบล และระดับสถานบันอุดมศึกษา ของโครงการฯ ระดับจังหวัด ผลการศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคม รายจังหวัดของโครงการ U2T ด้วยเครื่องมือ SROI

สารบัญ รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล THAILAND COMMUNITY BIG DATA เรื่องเล่าความสำเร็จ SUCCES STORY ของจังหวัดลำปาง ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS เพื่ อต่อยอดการพัฒนาจังหวัด ภาคผนวก

บทสรุปผู้บริหาร การประเมินศักยภาพตำบล จังหวัดลำปางมีพื้นที่ดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมรายตำบลแบบบูรณาการจำนวน 83 ตำบลและมี ก่อนประเมิน หลังประเมิน สถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมทำงานในพื้นที่ จำนวน 6 สถาบัน 50 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 40 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยราชมงคลกรุงเทพ 30 ผลการดำเนินการในระยะที่ 1 สามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า มหาวิทยาลัยฯ ประสบความสำเร็จในการดำเนินการตาม 20 วัตถุประสงค์ทั้ง 4 ประการ กล่าวคือ 1) มหาวิทยาลัยได้ทำหน้ าที่เป็นหน่วยงานบูรณาการโครงการ 10 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) สามารถจ้างงานได้จำนวน 1,494 คน แบ่งเป็นประชาชน 0 ทั่วไป 415 คน บัณฑิตจบใหม่ 664 คน และนักศึกษา 415 ตำบลยากลำบาก ตำบลอยู่รอด ตำบลพอเพียง ตำบลยั่งยืน คน 3) พัฒนาตามปัญหาและความต้องการของชุมชนทั้งสี่ด้าน (จะ Social Literacy Digital Literacy ได้วิเคราะห์เพิ่มเติมในตอนต่อไป) และ 85.44 % 79.77 % 4) ได้จัดทำข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการแก้ไข ปัญหาความยากจนแบบมีเป้ าหมายชัดเจน Financial Literacy English Literacy การมีส่วนร่วม/ภาคีเครือข่าย 95.91 % 81.17 % 80.3 ล้านบาท บนพื้นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชนที่เก็บรวมรวมโดย ศักยภาพ ผู้รับจ้างทำงานประจำตำบลทั้ง 83 ตำบลตามกรอบที่ อว. กำหนด 108.8 ล้านบาท สามารถสรุปได้ว่าระดับของปั ญหาความยากจนยังมีความแตกต่าง กันค่อนข้างชัดเจนเมื่อเทียบเกณฑ์ของ อว. ที่กำหนดไว้ 4 ระดับ เศรษฐกิจ/การเงิน คือ ตำบลที่ยังไม่สามารถอยู่รอด ตำบลที่อยู่รอด ตำบลมุ่งสู่ความพอ 448.8 ล้านบาท เพียง และตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน ตัวเลขสถิติดังแสดงในแผนภูมิ ศักยภาพตำบล และผู้รับจ้างทำงานประจำตำบลทั้ง 83 ตำบลได้รับ สุขภาวะ(กาย-ใจ) การฝึกอบรมทักษะและหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ Digital 185.5 ล้านบาท Literacy,English Literacy,Financial Literacy และ Social Literacy การร่วมทำกิจกรรมภายใน 83 ตำบล ได้แก่ การพัฒนา สิ่งแวดล้อม สัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่จำนวน 249 กิจกรรม การสร้างและ 1.2 ล้านบาท พัฒนา Creative Economyจำนวน 197 กิจกรรม การนำองค์ความ รู้ไปช่วยบริการชุมชนจำนวน 146 กิจกรรมการส่งเสริมด้านสิ่ง มูลค่าผลลัพท์รวม แวดล้อม/Circular Economyจำนวน 141 กิจกรรม และอื่นๆ 824.5 ล้านบาท จำนวน 4 กิจกรรม

ลำปางเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือ ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบ บทนำ ล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อ เรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร , เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า \"เมืองรถม้า\" ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง ลำปางตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มรอบล้อมด้วยหุบเขาจากทุก ด้าน ทำให้มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ มีแม่น้ำสำคัญคือ แม่น้ำวังที่มีต้นน้ำอยู่ที่ตอนเหนือ บริเวณอำเภอวังเหนือ ที่ ไหลลงจากเหนือสู่ใต้ พื้นที่ราบที่กว้างใหญ่ที่สุดอยู่บริเวณ ตอนกลางนั่นคือ บริเวณอำเภอเมืองลำปาง อำเภอเกาะคา และอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปางมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอื่น ๆ เรียงตาม เข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และ พะเยา ทิศตะวันออก ติดกับ จังหวัดพะเยา แพร่ และสุโขทัย ทิศใต้ ติดกับ จังหวัดสุโขทัยและตาก ทิศตะวันตก ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และตาก จังหวัดลำปางแบ่งการปกครองออกเป็น 13 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองลำปาง อำเภอแม่เมาะ อำเภอเกาะคา อำเภอเสริมงาม อำเภองาว อำเภอแจ้ห่ม อำเภอวังเหนือ อำเภอเถิน อำเภอแม่พริก อำเภอแม่ทะ อำเภอสบปราบ อำเภอห้างฉัตร และอำเภอเมืองปาน มีตำบลจำนวน 100 ตำบล โดยในพื้นที่จังหวัดลำปางที่มีการดำเนินโครงการ U2T ในปี 2564 มี จำนวน 83 ตำบลใน 12 อำเภอ ยกเว้นอำเภอวังเหนือ โดยมีสถาบันที่ร่วม กับพื้นที่จำนวน 6 สถาบัน ได้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางรับผิดชอบ ตำบลจำนวน 56 ตำบล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รับผิดชอบตำบลจำนวน 16 ตำบล มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนารับผิดชอบตำบลจำนวน 5 ตำบล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รับผิดชอบตำบลจำนวน 4 ตำบล มหาวิทยาลัย เชียงใหม่รับผิดชอบตำบลจำนวน 1 ตำบล และมหาวิทยาลัยราชมงคล กรุงเทพรับผิดชอบตำบลจำนวน 1 ตำบล

รายงานสรุปตัวชี้วัดการ ดำเนินงานระดับตำบลและ ระดับสถานบันอุดมศึกษา ของโครงการฯระดับ จังหวัด

การประเมินศักยภาพตำบลและกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ 83 ตำบล ก่อนประเมิน หลังประเมิน 50 40 30 20 10 0 ตำบลอยู่รอด ตำบลพอเพียง ตำบลยั่งยืน ตำบลยากลำบาก การพัฒนาสัมมาชีพและการสร้างอาชีพ การยกระดับการท่องเที่ยว Health Care / เทคโนโลยีด้านต่างๆ การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน อื่นๆ 40 30 20 10 0 ตำบลอยู่รอด ตำบลพอเพียง ตำบลยั่งยืน ตำบลยากลำบาก การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่จำนวน 249 กิจกรรม การสร้างและพัฒนา Creative Economyจำนวน 197 กิจกรรม การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชนจำนวน 146 กิจกรรม การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economyจำนวน 141 กิจกรรม และอื่นๆ จำนวน 4 กิจกรรม

นักศึกษา การจ้างงานในพื้นที่ บัณฑิต 27.8% 664 คน บัณฑิต 44.4% นักศึกษา 415 คน ประชาชน 415 คน ประชาชน 27.8% 100 % 75 % 50 % 25 % 0% Digital Literacy English Literacy Financial Literacy Social Literacy 79.77% 81.17% 95.91% 86.44%

ข้อมูลจาก TPMAP จังหวัดลำปาง TPMAP ใช้วิธีการคำนวณดัชนีความยากจน ด้านสุขภาพ หลายมิติ(Multidimensional Poverty Index: MPI) ซึ่งคิดค้นโดย Oxford Poverty & Human ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ ด้านความเป็ นอยู่ Development Initiative และ United Nation Development Programme ซึ่ง สศช. ได้นำมา ด้านรายได้ ด้านการศึกษา ปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจน หลายมิติ หรือ MPI อาศัยหลักการที่ว่า คนจนคือ ผู้ที่มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าเกณฑ์คุณภาพชีวิตที่ดีใน มิติต่างๆ ซึ่ง TPMAP พิจารณาจาก 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านการเงิน ด้าน ความเป็นอยู่ และด้านการเข้าถึงบริการรัฐ TPMAP ก่อนโครงการ ก่อนโครงการ หลังโครงการ ด้านสุขภาพ 1 0.75 ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ ด้านความเป็ นอยู่ 0.5 0.25 0 ด้านรายได้ ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็ นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านการศึกษา คนจนการศึกษา คนจนสุขภาพ TPMAP หลังโครงการ 10.8% 15.5% คนจนความเป็ นอยู่ TPMAP จังหวัดลำปาง 6.2% ภาพรวมคนจนในปี 2562 คนจน 15,717 คน จากประชากรสำรวจ 512,130 คน คนจนรายได้ 67.5% ข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อเสนอแนะเพื่ อนำไปสู่การออกแบบบริการ วิชาการที่สอดคล้องกับความจำเป็ นของตำบล โจทย์การพัฒนาเพื่อแก้ปั ญหา กิจกรรมเพื่ อออกแบบบริการ ส่วนงานของมหาวิทยาลัยที่ ความยากจน วิชาการ รับผิดชอบ 1.การพัฒนาสัมมาชีพและ 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์จาก 1. คณะเทคโนโลยีอุตสาห สร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับ วัสดุในท้องถิ่น กกรรม สินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) 2. คณะเทคโนโลยี - งานจักสาน การเกษตร - งานแกะสลักไม้ 3. คณะวิทยาศาสตร์ - งานจัดทำของที่ระลึก 2. การแปรรูปอาหาร จาก ผลผลิตทางการ - เกษตร - กระเทียม - สับปะรด - กล้วยน้ำว้า/กล้วย หักมุก - ถั่ว - ข้าว/ข้าวเหนียว 3. การบรรจุภัณฑ์ (packaging) เพื่อให้สอดรับ กับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม และการแปรรูปอาหาร 4. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ เพื่ อเป็ นอาหารและรายได้ เสริม - การเลี้ยงเป็ด/ไก่ - การเลี้ยงหมู - การเลี้ยงกบ/ปลา 5. ส่งเสริมการทำเกษตร อินทรีย์ 6. ส่งเสริมการเพาะเห็ด 7. ส่งเสริมการปลูกพืช สมุนไพร

โจทย์การพัฒนาเพื่อแก้ปั ญหา กิจกรรมเพื่ อออกแบบบริการ ส่วนงานของมหาวิทยาลัยที่ ความยากจน วิชาการ รับผิดชอบ 2.การสร้างและพัฒนา 1. ส่งเสริมการท่องเที่ยว 1. คณะวิทยาการจัดการ Creative Economy (การยก ชุมชน/โดยชุมชน 2. คณะมนุษยศาสตร์และ ระดับการท่องเที่ยว) สังคมศาสตร์ - homestay 3. คณะครุศาสตร์ - ท่องเที่ยวเชิงเกษตร - ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - ท่องเที่ยวแบบเล่าเรื่อง 3.การนำองค์ความรู้ไปช่วย 1. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 1. คณะวิทยาการจัดการ บริการชุมชน (Health Care/ ภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร์ 2. คณะมนุษยศาสตร์และ เทคโนโลยีด้านต่างๆ) เบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว สังคมศาสตร์ 2. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการ 3. คณะเทคโนโลยีการเกษตร ดูแลผู้สูงอายุ 4. คณะพยาบาลศาสตร์ 3. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการ ทำปุ๋ยหมัก 4. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการทำบัญชี ด้านการ ตลาด การโฆษณา/ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ 5. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการ จัดตั้งวิสาหกิจชุมชน 6. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการ เป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น 4.การส่งเสริมด้านสิ่ง 1. ส่งเสริมให้มีการทำปุ๋ยหมัก 1.คณะเทคโนโลยีการเกษตร แวดล้อม/Circular อินทรีย์เพื่อใช้ในครัวเรือน/ 2.คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Economy (การเพิ่มรายได้ จำหน่าย หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) 2. ส่งเสริมอาชีพการทำ ผลิตภัณฑ์จากของเหลือใช้ (เช่น ตะกร้าพลาสติก ดอกไม้ กระดาษ) 3. ส่งเสริมการปลูกไม้ดอก/ไม้ ประดับเพื่อจำหน่าย

ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย มาตรการ COVID-19 ระดับจังหวัด

ตลาด โรงเรียน กำหนดให้มีทางเข้า-ออก ทุกคนต้องสวมหน้ ากากอนามัย ที่ชัดเจนและมีการคัดกรอง และวัดอุณหภูมิก่อนเข้าสถานศึกษา ผู้ใช้บริการต้องสวมหน้ ากากอนามัย เว้นระยะห่างระหว่างกัน ตลอดเวลา และเว้นระยะห่าง 1 เมตร อย่างน้ อย 1-2 เมตร ทำความสะอาดบริเวณพื้นตลาด มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้ และห้องน้ำอย่างสม่ำเสมอ การป้ องกันโรคโควิด 19 ผ่านช่องทาง Social media ให้แก่นักเรียน บุคลากร และผู้ปกครอง

ที่พักอาศัย ศาสนสถาน ดูแลสุขลักษณะและผู้อาศัยล้างมือบ่อยๆ คัดกรองผู้เข้าร่วมประกอบพิธีกรรม ด้วยสบู่หรือเจลเอลกอฮอล์ ทางศาสนาต่างๆ อย่างเคร่งครัด ใส่หน้ ากากอนามัยเมื่อมีการพูดคุย ต้องสวมหน้ ากากอนามัยตลอดเวลา และเว้นระยะห่าง 1 เมตร ทำความสะอาดบริเวณพื้นตลาด และห้องน้ำอย่างสม่ำเสมอ ตรวจ ATK ทุกครั้ง จัดภาชนะสำหรับบรรจุอาหาร เมื่ิอกลับจากต่างจังหวัดหรือสถานที่เสี่ยง 1 ชุด ต่อ 1 คน

ผลการศึกษาผลกระทบ เชิงเศรษฐกิจและสังคม รายจังหวัดของโครงการ U2T ด้วยเครื่องมือ SROI

การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม (Social Return On Investment)

KEY STRATEGIC FOCUS จังหวัดลำปาง

ข้อมูลเพิ่มเติม

จำนวนข้อมูลจังหวัด THAILAND 29184 ข้อมูล COMMUNITY จาก 10 แหล่งข้อมูล BIG DATA LAMPANG COVID-19 สาเหตุการย้ายคือลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินชีวิต แหล่งท่องเที่ยว ย้ายมาจากกรุงเทพมหานครมากที่สุด 924 แหล่ง รองมาคือจังหวัดเชียงใหม่ ร้านอาหารท้องถิ่น 1726 โดดเด่นที่สุดคือ แหล่งท่องเที่ยว เชิงประวัติศาตร์และวัฒนธรรม ร้าน โดดเด่นรองมาคือ แหล่งท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ อาหารท้องถิ่นที่โดดเด่น พื ชท้องถิ่นที่โดดเด่น ที่พั ก 368 แห่ง น้ำพริกหนุ่ม แกงเห็ดถอบ ผักแพว ปูเลย(ไพร) ชะอม โฮมสเตย์ 27.72 % จิ้นส้ม โรงแรม 21.74 % ไข่ป่ าม รีสอร์ท 16.85 % หอพัก 11.68 % อื่นๆ 9.24 % สัตว์ท้องถิ่น เกษตรกรท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งน้ำ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 52.15 % ภูมิปั ญญาท้องถิ่น 63.25 % ลำห้วย/คลอง 231 แห่ง สัตว์ปี ก 27.79 % ภูมิปั ญญาดั้งเดิม 32.4 % อ่างเก็บน้ำ 175 แห่ง สัตว์น้ำ 17.69 % นวัตกรรมที่ติดขึ้นมาใหม่ 4.35 % แม่น้ำ 126 แห่ง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ 4.78 % ฝาย 93 แห่ง หนอง/บึง 72 แห่ง เขื่อน 17 แห่ง

เรื่องเล่าความสำเร็จ SUCCESS STORY ของจังหวัดลำปาง

ตำบลชมพู อำเภอเมือง ลำปาง จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลสบตุ๋ย อำเภอเมือง ลำปาง จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลท่าผา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลวังเงิน อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลผาปัง อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลแม่ปุ อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลปงยางคก อำเภอ ห้างฉัตร จังหวัดลำปาง SUCCESS STORY

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอ เมืองลำปาง จังหวัดลำปาง

ตำบลบ้านโป่ง อำเภองาว จังหวัดลำปาง

ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS

บทวิเคราะห์เพื่ อเสนอจังหวัด จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก 83 ธุรกิจใหม่ ตำบล ในพื้นที่จังหวัดลำปางลำปาง โดย อว.ส่วน • ออกแบบบรรจุภัณฑ์ หน้ าจังหวัดลำปาง พบว่า ประชาชนประกอบอาชีพ หลัก ด้านเกษตรกรและรับจ้างทั่วไป อาชีพรอง ได้แก่ ทำสวน ทำไร่ ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ อุตสาหกรรมในตัวเมือง • จัดตั้งกลุ่มจำหน่ายลูกประคบเซรามิก • พัฒนาธุรกิจดั้งเดิม กลุ่มสัมมาอาชีพบ้านจู้ด น้ำพริกลาบ • น้ำพริกลาบสูตรมะแขว่น สามารถขยายผลเป็นสินค้า OTOP ในอนาคต สินค้าเด่น ประกอบด้วยกัน 5 ประเภท ดังนี้ 1. อาหาร/ขนม ได้แก่ ข้าวแต๋น น้ำพริกลาบ ข้าวเกรียบรสลาบ ไส้อั่ว ทาร์ตสับปะรด กล้วยทอด ไส้สับปะรด กล้วยตาก ขนมไทย ผลิตภัณฑ์บราวนี่จากจิ้งโกร่ง น้ำข้าวกล้องงอก ขนมครก น้ำข้าว กล้องงอก ข้าวหอมมะลิแดง ผลิตภัณฑ์จากถั่วลิสงถั่วกรอบแก้ว ผักปลอดภัย อาหารปลอดภัย เนยถั่ว ถั่วคั่วเนย หล่อไม้ในน้ำเกลือ เนื้อสวรรค์ เห็ดสามรส มะม่วงแช่อิ่ม พริกแกงกึ่งสำเร็จรูป(แกงแค,แกง ขนุน,ฯลฯ) มหาวิทยาลัยสามารถให้การสนับสนุนในเรื่องดังต่อไปนี้ - การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ - ให้ความรู้เรื่อง IT เกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ของกลุ่ม เพื่อเป็นช่องทางในการจำหน่ายสินค้าและเชื่อม โยงเครือข่ายสินค้า - ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์

2. หัตถกรรม ได้แก่ ทอผ้าย้อมสีธรรมดา ผ้ามัดย้อมอิฐและกระถางจากของเหลือใช้ เซรามิค ปั้นมือ ไม้กวาดดอกหญ้า/ไม้ถูพื้น ต้นเงิน/ทอง การผลิตเส้นใยสัปปะรด หน้ ากากอนามัย กระเป๋ าถือ กระเป๋ าใส่โทรศัพท์ เพื่อผลิตชิ้นงานจากเซรามิค ผ้าทอ มหาวิทยาลัย สามารถให้การสนับสนุนในเรื่อง ดังต่อไปนี้ - การออกแบบและการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ - ให้ความรู้เรื่อง IT การสร้างเว็บไซท์ของกลุ่ม เพื่อเน้ นช่องทางในการจำหน่ายสินค้าและเชื่อมโยง เครือข่ายสินค้า 3. ผลิตภัณฑ์ของใช้ สบู่บำรุงผิวจากเห็ดเยื่อไผ่และเห็ดนมเสือ ปุ๋ยหมักชีวภาพ ถ่านจากข้อ ไผ่ แชมพูสมุนไพร ผลิตภัณฑ์จากขยะ เช่น ตะกร้า ธูป ผ้ากันเปื้ อน ไม้เลื่อนเงิน ผลิตภัณฑ์จาก ปูนา ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ กล้าไม้สัก มหาวิทยาลัย สามารถให้การสนับสนุนในเรื่องดังต่อไปนี้ - การออกแบบและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ - ให้ความรู้ IT การสร้างเว็บไซต์ของกลุ่มเพื่อเน้ นช่องทางในการจำหน่ายสินค้าและเชื่อมโยงเครือ ข่ายสินค้า

4.การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ เลี้ยงกบ เลี้ยงปลาดุกในกระชัง ปุ๋ยไส้เดือน มหาวิทยาลัย สามารถให้การสนับสนุนในเรื่องดังต่อไปนี้ - การให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยง และการคัดเลือกสายพันธุ์และการบำรุงสายพันธุ์ - ให้ความรู้เรื่อง IT การสร้างเว็บไซต์ของกลุ่มเพื่อเป็นช่องทางในการจำหน่ายสินค้า และเชื่อมโยง เครือข่ายสินค้า 5.การท่องเที่ยว ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3 มิติ สุขกาย สุขใจ สุขภาพดี การท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์ปางช้าง ต.ทุ่งผึ้ง การท่องเที่ยวธรรมชาติเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีชีวิตชน เผ่าอี้วเมี่ยน มหาลัยสามารถให้การสนับสนุนดังเรื่องต่อไปนี้ - ให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวการสร้าง จุดเด่น จุดขาย - ให้ความรู้เกี่ยวกับการเป็นมัคคุเทศก์เพื่อนำนักท่องเที่ยว ชมแหล่งท่องเที่ยว - การให้ความรู้เกี่ยวกับ IT เพื่อสร้างเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว เชิญชวนผู้สนใจเยี่ยมชมแหล่ง ท่องเที่ยว - จัดทำแพ็คเกจการท่องเที่ยว - การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวกับสินค้าในชุมชน

การพัฒนาสังคม ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง จัดให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนประชาชนในพื้นที่ 83 ตำบล โดยในด้านของการป้ องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งมี การดำเนินการดังนี้ 1.ควรส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนรับการฉีดวัคซีนให้ทั่วถึง ให้ความรู้การป้ องกัน เบื้องต้นในตนเอง การใส่หน้ ากากอนามัย การรับประทานอาหารร่วมกัน การใช้ชีวิตภายใน ครอบครัว ปฏิบัติตนตามวิถีชีวิตใหม่ (New normal) เว้นระยะห่างเป็นต้น 2.กระตุ้นให้ผู้ใหญ่บ้านร่วมกับ อสม. ควบคุมดูแลการเข้า-ออก/ของคน ในหมู่บ้าน/ชุมชน รวมทั้งควบคุมดูแลการเข้า-ออกของคนนอกชุมชน 3.ให้ข้อมูลข่าวสาร การเคลื่อนไหวของข้อมูลโรคระบาดและการปฏิบัติตนในครอบครัว และชุมชนอย่างสม่ำเสมอ 4.การใส่ใจดูแลคนในครอบครัวและชุมชน ในภาวะโรคระบาดนอกจากช่วยยับยั้งการ แพร่ระบาดของโรค ย่อมมีส่วนช่วยป้ องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาด/ยับยั้งการใช้ยาเสพ ติดของเยาวชนในหมู่บ้าน/ชุมชนอีกทางหนึ่ งด้วย - การแก้ไขปัญหา หากพบว่าคนในหมู่บ้าน/ชุมชนติดเชื้อ Covid-19 ประสานความ ร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนช่วยเหลือ พร้อมให้คำแนะนำช่วยเหลือแก้ปัญหา ตามกระบวนการและขั้นตอนของการรักษาโรค ข้อเสนอแนะการพัฒนาเพื่อแก้ไขปั ญหาความ ยากจนในมิติต่าง ๆ ของจังหวัดลำปาง การนำเทคโนโลยีและองค์ความรู้สู่ชุมชน 1. ผู้นำองค์ความรู้สู่ชุมชนจำเป็นต้องศึกษาและมีความเข้าใจบริบทของชุมชนว่า มีวิธีคิด วิถีชีวิต ประวัติศาสตร์ แบบแผน การประกอบอาชีพ และตำนานชุมชน 2. ส่งเสริมการขับเคลื่อนศูนย์เรียนรู้ชุมชน ให้เกิดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการพัฒนาชุมชนให้กับคนชุมชน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ของชุมชน การส่งเสริม กระบวนการมีส่วนร่วม 3. ผู้นำชุมชนและคนในชุมชนเองควรตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาหมู่บ้านของตนเอง โดย ไม่ยึดติดกับหน่วยงานภาครัฐมากเกินไป ไม่ต้องรอคอยให้หน่วยงานใดเข้ามาสนับสนุนงบประมาณหรือ กิจกรรม ชุมชนเองต้องมองตัวเองเป็นหลัก และพร้อมใจที่จะสละเวลาของตนเอง เพื่อพัฒนาหมู่บ้าน โดยการหมั่นศึกษาหาข้อมูล เรียนรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันและนำความรู้ที่ ได้ไปปรับใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน 4. อย่าปกปิดปัญหา เพราะมองว่าเป็นเรื่องส่วนตัว ไม่ควรก้าวก่าย หรือมักบิดเบือนเพื่อสร้างภาพว่า ชุมชน หรือตัวเราไม่มีปัญหา เพราะจะเป็นกระบวนการพัฒนาคลาดเคลื่อนเป้ าหมายและไม่สามารถ แก้ไขปั ญหาของชุมชนได้

การเพิ่มรายได้หมุนเวียนแก่ชุมชน 1.ใช้ของดีในชุมชนสร้างเป็นรายได้ โดยการเลือกนำเอาของดีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น นำมา แปรรูป นำมาดัดแปลงเป็นงานฝีมือ และอื่น ๆ โดยให้ชาวบ้านในชุมชนร่วมแรงร่วมใจกันทำ พร้อมแบ่ง รายได้อย่างเท่าเทียม 2. สร้างแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน พร้อมให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม หากชุมชนมีจุดเด่นในการทำเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ เช่น มีสวนสวย น้ำตก วัดวาอาราม และอื่น ๆ เรา สามารถนำมาสร้างเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ พร้อมให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อทำอาชีพเสริม เช่น จำหน่ายอาหารของที่ระลึก งานฝีมือ เป็นต้น 3. นำงานฝีมือที่จัดทำได้ส่งขายนอกชุมชนด้วย เพื่อเป็นการต่อยอด สร้างรายได้ให้กับคนในหมู่บ้าน เพิ่มเติม 4. ใช้ผลิตผลทางการเกษตรเพิ่มรายได้ หากว่าชุมชนมีผลิตผลทางการเกษตรมากจนส่งขายออกไม่ หมด ไม่ได้ราคา เราอาจเลือกเอาผลผลิต มาทำการแปรรูปพร้อมส่งขายหรือเป็นของขึ้นชื่อของพื้นที่ได้ 5.นำความรู้พัฒนาให้เกิดรายได้ทางอื่นซึ่งแต่ละชุมชนจะมีจุดเด่น ต่างกันออกไป เพื่อเป็นการสร้างราย ได้หลากหลายทาง เช่น การทำไร่นา สวนผสม เป็นต้น บทสรุป การแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนเป็นกระบวนการที่มีความละเอียดอ่อน มิใช่เพียงรู้ เหตุผลพื้นฐานแล้วแก้ได้ในทันที เช่น รู้ว่าชาวบ้านยากจนเพราะไม่มีเงิน ก็แจกเงินหรือรู้ว่าชาวบ้านไม่มี ที่ทำกินก็แจกโฉนดที่ดินการทำเช่นที่ว่าไม่ใช่การขจัดปัญหาแต่เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้ าซึ่งไม่มี ความยั่งยืน จนแล้วแจกเงินเมื่อเงินหมดก็จนใหม่แล้วก็แจกใหม่ จนเพราะไม่มีที่ดินทำกินแล้วแจก โฉนดที่ดินชาวบ้านมีที่ดินแล้วถามว่ามีทักษะความสามารถในการใช้ที่ดินนั้นให้เกิดประโยชน์ได้หรือไม่ ในหลวงรัชกาลที่ 9 เคยตรัสไว้ว่า “เขาอยากกินปลา อย่าเอาปลาให้เขา แต่ให้เอาเครื่องมือหาปลาให้ พร้อมสอนให้เขามีทักษะในการจับปลา” หลักปรัชญานี้สามารถถ้าสามารถนำไปประยุกต์จะแก้ปัญหา ความยากจนได้อย่างยั่งยืน การแก้ปัญหาใดๆ ให้ประสบความสำเร็จ ต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุมิใช่การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ กรณีของปัญหาความยากจนก็เช่นเดียวกัน ต้องเข้าใจให้ถ่องแท้ก่อนว่าที่เขาจน จนเพราะอะไร จนที่ ตัวเงิน (monetary poverty ) หรือจนที่ตัวคน (human poverty) จากนั้นก็พินิจพิเคราะห์ให้ลึกซึ้งใน ปัจจัยรอบด้านทั้งภูมิกายภาพและภูมิสังคมที่ทำให้เขายากจนแล้วจึงค่อยหาแนวทางในการแก้ไข กล่าว ให้ชัดเจนคือต้องแก้ไขปัญหาความยากจนโดยประยุกต์หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” การดำเนินโครงการ U2T ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่ผ่านมาได้ทำความเข้าใจและเข้าถึง ปัญหาความยากจนของชาวบ้านแล้วอย่างน้ อย 83 ตำบล พันธกิจที่ต้องดำเนินการต่อไป คือ จะพัฒนา เขาอย่างไรเพื่อให้หลุดพ้นจากความยากจน มหาวิทยาลัยฯ มีศักยภาพและความพร้อมในการช่วยเหลือ สนับสนุนการดำเนินการดังกล่าวโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของบุคลากร องค์ความรู้ เทคนิคและวิธีการ อาจขาดอยู่บ้างในส่วนของปัจจัยด้านงบประมาณ เสนอแนะว่าการประสานความร่วมมือกับองค์กรและ/ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่ง จังหวัลำปาง อบจ.ลำปาง องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่เป็นเรื่องที่จำเป็นเพราะจะทำให้ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win/win situation) ประเด็นสุดท้ายที่ขอฝากเป็นแนวทางการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อเป็นการต่อย อดจากการดำเนินโครงการที่ผ่านมาเพื่อให้เป้ าหมายสูงสุดของโครงการบรรลุผลตามที่ตั้งไว้ คือ มหาวิ ทยาลัยฯต้องดำเนินการอย่างไรก็ได้ที่จะทำให้กิจกรรม/ตำบลที่ไม่สามารถอยู่รอดได้ให้อยู่ในสถานภาพ ที่สามารถอยู่รอดได้ และจะดำเนินการอย่างไรให้กิจกรรม/ตำบลที่สามารถอยู่รอดแล้วหรือเพียงพอแล้ว สามารถอยู่รอดและเพียงพออย่างยั่งยืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook