Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัย-พรพิรุณ-2-2564 สมบูรณ์

รายงานการวิจัย-พรพิรุณ-2-2564 สมบูรณ์

Published by vinuthapopet, 2022-05-19 13:06:49

Description: รายงานการวิจัย-พรพิรุณ-2-2564 สมบูรณ์

Search

Read the Text Version

การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชา ค33202 คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ 6 ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยการจดั การเรียนรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) บทคดั ยอ ของ นางสาวพรพริ ุณ ใจวงค ตําแหนงครู วิทยฐานะชํานาญการ กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร โรงเรียนปากเกรด็

พรพริ ุณ ใจวงค(2563). การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชา ค33202 คณิตศาสตรเพม่ิ เติม 6 ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยการจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) การวิจยั ครง้ั นีม้ คี วามมุงหมายเพ่อื เปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนวิชา ค33202 คณิตศาสตรเพ่ิมเตมิ 6 ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยใชการจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน (Blended Learning) และเพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 หลังการจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน (Blended Learning) ประชากรทีใ่ ชในการวจิ ยั ครงั้ นี้ คอื นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรียนปากเกร็ดที่เรียนใน ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2564 จาํ นวน 8 หองเรยี น จํานวน 292 คน และกลุมตัวอยางใชในการวิจัยครั้งน้ี คือ นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรยี นปากเกร็ด จํานวน 2 หองเรยี น รวมทั้งสิน้ จํานวน 71 คน ซึ่งไดจาก การเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ การจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) วิชา ค33101 คณิตศาสตร 5 แบบทดสอบกอนเรยี นและหลังเรียน วิชา ค33202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 6 และแบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) สถติ ิท่ใี ชในการวิเคราะหขอมูลไดแก Dependent Samples t-test คาเฉล่ีย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ยั พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ค33202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม 6 ของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรียนหลังเรยี นสูงกวากอนเรียนอยางมีนยั สาํ คัญทางสถติ ิท่ี .05 และความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 6 โดยใชการจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning)มคี วามพึงพอใจอยใู นระดับมาก

ประกาศคุณปู การ งานวิจัยเลมน้ีสําเร็จสมบูรณไดดวยความกรุณาอยางดีย่ิงจากเพื่อนร วมกลุมสาระ การเรียน รู คณติ ศาสตร ท่ไี ดกรุณาความชวยเหลือ คาํ แนะนาํ และคาํ ปรกึ ษาในการศกึ ษาคนควาการทําวิจัย ตลอดจนให คําแนะนาํ ในการแกไขขอบกพรองตาง ๆ เปนอยางดีย่งิ ผูวจิ ยั ขอขอบพระคุณไว ณ ที่น้ี ที่ไดใหคําแนะนําใน ดวยความเมตตาเสมอมา ประโยชนและคุณคาท่เี กิดจากงานวจิ ัยเลมน้ี ผูวจิ ัยขอมอบความดีทั้งหมดเพื่อตอบแทนพระคุณ คุณ พอและคุณแม ทใ่ี หกําลังใจและแนวทางในการดําเนินชวี ติ และมอบแดครู อาจารย และผูมีพระคุณทุกทาน ที่ กรณุ าอบรมสัง่ สอนดวยความรกั ความเมตตาตลอดมา พรพริ ุณ ใจวงค

สารบญั 1 บทที่ 1 หนา 2 1. บทนํา 2 2 ภมู หิ ลัง 3 3 ความมงุ หมายของการวิจยั 4 สมมตุ ิฐานของการวจิ ัย 4 ขอบเขตของการวจิ ยั 6 นยิ ามศพั ทเฉพาะ 14 กรอบแนวคดิ การวิจยั 15 2. เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วของ เอกสารทีเ่ กย่ี วของกับวิชาคณติ ศาสตร 15 เอกสารทเ่ี กีย่ วของกบั การจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 15 เอกสารงานวิจัยทเี่ กย่ี วของ 15 3. วธิ ดี าํ เนนิ การวิจัย 16 17 การกาํ หนดประชากรและกลุมตวั อยาง 17 เครื่องมือทใี่ ชในการวจิ ยั 18 การสรางเครื่องมอื ทีใ่ ชในการวิจยั 18 การเก็บรวบรวมขอมลู 18 การวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 20 4. ผลการวิเคราะหขอมูล 20 สญั ลกั ษณทใ่ี ชในการวเิ คราะหขอมลู 20 ผลการวิเคราะหขอมูล 20 21 5. สรุปผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ 21 วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั 22 ขอบเขตการวจิ ยั 24 ผลการวิเคราะหขอมูล อภิปรายผลการวจิ ัย ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

1 บทที่ 1 บทนาํ ภมู ิหลงั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานพุทธศกั ราช 2551 ไดกาํ หนดสมรรถนะท่สี าํ คัญของผูเรียนใน ดานความสามารถในการใชเทคโนโลยไี ววาเปนความสามารถในการเลอื กและใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดานการเรียนรูการสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรคถกู ตอง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม เทคโนโลยกี ารส่อื สารในปจจุบันนอกจากจะกาวหนาและเติบโตอยางรวดเร็วในสังคม ตลอดจนสงผล ตอสงั คมในยุคของการเปลยี่ นผานในทกุ ๆ ดาน รวมทัง้ ดานการจัดการศึกษา สอ่ื เทคโนโลยีทางการส่ือสารเปน ปจจัยพ้ืนฐานทสี่ งเสริมใหผูเรยี นสามารถเขาถงึ แหลงขอมูลการเรียนรูไดอยางไรขีดจํากัด ส่ือท่ีมีอิทธิพลใน สังคมยุคปจจุบนั กค็ อื ส่อื เครอื ขายไรสาย หรือการสอื่ สารบนอปุ กรณพกพาขนาดเลก็ เชน สมารทโฟนหรือแท็บ เล็ต ซ่งึ สามารถนาํ มาใชเปนอุปกรณในการเรียนการสอน และสามารถนาํ ไปพัฒนาบทเรียนแบบส่ือมัลติมีเดีย ออนไลนข้นึ มาไดอยางหลากหลาย การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เปนสถานการณที่รุนแรง ทําให มีมาตรการทีส่ าํ คัญคอื การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) งดกิจกรรมนอกที่พํานักหรือที่พัก อาศัย หยุดงาน หยุดเรยี น งดไปในสถานที่ชุมนุม งดใชขนสงสาธารณะ (กรมควบคุมโรค , 2563) และปด สถานท่ีสาํ คัญ เชน หางสรรพสนิ คา ตลาดรานอาหาร สถานประกอบการตาง ๆ รวมถึงสถานศกึ ษา โดยเฉพาะ อยางย่งิ โรงเรียนถอื เปนสถานท่ที ี่มีการรวมตวั กนั ของนักเรียนเปนจาํ นวนมาก ดังนั้นเพ่ือใหการเรียนรูยังคง ดําเนินตอไปได กลาวคอื โรงเรียนสามารถหยุดได แตการเรยี นรหู ยดุ ไมได โดยใหสถานศึกษาจัดการเรียนการ สอนดวยการไมตองเขาช้นั เรียน โดยปรับการเรยี นการสอนเปนรปู แบบออนไลน (กระทรวงศึกษาธิการ , 2563) ถือวาสถานการณโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาํ ใหกระบวนทศั นของการศกึ ษาเปลยี่ นแปลงไป จากสถานการณดังกลาวสงผลใหครูผูสอนตองปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน จากการพูดบรรยายหน า ชั้นเรยี นเปนรูปแบบการสอนออนไลน การจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) เปนกระบวนการเรยี นรูที่ผสมผสานรูปแบบ การเรยี นรูทีห่ ลากหลาย ไมวาจะเปนการเรยี นรทู เ่ี กิดขนึ้ ในหองเรียน ผสมผสานกับการเรียนรูนอกหองเรียนท่ี ผูเรยี นผสู อนไมเผชญิ หนากัน หรือการใชแหลงเรียนรูท่ีมีอยูหลากหลาย กระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เกิดขน้ึ จากยุทธวธิ ี การเรียนการสอนทหี่ ลากรปู แบบ เปาหมายอยูทก่ี ารใหผูเรียนบรรลุเปาหมายการเรียนรู เปนสําคญั ซ่ึงการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานนัน้ ผูสอน สามารถใชวิธีการสอน สองวิธหี รือมากกวา ในการเรยี นการสอน เชน ผูสอนนําเสนอเน้อื หาบทเรยี นผานเทคโนโลยผี นวกกบั การสอนแบบเผชิญหนา แตหลังจากนั้นผูสอนนํา เน้อื หาบทความแขวนไวบนเวบ็ และติดตามการดาํ เนินกจิ กรรมการเรียนการสอน หลังจากน้ันจึงสรุปบทเรียน ดวยการอภปิ รายรวมกับอาจารยผูสอนในหองเรียน ในการนี้ ครผู สู อนจึงไดจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) ซ่ึงเปนการบูรณาการ ระหวางการเรียนในช้นั เรยี นและการเรียนแบบออนไลน เพื่อชวยในการจัดการเรยี นรใู หกับผูเรยี น ชวยสงเสริม

2 การเรียนรขู องผเู รียนและการใชเวลาในชัน้ เรียนไดเหมาะสม เนื่องจากรูปแบบการเรียนรูดังกลาวสามารถ เรียนรูผานสือ่ ออนไลนได ทาํ ใหผูเรียนสามารถเขาเรยี นรูและทบทวนบทเรยี นไดทกุ ตลอดเวลา ผูเรียนสามารถ เรยี นรไู ดดวยตนเอง ซึง่ จะทาํ ใหผูเรยี นเกิดองคความรดู วยตนเองและทําใหการจัดการเรียนรูมีประสิทธิภาพ เพ่มิ มากขึน้ จากเหตุผลขางตนดังนัน้ ผูวจิ ยั จึงมีความสนใจจะดําเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ค33202 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม 6 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) เพือ่ เปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกอนเรยี นและหลงั เรียน รวมถึงความพึงพอใจ หลังการจัดการเรียนรู ความมงุ หมายของการวจิ ยั 1. เพ่ือเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกอนเรยี นและหลังเรยี นวิชา ค33202 คณติ ศาสตรเพ่ิมเติม 6 ของนักเรียน ช้ัน มัธยมศึกษา ปที่ 6 โดยกา ร จัดกา ร เรียน รูแบบผสมผสา น ( Blended Learning) 2. เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรูแบบ ผสมผสาน (Blended Learning) สมมุติฐานของการวิจัย นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลงั เรยี นสูงกวากอนเรยี นอยางมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 ขอบเขตของการวิจยั ประชากรและกลุมตัวอยางท่ใี ชในการวจิ ัย ประชากรทใ่ี ชในการวิจยั คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนปากเกร็ด จํานวน 8 หองเรยี น รวมทั้งสิน้ จาํ นวน 292 คน กลุมตัวอยางทใี่ ชในการวิจัย คือ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 โรงเรียนปากเกร็ด จํานวน 2 หองเรยี น รวมทง้ั ส้ิน จํานวน 71 คน ซึ่งไดจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ระยะเวลาทใี่ ชในการวจิ ัย ดําเนนิ การวจิ ัยในชวงเดือนพฤศจกิ ายนถงึ กุมภาพันธ เปนเวลา 4 เดอื น เน้ือหาที่ใชในการวจิ ยั เน้อื หาท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ี เปนเน้ือหาในรา ยวิชา ค33202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม 6 ประกอบดวย หนวยการเรียนรทู ัง้ หมด 2 หนวยการเรียนรู ดงั นี้ 1. แคลคลู ัสเบ้อื งตน 2. ตัวแปรสุมและการแจกแจงความนาจะเปน

3 ตวั แปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ คือ การจัดการเรียนรูโดยการจัดกา รเรียนรูแบบผสมผสาน ( Blended Learning) ตัวแปรตาม คือ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ า ค33202 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม 6 ของนักเรยี น ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 โดยการจดั การเรยี นรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) นยิ ามศพั ทเฉพาะ 1. การจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) หมายถึง กระบวนการเรียนรู ทีผ่ สมผสาน รูปแบบการเรียนรทู ี่หลากหลาย ไมวาจะเปนการเรียนรทู ่เี กดิ ข้ึนในหองเรียน ผสมผสานกับการเรียนรูนอก หองเรียนทผ่ี เู รียนผสู อนไมเผชิญหนากนั หรือการใชแหลงเรียนรูทม่ี อี ยูหลากหลาย กระบวนการเรียนรูและ กจิ กรรมเกิดขึน้ จากการเรยี นการสอนท่ีหลากรปู แบบ เปาหมายอยทู ก่ี ารใหผูเรียนบรรลุเปาหมายการเรียนรู เปนสาํ คญั 2. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง ความรูความเขาใจของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 6 ในการแก โจทยปญหา ซงึ่ ประเมินไดจากการใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีผูวิจัยสรางข้ึน ซ่ึงแบงเปน แบบทดสอบกอนเรยี นและแบบทดสอบหลังเรยี น กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน วิชา ค33202 คณติ ศาสตรเพ่ิมเตมิ 6 การจดั การเรียนรแู บบผสมผสาน (Blended Learning)

4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กีย่ วของ ในการวิจัยครัง้ นี้ ผูวิจยั ไดศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอ ดังตอไปนี้ 1. วิชาคณติ ศาสตร 1.1 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการ เรียนรูคณิตศาสตร 1.2 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคในการเรียนคณติ ศาสตร 1.3 คุณภาพผเู รียน 2. การจดั การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2.1 ความหมายของการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2.2 ความสาํ คัญของการเรยี นแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2.3 องคประกอบการเรียนแบบผสมผสาน 2.4 การออกแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2.5 บทบาทของผเู รยี นและผูสอนในการเรียนแบบผสมผสาน 2.6 ประโยชนของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 3. งานวจิ ัยที่เก่ียวของ 1. วิชาคณิตศาสตร 1.1 หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร คณิตศาสตรมีบทบาทสําคัญย่งิ ตอการพัฒนาความคิดมนุษยทําใหมนุษยมีความคิดสรางสรรคคิด อยางมีเหตผุ ล เปนระบบ มแี บบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไดอยางถี่ถวนรอบคอบ ชวยให คาดการณวางแผน ตัดสนิ ใจ แกปญหา และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตองเหมาะสม นอกจากน้ี คณิตศาสตรยงั เปนเครอ่ื งมือในการศกึ ษาทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและศาสตรอื่น ๆ คณิตศาสตรจึงมี ประโยชนตอการดําเนนิ ชวี ติ ชวยพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ใหดีข้นึ และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551 : 56) สาระการเรียนรู กลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตรเปดโอกาสใหเยาวชนทกุ คนไดเรียนรคู ณิตศาสตรอยางตอเนื่อง ตาม ศกั ยภาพ โดยกาํ หนดสาระหลักที่จาํ เปนสําหรับผเู รยี นทุกคนดงั น้ี (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551 : 1) สาระท่ี 1 จํานวนและการดาํ เนินการ ความคิดรวบยอดและความรูสึกเชิงจํานวน ระบบ จํานวนจริงสมบัติเกีย่ วกับจาํ นวนจรงิ การดาํ เนนิ การของจํานวน อัตราสวน รอยละ การแกปญหาเก่ียวกับ จํานวนและการใชจาํ นวนในชีวิตจริง

5 สาระท่ี 2 การวดั ความยาว ระยะทาง นํ้าหนัก พื้นท่ี ปริมาตรและความจุเงินและเวลา หนวยวัดระบบตาง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกบั การวดั อัตราสวนตรโี กณมติ ิการแกปญหาเก่ียวกับการวัด และการ นาํ ความรเู กีย่ วกับการวดั ไปใชในสถานการณตาง ๆ สาระท่ี 3 เรขาคณติ รปู เรขาคณติ และสมบัติของรปู เรขาคณติ หนึง่ มติ ิสองมิติและสามมิติ การนกึ ภาพแบบจาํ ลองทางเรขาคณติ ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation) ในเรอื่ งการเลอ่ื นขนาน (translation) การสะทอน (reflection) และการหมนุ (rotation) สาระที่ 4 พชี คณิต แบบรปู (pattern) ความสมั พันธฟงกชนั เซตและการดําเนินการของเซต การใหเหตผุ ล นิพจนสมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลาํ ดบั เลขคณติ ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณติ สาระท่ี 5 การวิเคราะหขอมลู และความนาจะเปน การกําหนดประเดน็ การเขียนขอคําถาม การกําหนดวธิ กี ารศกึ ษา การเก็บรวบรวมขอมูล การจัดระบบขอมูล การนําเสนอขอมูล คากลางและการ กระจายของขอมูล การวิเคราะหและการแปลความขอมูล การสํารวจความคิดเห็น ความนาจะเปนการใช ความรูเกย่ี วกบั สถิตแิ ละความนาจะเปนในการอธบิ ายเหตกุ ารณตาง ๆ และชวยในการตัดสินใจในการดําเนิน ชวี ิตประจาํ วัน สาระท่ี 6 ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร การแกปญหาดวยวิธีการท่ีหลากหลาย การใหเหตผุ ล การสือ่ สาร การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชอ่ื มโยงความรูตางๆ ทาง คณิตศาสตรและการเช่ือมโยงคณิตศาสตรกบั ศาสตรอ่นื ๆ และความคิดริเริม่ สรางสรรค 1.2 คุณลักษณะอนั พึงประสงคในการเรียนคณิตศาสตร ในหลักสูตรกลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไดกาํ หนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูทักษะและกระบวนการทาง คณติ ศาสตร ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง เพอื่ ใหผเู รียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ในการเรียนรู คณติ ศาสตร ดงั ตอไปนี้ 1. ทําความเขาใจหรอื สรางกรณีท่วั ไปโดยใชความรทู ไ่ี ดจากการศกึ ษากรณีตวั อยางหลาย ๆ กรณี 2. มองเห็นวาสามารถใชคณติ ศาสตรแกปญหาในชวี ติ จรงิ ได 3. มีความมุมานะในการทาํ ความเขาใจปญหาและแกปญหาทางคณติ ศาสตร 4. สรางเหตุผลเพื่อสนับสนนุ แนวคิดของตนเองหรือโตแยงแนวคิดของผอู ืน่ อยางสมเหตสุ มผล 5. คนหาลกั ษณะที่เกดิ ขึ้นซํ้า ๆ และประยุกตใชลักษณะดังกลาวเพื่อทํา ความเขาใจหรือแกปญหาใน สถานการณตาง ๆ 1.3 คณุ ภาพผเู รียน จบชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 6 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 5 ) 1. เขาใจและใชความรเู กย่ี วกับเซตและตรรกศาสตรเบือ้ งตน ในการส่อื สารและส่ือความหมาย ทางคณิตศาสตร

6 2. เขาใจและใชหลกั การนับเบอื้ งตน การเรยี งสับเปลย่ี น และการจดั หมู ในการแกปญหา และนาํ ความรูเกี่ยวกบั ความนาจะเปนไปใช 3. นําความรเู ก่ียวกบั เลขยกกาํ ลงั ฟงกชัน ลาํ ดับและอนุกรม ไปใชในการแกปญหา รวมท้ัง ปญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยและมลู คาของเงิน 4. เขาใจและใชความรูทางสถิติในการวเิ คราะหขอมูล นาํ เสนอขอมลู และแปลความหมายขอมูล เพ่ือประกอบการตัดสินใจ 2. การจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2.1 ความหมายของการเรียนรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) การเรียนรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) อาน “เบล็น-เดด เลิรนนิ่ง” ถือเปนการเรียนรูที่มี การวางแผนการจดั กระบวนการเรยี นแบบเผชิญหนาท่ใี ชวธิ ีการสอนท่หี ลากหลายผสมผสานกบั การเรียนระบบ ออนไลนท่นี าํ เทคโนโลยีเขาใชใหผเู รียนเขาถึงการเรยี นรไู ดรวดเร็วมากขึน้ เฮเลน และซีแมน (Allen and Seaman. 2010 : 4) ไดอธิบายไววาการเรียนแบบผสมผสานเปนการ เรยี นทผ่ี สมกันระหวางการเรยี นแบบเผชิญหนาและการเรียนออนไลน โดยนําเสนอเนื้อหาส วนใหญผาน เครือขายอินเทอรเนต็ เชน การสนทนาออนไลนและยังคงมีสวนที่ใหผูเรียนและผูสอนพบปะกันโดยมีสัดสวนใน การนําเสนอเนอื้ หาผานระบบออนไลนอยูระหวางรอยละ 30-70 ของเนื้อหาการเรียนทัง้ หมด “Blended learning systems combine face-to-face instruction with computer- rmediated instruction” ฮอรนและสตอกเกอร (2011) แหง Innosight Institute ไดนิยามเก่ียวกับการเรียนแบบผสมผสาน ของผูเรียนในระดบั K-12 หมายถงึ การเรยี นรูทีผ่ เู รยี นไดรบั มวล ประสบการณทางการเรียนรูอยางเปนอิสระ ผานระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอรโดยนักเรียนสามารถควบคมุ ตวั แปรทาง การเรียนรดู วยตนเองท้ังในดานเวลา สถานท่ี แนวทางการเรียนรแู ละอัตราการเรยี นรูของตนเอง “A blended learning program uses a combination of e-learning and classroom instruction” เกรแฮม (2012) แหงมหาวทิ ยาลัย Brigham Young University ประเทศ สหรัฐอเมรกิ าไดสรปุ นิยาม ของการเรียนแบบผสมผสานไววา เปนระบบการเรียนการสอนท่ผี สมผสานระหวาง การเรียนแบบเผชิญหนา กับการสอนผานระบบเครือขายคอมพวิ เตอร “Blended learning is any time a student learns at least in part at a supervised brick- and mortar location away from home and at least in part through online delivery with some element of student control over time, place, path and/or pace” เบอรนาท (2012) ไดสรุปวา การเรยี นแบบผสมผสานหรอื Blended Learning หมายถึง โปรแกรม ทางการเรียนรูทใ่ี ชวธิ กี ารผสมผสานระหวางการเรยี นรจู ากสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกสหรือ E-learning กับการสอนใน ชน้ั เรยี น

7 จากนิยามดงั กลาวสรปุ ไดวา การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) การเรียนการสอนที่มี การวางแผนการจดั กระบวนการเรียนการสอนแบบเผชญิ หนาทใ่ี ชวิธกี ารสอนที่หลากหลายผสมผสานกับกา ร เรียนการสอนระบบออนไลนท่ีนาํ เทคโนโลยเี ขาใชใหผเู รยี นเขาถึงการเรยี นรูไดรวดเร็วมากขึ้น ภาพท่ี 1 Model แสดงนยิ ามความหมายของการเรยี นรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) ที่มา: limitlesseducation.net จากภาพท่ี 1 สรุปไดใน 3 มิติสําคัญ ดังที่ Graham, Allen and Ure (2003) ไดกลาวไวคือการ ผสมผสานการสอนผานสือ่ การสอน การผสมผสานวธิ ีการเรยี นการสอน และการผสมผสานระหวางการสอน แบบเผชญิ หนากับ การสอนออนไลน 2.2 ความสําคัญของการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) มเี หตผุ ลและความจําเปนหลายประการทก่ี อใหเกดิ การเรียนรูแบบ Blended Learning ซ่ึงจากการ ทบทวนงานวจิ ัยทีผ่ านมาพบวา การเรยี นรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) เกิดผลในเชิงคุณลักษณะท่ี พงึ ประสงคทางการเรียนรูใน 3 มิติสําคัญตามที่ เกรแฮม (2012) ไดอธบิ ายไวดังน้ี 1. เกิดการปรบั ปรงุ พัฒนาในเชิงวชิ าการ (Improved Pedagogy) เปนเหตุผลสําคัญของการจัดการ เรยี นรูแบบผสมผสาน ท้งั น้ีเนื่องจากปจจุบนั การจัดสภาพการณทางการเรยี นรูรวมท้ังการฝกอบรมใหความรู ผูสอน (Instructors) มักจะมุงเนนเฉพาะยทุ ธศาสตรของการสอนหรอื ฝกอบรม เพ่ือใหเกิดความรูในลักษณะ การถายทอดเน้ือหาแบบสงผาน (Transmission) มากกวาการสรางปฏิสัมพัน ธทางการ เรียนรวมกัน (Interaction) ครผู ูสอนมักจะมุงเนนการสอนแบบบรรยายมากกวาการนําเทคโนโลยีเขามาประยุกตใช หลังจากระบบการเรยี นรแู บบทางไกลไดเกิดขึน้ มาพรอมกับการพฒั นาระบบขอมูลสารสนเทไดกาวหนาอยาง รวดเร็วนั้น ทาํ ใหรูปแบบการเรียนแบบ Blended Learning ไดถูกนํามาใชและเกิดประสิทธิภาพทางการ เรียนรเู พ่มิ มากขึน้ สงผลตอยุทธศาสตรของการเรยี นการสอนในหลากหลายรูปแบบท้ังการเรียนแบบรวมมือ การเรยี นแบบเพื่อนชวยเพือ่ น และการเรียนโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง 2. เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการเขาถึงขอมูลการเรียนรูและมีความยืดหยุน ( Increased Access and Flexibility) การเรียนในรปู แบบผสมผสาน (Blended Learning) จะชวยในการสรางประสิทธิภาพทางการ เรยี นรขู องผูเรยี นใหมีโอกาสในการสรางองคความรแู ละเขาถงึ แหลงขอมูลไดอยางกวางขวางและยืดหยุนตาม สภาพการณหรือความพรอมของผเู รียนไดในทกุ ระดับ ประสิทธิภาพของการเขาถึงนั้นจําแนกได 3 ลักษณะ ตามท่ี Graham and Dziuban (2008) กลาวไวคือ ประสิทธิภาพการเขาถึงในระดับองคกรหรือสถาบัน (Institutions) ประสทิ ธภิ าพการเขาถงึ ในระดบั โปรแกรมหรอื โครงการ (Programs) และทายสุดประสิทธิภาพ การเขาถงึ ในระดบั เนือ้ หารายวชิ า (Courses)

8 3. ประสิทธิภาพในเชิงงบประมาณหรือการลงทุน (Cost Effectiveness) การจัดการเรียนรูแบบ ผสมผสานเปนยทุ ธศาสตรสาํ คัญในการเพ่มิ ประสิทธภิ าพของการลงทุนในดานการจัดการศึกษาโดยเฉพาะ อยางยิง่ ในระดับการเรียนอดุ มศึกษาหรอื ในมหาวิทยาลัย ซึ่งการเรยี นรูในรปู แบบผสมผสานนี้ จะกอใหเกิดการ สรางระบบการเรยี นท่ลี ุมลกึ และกวางไกลในหลากหลายรูปแบบและสนองตอผูเรียน ไดตามอัตภาพและตาม สถาน การ ณ เกิดควา มคุมทุนและคุมคา ใน การ ใชงบปร ะมา ณเพ่ือกา รศึกษา ของหน วยงา นหรือ สถาบันการศึกษา การจดั การศกึ ษาในบรบิ ทของประเทศไทยนั้น การใช Blended Learning มีความสําคัญโดยเห็นได จากแผนพัฒนาการศกึ ษาฉบับท่ี 11 กระทรวงศึกษาธิการไดเลง็ เห็นถงึ ความสาํ คัญของการจัดการศึกษา โดยมี การนําเทคโนโลยีเขามาเปนสวนหน่งึ ในการคนควาของผเู รยี น รวมถึงเปนตัวชวยในการจัดการเรียนการสอน ของครผู สู อน ดงั นน้ั รูปแบบการเรียนการสอนที่สนับสนุนการมีปฏิสัมพันธกันขอผูเรียน โดยใชบทเรียนที่มี ความยืดหยุน เนนการสืบคน ใหการเรยี นรทู ี่มีการสงเสริมสนับสนุนผูเรียน โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ คือ การ เรียนรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) ซงึ่ เปนกระบวนการเรียนรูท่ีเกิดจากการจัดการเรียนการสอน หลากหลายวธิ ี โดยคาํ นึงถงึ ผเู รยี น สภาพแวดลอม เน้ือหา สถานการณ เพ่ือตอบสนองการเรียนรูและความ แตกตางระหวางบคุ คล โดยสามารถจดั การเรียนการสอนทัง้ ภายในหองเรียนและนอกหองเรียน โดยมีการนํา เทคโนโลยที างการศกึ ษาแบบออนไลนและออฟไลนมาเปนสวนประกอบ ทั้งนี้เพ่ือสงเสริมใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูสูงสุด เกดิ ทักษะ และเกิดการเรยี นรทู ่ีทาํ ใหบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคเพ่ือใหบรรลุเปาหมายของแผนการ ศึกษาทต่ี องการใหคนไทยเรียนรตู ลอดชีวติ อยางมีคณุ ภาพ เปนคนดี คนเกง มีความสุข มีภูมิคุมกัน รูเทาทัน เวทโี ลก 2.3 องคประกอบการเรียนแบบผสมผสาน การเรยี นแบบผสมผสาน แบงองคประกอบออกเปน 12 กลมุ โดยจัดเปน 2 องคประกอบหลัก ไดแก องคประกอบออฟไลน 6 กลุม และองคประกอบออนไลน 6 กลมุ ดงั ตารางท่ี 1 (Thorne, 2003) ตารางท่ี 1 องคประกอบของการจดั การเรียนแบบผสมผสาน องคประกอบออฟไลน (Offline) องคประกอบออนไลน (online) 1. เรยี นในที่ทาํ งาน (Workplace Learning) 1. เนื้อหาการเรียนบนเครอื ขาย ( Online Learning Content) 2. ผูสอน ผชู แ้ี นะ หรือทปี่ รกึ ษาในหองเรียนแบบ 2. ผสู อนอเิ ล็กทรอนกิ ส ผชู ้ีแนะอเิ ล็กทรอนกิ ส เผชิญหนา (Face-to-Face Tutoring, ห รื อ ที่ ป รึ ก ษ า อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ( E-Tutoring, Coaching or Mentoring) ECoaching or E-Mentoring) 3. หองเรยี นแบบดงั้ เดมิ (Classroom) 3. การเรยี นรูรวมกนั แบบออนไลน (Online Collaborative Learning) 4. สือ่ สิ่งพิมพ (Distributable Print Media) 4. การจัดการความรูแบบออนไลน (Online Knowledge Management) 5. สือ่ อิเล็กทรอนิกส (Distributable Electronic 5. เวบ็ ไซต (The Web) Media) 6. สื่อวิทยกุ ระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทัศน 6. การเรยี นผานอปุ กรณเคลื่อนที่แบบไรสาย (Broadcast Media) (Mobile Learning)

9 เฮเลน และ ซแี มน (Allen and Seaman. 2007- 4) ไดศึกษาเก่ียวกับอัตราสวนของการจัดการ เรียนรแู บบผสมผสานของ สมาคมสโลน (The Sloan Consortium) แหงสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนองคกรท่ี สงเสริม และสนบั สนนุ ความรวมมือแลกเปลี่ยนความรูและการปรับปรุงการศึกษาผานระบบออนไลน ไดจัด กลุมอตั ราการใชระบบออนไลนในการเรยี นการสอนเปน 4 ประเภท ดงั นี้ 1. ประเภทดัง้ เดิมหรอื ประเภทในหองเรียน (Traditional Classroom-Based) เปนการจัดการเรียนรู ในช้ันเรียนแบบเผชญิ หนากัน (Face to Face) ซ่งึ จะใชวธิ ีการบรรยายการใชกระดานหรือแผนใส เปนตน โดย ไมใชวธิ กี ารสอนแบบออนไลนเลย 2. ประเภทเวบ็ ชวย (Web-Facilitated) ใชวิธีการสอนแบบออนไลน รอยละ 1-29 และยังคงเปนการ สอนในช้ันเรียนหรือการสอนแบบเผชิญหนากัน (Face to Face) โดยใชระบบการจัดการรายวิชา(CMS: Course Management Systems) ใชหนาเว็บเพื่อประกาศใหผูเรียนทราบเร่ืองตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของอาทิ คําอธิบายรายวิชาและการบาน 3. ประเภทผสมผสาน (Blended Hybrid) ใชวิธีการสอนแบบออนไลน รอยละ 30 -70 นั่นคือ ผสมผสานระหวางการสอนแบบออนไลนกบั การสอนในชั้นเรียน สื่อการสอนสวนมากใชวิธีการแบบออนไลน เชน มีการปรึกษาหารอื ออนไลนและมกี ารประชุมแบบเผชิญหนากัน 4. ประเภทออนไลนหรืออีเลิรนน่ิง (Online/E-learning) ใชวธิ ีการสอนแบบออนไลน รอยละ 80 ขึ้น ไป สอื่ การสอนสวนใหญหรือทั้งหมดจะอยูในรปู แบบออนไลนอาจจะไมมีการประชุมแบบเผชิญหนากันและ อาจจะไมมกี ารเรียนในชั้นเรียนเลย อธบิ ายในรปู แบบตารางตามที่ อนิ ทิรา รอบรู (2553) ท่ศี กึ ษาอตั ราในการนาํ เสนอเนือ้ หาบทเรียนของ การเรียนแบบตาง ๆ สรปุ ไดดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 อัตราในการนาํ เสนอเนอ้ื หาบทเรยี นของการเรียนแบบตาง ๆ อัตราสวนของ รูปแบบการเรียนการ รายละเอยี ด เนอื้ หาบทเรยี น สอน ออนไลน 0% การเรียนแบบดง้ั เดิม เปนการสอนที่แบบบรรยายไมมกี ารใชออนไลนเลย (Traditional) 1-29% ใชเว็บเปนสวน เปนการเรยี นการสอนแบบเผชญิ หนา ใชเวบ็ ชวย สนบั สนนุ การสอน สนบั สนุนมคี าํ อธบิ ายรายวิชาและการมอบหมายงาน (Web Facilitated) 30-79% แบบผสมผสาน เปนการเรียนทผ่ี สมกันระหวางการเรียนแบบ (Blended/hybrid) เผชิญหนาและการเรยี นออนไลนโดยนําเสนอเนอื้ หา บทเรยี นผานเครอื ขายอินเทอรเน็ต สนทนาออนไลน และมีสวนทีม่ ีการพบปะกนั 80% + การเรยี นแบบออนไลน เปนการเรียนทีน่ าํ เสนอเนอื้ หาเกือบทงั้ หมดผาน (Online) ระบบออนไลน การเรยี นแบบน้ไี มมกี ารพบหนากัน

10 จากการศึกษาอัตราสวนของการจัดการเรียนแบบผสมผสานสรปุ ไดวา อัตราสวนในการเรยี นแบบ ผสมผสานที่เหมาะสมควรอยูในระหวาง 60 – 70 % อยูในชวงท่เี ปนการเรียนท่ีผสมกนั ระหวางการเรยี นแบบ เผชญิ หนา การเรียนออนไลน ใชเครือขายอนิ เทอรเนต็ สนทนาออนไลนและมีสวนทม่ี ีการพบปะกนั 2.4 การออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ในการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานใหประสบผลสําเร็จในการจัดการเรียนรูนั้น นักออกแบบการเรยี นการสอน (instructional designer) ตองคํานงึ ถึงจดุ ประสงคของการเรียนท่ีกําหนดไว ระยะเวลาในการเรียน รวมถงึ ความแตกตางของรปู แบบการเรยี นรูและรูปแบบการคิดของผูเรียนเพื่อใชเปน ขอมลู พน้ื ฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน การออกแบบบทเรยี น และการประเมินผลการเรียน จากจดุ เดนของการเรยี นการสอนแบบผสมผสานทีท่ าํ ใหความสัมพันธและปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูสอน และเพือ่ นผูเรยี นคนอนื่ ๆ ทาํ ใหผูเรยี นและผูสอนใกลชดิ กนั มากข้นึ ทใหผูเรยี นสามารถแลกเปล่ยี นประสบการณ ระหวางกนั ไดโดยสะดวก สามารถเขาใจเพ่ือนรวมชัน้ เรียนและเคารพเพอื่ นรวมช้ันเรียนมากข้ึน สงผลใหผูเรียน มคี วามม่ันใจในตนเองมากข้นึ นอกจากนผ้ี เู รยี นยังไดรับผลปอนกลับจากการเรียนไดโดยทันที ซ่ึงเปนการ สงเสริมพฒั นาการในการเรยี นของผเู รยี นแตละคนใหเตม็ ตามศักยภาพทผ่ี ูเรียนแตละคนมี มี ผูเสนอแนวทางใน การออกแบบบทเรยี นบนเว็บแบบผสมผสาน ดังน้ี The Training Place เสนอแนวทางในการพัฒนารูป แบบการจัดการเรียนการสอนบนเว็บแบบ ผสมผสาน โดยพัฒนาจากรปู แบบการออกแบบระบบการเรยี นการสอน ADDIE ประกอบดวย 5 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. ขนั้ วเิ คราะหและการวางแผน ประกอบดวย 1.1. การวิเคราะหผเู รียน การปฏบิ ัตกิ าร องคกรรปู แบบการเรียน และความตองการ ของระบบเพื่อใชในการพัฒนาหลักสูตร 1.2. วิเคราะหทรัพยากรทส่ี นับสนุนตอการจดั กจิ กรรมการเรยี น 1.3. วเิ คราะหความตองการของผูเรยี น การวางแผน การนําไปใช การทดสอบ และการ ประเมินผล 1.4. การวิเคราะหแผนงาน กระบวนการทํางานการนําไปใชในภาพรวม เพอื่ นาํ ไปสกู ารสราง วงจรในการพฒั นาและปรับปรุงรปู แบบกระบวนการทาํ งานทว่ี างไว 1.5. การวิเคราะหความตองการขององคกร 2. ขนั้ การออกแบบ ประกอบดวย 2.1 กาํ หนดจดุ ประสงคการเรยี นรู (objectives) 2.2 การออกแบบใหตอบสนองตอความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน(personalization) 2.3 การออกแบบประเภทของการเรียนรู (taxonomy) 2.4 การออกแบบบรบิ ททีเ่ กี่ยวของ (local context) ไดแก บาน การทาํ งาน (on-the-job) การฝกปฏบิ ตั ิ (practicum) หองเรียน / หองปฏิบัติการ แ ละการเรียนรรู วมกนั (collaboration) 2.5 การออกแบบผูเรียน (Audience) ไดแก การเรียนดวยการนําตนเอง (self-directed) การเรียนแบบเพื่อนชวยเพอื่ น (peer-to-peer) การเรียนแบบผูฝกสอนและผเู รียน (trainer-learner) และการ เรยี นแบบผใู หคําปรึกษากับผูเรียน(mentor-learner)

11 3. ขน้ั การพัฒนาการพฒั นาการเรยี นแบบผสมผสาน ประกอบดวย 3 องคประกอบ ดังนี้ 3.1 องคประกอบแบบไมผสานเวลา (asynchronous) ไดแก ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กระดานขอความ เวทีเสวนาและการสนทนาแบบปฏิสัมพันธ เคร่ืองมือท่ีใชองคความรูเปนฐาน ระบ บ อิเล็กทรอนิกสเพ่อื สนับสนนุ การเรียน (EPSS) ระบบบรหิ ารจดั การเนือ้ หาเรียนรู ระบบบริหารจัดการเรียนรู เครอื่ งมือนพิ นธ เวบ็ บราวเซอร ระบบตดิ ตามความกาวหนาของผูเรียน บทความ เว็บฝกอบรม การติดตาม งานท่ีมอบหมายการทดสอบ การทดสอบกอนเรียนการสํารวจ การชี้แนะแบบมี สวนรวม เครื่องมืออํานวย ความสะดวกในการเรียนรู และการประชุมทม่ี กี ารบนั ทกึ เสยี งและฟงซ้าํ ได 3.2 องคประกอบแบบผสานเวลา (synchronous) ไดแก การประชุมผานเสียง การประชุม ผานวีดีทศั น การประชมุ ผานดาวเทียม หองปฏบิ ัติการแบบออนไลน หองเรยี นเสมือน การประชุมผานระบบ ออนไลน และการอภิปรายออนไลน 3.3 องคประกอบแบบเผชิญหน า (Face-to-Face) ไดแก หองเรียน แบบด้ังเดิม หองปฏิบัติการ การเผชญิ หนาการประชุม การเรียนแบบเพื่อนชวยเพื่อน มหาวิทยาลัย ท่ีปรึกษา กลุม ผเู ชยี่ วชาญ ทมี สนับสนนุ และ การแนะนาํ ในการเรียน 4. ข้นั การนาํ ไปใช ในการนําระบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมสานไปใช ตองกําหนดประเดน็ แนวทางการ นําไปใชการวางแผนการนาํ ไปใช การวางแผนการใชเทคโนโลยี และการวางแผนในประเด็นอ่ืนๆ ท่ีอาจ เกย่ี วของใหชดั เจน เพื่อใหผทู ่เี กย่ี วของกับการนําระบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมสานไปใ ช ไดแก ผูเรียน เพื่อนรวมเรยี น ผูสอน และสถาบนั การศึกษา เกิดการยอมรับและมีความเขาใจที่ถูกตอง เพื่อใหการ จดั การเรยี นการสอนบนเวบ็ แบบผสมผสานบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว 5. ขน้ั ประเมนิ ผล การวัดและการประเมนิ ผลสาํ หรับการจดั การเรียนการสอนบนเวบ็ แบบผสมสาน ทําโดยก าร ประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (achieve objectives) ของผเู รยี นโดยเทียบกับเกณฑมาตรฐาน รวมถึงการ ประเมนิ งบประมาณคาใชจายในการพฒั นาระบบการเรยี นการสอน จากขั้นตอนออกแบบการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ทั้ง 5 ข้ันตอน สรปุ ไดวาทุกขัน้ ตอนลวนมีความสาํ คัญท่ีสงผลใหการเรยี นแบบผสมผสานประสบความสําเรจ็ ได ซ่ึงผูสอนหรือผู ท่ีเกยี่ วของตองพจิ ารณาใหถถ่ี วนกอนการนาํ ไปสูการปฏบิ ตั จิ ริง 2.5 บทบาทของผูเรียนและผูสอนในการเรยี นแบบผสมผสาน บทบาทของผูเรียนและผสู อนโดยการเรยี นแบบผสมผสานไดจากการศึกษาจากงา นวิจัยและแนวคิด ของนกั การศกึ ษา สุพรรณี แสงชาติ (2552), ซหุ (2005) ผูเขียนคนพบวา ผูสอนจะตองเปนผูกําหนดวิธีการ สอนแบบตาง ๆ เตรยี มเอกสาร ส่ือและแหลงการเรียนรูรวมถงึ เทคโนโลยที ่ีนํามาใชในการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอน โดยมีบทบาทเปนผูฝก (Coach) และผสู นับสนุน (Facilitator) กระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวย ตนเอง สรางสิ่งจงู ใจและเสรมิ สรางทักษะการเรียนรผู านการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ เขาไปชวยเหลือผูเรียน เมื่อพบปญหาทยี่ ากเกนิ กวาผเู รียนจะแกปญหาได สวนผูเรยี นมีบทบาทสําคัญ ไดแก เปนผูศึกษาหาความรู ท้ังจากกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบดง้ั เดมิ (Face-to-Face: F2F) แบบการประยกุ ตวิธกี ารในการบูรณาการ

12 E-Learning ดวยการจัดการเรียน (Learning Management System หรือ LMS) โดยใชคอมพิวเตอรใน หองเรยี นรวมกับการสอนแบบปกติ และแบบออนไลนสามารถใชสื่อเทคโนโลยีอยางเต็มศักยภาพของตนเอง รวมถงึ ความพรอมในเรือ่ งสัญญาณระบบเครอื ขายที่สนบั สนนุ การเรยี นรอู ยางตอเนื่อง สรุปไดวาบทบาทของผูเรยี นและผสู อนโดยการเรยี นแบบผสมผสานนั้น ผูสอนจะตองเปนผูกําหนด วิธีการสอนแบบตาง ๆ เตรยี มเอกสาร ส่อื และแหลงการเรียนรรู วมถงึ เทคโนโลยีที่นํามาใชในการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอน โดยมบี ทบาทเปนผูฝก (Coach) และผูสนับสนุน (Facilator) กระตุนใหผูเรียนเกิดการ เรยี นรูดวยตนเอง สรางส่ิงจูงใจและเสริมสรางทักษะการเรียนรูผานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไป ชวยเหลือผเู รียนเมอื่ พบปญหาท่ยี ากเกนิ กวาผูเรียนจะแกปญหาได สวนผูเรียนมีบทบาทสําคัญ ไดแก เปนผู ศกึ ษาหาความรู ทัง้ จากกิจกรรม การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม และแบบออนไลนสามารถใชสื่อเทคโนโลยี อยางเต็มศกั ยภาพของตนเองรวมถึง ความพรอมในเรื่องสญั ญาณระบบเครือขายที่สนับสนุนการเรียนรูอยาง ตอเนื่อง 2.6 ประโยชนของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ขอไดเปรยี บของการเรียนรูแบบผสมผสาน เม่ือเปรียบเทียบกับการเรยี นแบบเผชิญหนาที่จํากัดเฉพาะ การเรียนในหองเรยี นอยางเดยี วหรอื การเรยี นออนไลนอยางเดียว เกรแฮม (2012), สมใจ จันทรเต็ม (2553) และสมบูรณ กลางมณี (2554) ไดกลาวถึงไวน้ัน ผูเขยี นสรุปไดดังนี้ 1. ชองทางการรบั สงแบบทางเดยี วนั้นมีขอจาํ กัดทจ่ี ะทําใหบรรลุผลการเรียน และการถายโอนความรู อยางแนนอน ดงั นั้น การเรียนการสอนแบบผสมผสานจึงทําใหเกิดช องทางการเรียนรูท่ีกวางขวางขึ้นและ สามารถกระจายความรูไดมากขึน้ เพราะสามารถแลกเปลีย่ นเรียนรไู ดท้ังการเรยี นแบบเผชญิ หนาและการเรียน ออนไลน 2. การผสมผสานระหวางการเรยี นการสอนในชน้ั เรียนและการเรียนการสอนแบบอเี ลริ นนิ่ง ทําใหการ เรยี นการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึนกวาการเรยี นการสอนเพียงรปู แบบเดยี วเทานนั้ 3. ชวยพฒั นาทักษะการเขียน และกระบวนการเรยี นรโู ดยอาศัยอินเทอรเน็ต ดวยเหตุท่ีผูเรียนสวน ใหญอาจไมกลาแสดงความเหน็ ในหองเรยี น ก็สามารถแสดงความคิดเหน็ ไดเต็มท่ีผานทางระบบออนไลนเปน การสงเสริมใหผเู รียนมีความกระตอื รือรนทีจ่ ะคนควาหาความรมู ากข้นึ เปนการฝกใหผูเรียนมีความม่ันใจขึ้น เมอ่ื ตองเขากลมุ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นในชน้ั เรยี น 4. ชวยปรับปรงุ การสอน (Improve Pedagogy) ทําใหเกดิ การปฏิสัมพันธในการสอนมากยิ่งขึ้นซึ่ง เนนการสรางกลยทุ ธในการเรียน ใหผูเรียนมีความกระตือรือรน (Active Learning Strategy) กลยุทธการ เรยี นรรู ะหวางผเู รยี นดวยกนั มากข้ึน (Peer-to-Peer Learning Strategy) และกลยทุ ธการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรยี นเปนสําคัญ (Learner-Centered Strategy) ใหมีมากข้ึนในการเรียนการสอน 5. เพ่มิ ทักษะการตดิ ตอสื่อสารและชองทางการปฏิสัมพันธ (Interactive Learning) ไดหลายทาง ระหวางผูสอนกบั ผูเรียน และผูเรียนกับผูเรียนมากกวาใชวิธกี ารสอนแบบใดแบบหน่งึ เพียงวธิ ีเดียวตัวอยาง เชน การอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นอาจทําในหองเรียนแลวตอดวยทางออนไ ลนหรืออาจเริ่มจากการ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ โตตอบทางออนไลนแลวนาํ กลับมาอภปิ รายตอในหองเรียน

13 6. เพิ่มประสทิ ธภิ าพและผลของการลงทุน (Increased Cost-Effectiveness) การลงทุนทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารโดยเฉพาะทางดานโครงสรางสารสนเทศพ้นื ฐานเปนคาใชจ ายที่ มหาศาล ดังนัน้ แตละสถาบันการศกึ ษาจาํ เปนตองพิจารณาหาวธิ ีการใชเทคโนโลยี ดงั กลาวใหคุมคากับการลงทุน และ เกดิ ประสิทธิผลใหไดมากที่สดุ การเพมิ่ ปรมิ าณและวธิ กี ารใชเทคโนโลยีเพื่อใหเกิดประโยชนตอการเรียนการ สอนในชน้ั เรียนจะชวยใหเกดิ ความคุมคาจากการศึกษาเกย่ี วกับประโยชนของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน พบวาการเรยี นการสอนแบบผสมผสานทําใหการเรยี นการสอนบนเวบ็ มีประสิทธภิ าพมากข้นึ เพราะเปนการลด ขอจาํ กัดของการเรยี นการสอนบนเว็บ การเรียนการสอนแบบผสมผสานจงึ เหมาะสมทีจ่ ะนามาพัฒนาการเรียน การสอนในสถาบนั การศกึ ษาใหมปี ระสิทธภิ าพมากยังขน้ึ 7. เพิ่มความยืดหยนุ และเปดโอกาสใหผูเรียนมากย่ิงขึ้น (Increased Access and Flexibility) การ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสานเปนการเพิ่มความยืดหยุนและเปดโอกาสในการเรียนรูใหกับ ผูเรยี นมากขึ้น โดยการจดั การเรียนรใู นช้นั เรยี นจะชวยสงเสรมิ การมปี ฏิสัมพันธกบั เพอื่ นมนุษยและการจัดการ เรยี นรูแบบออนไลนเอื้อประโยชนแกผูเรียนในดานการเขาถงึ ขอมูลและการเพิ่มชองทางในการส่ือสาร ซ่ึงจะ เปนการเพ่มิ คุณภาพและประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นรูใหมากยงิ่ ขนึ้ 8. สนบั สนุนใหผูเรียนเกิดการเรยี นรดู วยตัวเอง (Self-directed learning) เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student Centered) โดยผูเรียนสามารถคนควาบทเรียนไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี ตามศักยภาพของผูเรียนใน การเรียนออนไลนพรอมไปกบั การเรียนแบบเผชิญหนา 9. ชวยใหผเู รียนรจู ักการเชือ่ มโยงความรแู ละทําใหเกดิ การพฒั นาความคิดวเิ คราะห เชิงวิจารณญาณ และความคิดสรางสรรคโดยใชเทคโนโลยสี มัยใหมเปนเครื่องมือในการคนควาอางอิง จากแหลงความรูนอก หองเรยี นทําใหเกิดการแลกเปล่ยี นเรียนรูกนั ภายในกลมุ โดยมผี สู อนใหคําแนะนํา 10. ชวยใหผเู รียนสามารถทําแบบฝกปฏิบัติรายงานหรือโครงงานท่ีไดรับมอบหมาย รวมถึงทํา แบบทดสอบไดดขี ้นึ เพราะสามารถเรยี นซ้าํ บทเรียนสวนทีไ่ มเขาใจไดหลายๆ ครั้ง ในการเรียนออนไลนและ เมือ่ มีปญหาก็สามารถเขามาหาคาํ ตอบในหองเรยี นไดอกี คร้ัง สรุปไดวา การเรยี นรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) กอใหเกิดประโยชนทั้งตอผูสอนผูเรียน องคกรทางการศึกษาอยางมาก ดวยวาการเรียนแบบผสมผสาน เปนการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียน การสอนทงั้ แบบในช้ันเรียนปกติ ผสมผสานกับการเรียนการสอนแบบออนไลน ทําใหการเรียนการสอนมีความ สะดวกรวดเรว็ ในการเขาถึงบทเรียน และมีประสิทธิภาพมากกวาการ เรียนการสอนเพียงรูปแบบเดียว นอกจากนย้ี ังชวยพัฒนาผูเรยี นใหเกิดทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต พัฒนาทกั ษะการติดตอสอ่ื สารและชองทางปฏิสมั พันธระหวางผเู รยี นกับผสู อน ผเู รยี นกบั ผูเรยี น สงเสริมใหเกิด การเรียนรดู วยตนเอง ชวยเชือ่ มโยงความรูและทาํ ใหเกดิ การพัฒนาความคิดวิเคราะหกระตุนใหผูเรียนเกิดการ กระตอื รือรน และยดื หยนุ เกย่ี วกบั เวลาและสถานทตี่ ลอดจนแหลงขอมลู ตางๆ ในการเรียนรู

14 3. งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวของ อนรรฆ สาสุข (2556) ไดทําวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน (Blended Learning) เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมในช้ันเรยี นและเปล่ียนแปลงเจตคติของนักเรียน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4 ในรายวิชา ง31101 เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยมีวัตถุประสงคเพอื่ พัฒนาการมีสวน รวมและเปล่ยี นแปลงเจตคตขิ องนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ในรายวชิ า ง31101 เทคโนโลยสี ารสนเทศ ผานการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) และเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรูใน รายวชิ า ง 31101 เทคโนโลยสี ารสนเทศ ของนักเรียนระดบั ชั้นนมธั ยมศึกษาปท่ี 4 จากการทํากิจกรรมและ แบบฝกหดั ผานระบบการเรยี นรูออนไลน โดยการวิจัยครัง้ น้ีเปนการศกึ ษาผลของตวั แปรตนคอื การจดั การเรียน การสอนตามแนวคดิ แบบผสมผสาน ประกอบดวย การจัดการเรยี นการสอนในชั้นเรียน และการจัดการเรียน การสอนผานระบบเครอื ขาย ที่สงผลตอตัวแปรตามคือ ผลการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน แ บง ออกเปน 3 เรอ่ื ง คือ (1) ระดับการมสี วนรวมและเจตคติตอวิชาในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (2) ผลสัมฤทธกิ์ ารเรียรใู นรายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 4 และ (3)ความ พึงพอใจตอรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน ผลการวิจัยสามารถสรุปไดวา นักเรียนสวนใหญให ความรวมมือในการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสานเปนอยางดี และครูชวยสรางใหนกั เรียนมีเจตคติที่ดีตอ วชิ าคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศมากย่งิ ข้ึน ตลอดจนการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสานชวยให นกั เรยี นมีความสุขและสนุกกับการเรยี นรู รวมถึงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกอนการจัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน และหลงั จากการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน มคี วามแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญโดยหลัง การจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน นักเรยี นมกี ารเรียนรูที่สูงขึ้นอยางมนี ัยสําคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05

15 บทที่ 3 วธิ ดี ําเนินการวจิ ัย ในการวิจัยเร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชา ค3 3202 คณิตศา สตรเพิ่มเติม 6 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยการจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน ( Blended Learning) โดยผูวิจัยได ดําเนนิ การวจิ ยั ตามหัวขอตอไปนี้ 1. การกําหนดประชากรและกลมุ ตัวอยาง 2. เครื่องมือท่ใี ชในการวิจยั 3. การสรางและการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือ 4. วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมลู 5. การวเิ คราะหขอมูล 6. สถติ ทิ ่ีใชในการวเิ คราะหขอมูล 7. สถติ ิท่ีใชในการหาคณุ ภาพเคร่ืองมอื ท่ีใชในการศกึ ษา การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร คอื นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรยี นปากเกรด็ จาํ นวน 8 หองเรยี น รวมทั้งส้นิ จํานวน 292 คน กลมุ ตัวอยาง คอื นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 โรงเรียนปากเกร็ด จํานวน 2 หองเรียน รวมท้ังส้ิน จาํ นวน 71 คน ซึง่ ไดจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครือ่ งมือท่ีใชในการวิจยั 1. แผนการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) วิชาค33202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม 6 และจดั การเรยี นรแู บบผสมผสาน (Blended Learning) ผาน Pakkred Learning Cyber 2. แบบทดสอบกอนเรยี นและหลังเรยี น วชิ า ค33202 คณติ ศาสตรเพมิ่ เตมิ 6 3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการจัดการเรียนรูดวย การจัดการเรียนรูแบบ ผสมผสาน (Blended Learning) การสรางเครอ่ื งมือท่ใี ชในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) วชิ า ค33202 คณิตศาสตรเพมิ่ เติม 6 1.1 ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางขน้ั พน้ื ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร พทุ ธศกั ราช 2551 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 6 เกย่ี วกบั มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู 1.2 ศึกษาเน้อื หาท่ใี ชในการวจิ ัยคร้ังน้ี เปนเนือ้ หาในรายวชิ าค33202 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม 6 ประกอบดวยหนวยการเรียนรทู ั้งหมด 2 หนวยการเรียนรู ดงั น้ี 1) แคลคูลสั เบ้อื งตน 2) ตัวแปรสุมและการแจกแจงความนาจะเปน

16 1.3 จดั การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) ผาน Pakkred Learning Cyber 2. แบบทดสอบกอนเรยี นและหลังเรยี น วชิ า ค33202 คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ 6 ไดดาํ เนนิ การ ดังน้ี 2.1 ศึกษาหลกั สตู ร คมู ือครู แบบเรียน และวธิ สี รางแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 2.2 จดั ทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวชิ า ค33202 คณิตศาสตรเพิ่มเตมิ 6 3. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 3.1 ศกึ ษาเอกสาร ทฤษฎีทเี่ ก่ยี วของกับความพงึ พอใจ และหลักจติ วิทยาการเรียนรู เพื่อเปน แนวทางในการสรางแบบสอบถาม 3.2 สรางแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน (Blended Learning) ในการศกึ ษาวิจยั ครง้ั นี้ผูวิจยั สรางขน้ึ ตามวิธีของลิเคอรท (Likert) โดยใชรูปแบบมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ จํานวนทัง้ หมด 10 ขอ โดยมี ระดบั ความพึงพอใจ แบงออกเปน 5 ระดบั ดงั นี้ ความพงึ พอใจอยใู นระดบั มากทสี่ ุด ใหคะแนน 5 คะแนน ความพงึ พอใจอยใู นระดบั มาก ใหคะแนน 4 คะแนน ความพึงพอใจอยใู นระดับปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน ความพงึ พอใจอยใู นระดบั พอใช ใหคะแนน 2 คะแนน ความพึงพอใจอยใู นระดบั ตองปรบั ปรงุ ใหคะแนน 1 คะแนน 3.3 นําผลทน่ี กั เรียนไดตอบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีตอการจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน (Blended Learning) ไปวเิ คราะหแปลผลตามเกณฑ โดยมีการประเมินดงั นี้ คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู นระดบั มากทสี่ ุด คาเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดบั มาก คาเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยใู นระดบั ปานกลาง คาเฉลีย่ 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดบั พอใช คาเฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู นระดบั ปรับปรงุ การเกบ็ รวบรวมขอมลู การศกึ ษาวจิ ยั ในครง้ั นเ้ี ปนการศึกษาวิจัยเชิงกึ่งทดลอง กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2564 จาํ นวนนกั เรียน 71 คน ซง่ึ ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง ผูวิจัยไดเก็บ รวบรวมขอมลู ดังน้ี 1. ทดสอบแบบทดสอบกอนเรยี น วชิ า ค33202 คณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ 6 ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 6 2. จดั การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) วิชา ค33202 คณิตศาสตรเพิม่ เตมิ 6 3. ทดสอบแบบทดสอบหลังเรียน วชิ าค33202 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม 6 ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 6 ท่ใี ชการจดั การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 4. ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนทม่ี ตี อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 5. นาํ ขอมลู ที่ไดมาวิเคราะหดวยวิธีการทางสถติ ิตอไป

17 การวิเคราะหขอมูล การวจิ คั รั้งเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรระหวางคะแนนกอนเรียนกับคะแนน หลังเรียน โดยพิจารณาจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช t- test แบบ dependent samples test ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ผวู จิ ยั วิเคราะหขอมูลเพ่ือตรวจสอบสมมติฐานโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร สําเร็จรูป สถิติท่ีใชในการวเิ คราะหขอมูล 1. คาเฉลย่ี เลขคณติ โดยใชสูตร n xi X i1 N เม่อื n หมายถงึ ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด xi i1 N หมายถงึ จาํ นวนนกั เรยี นทงั้ หมดในกลุมทดลอง 2. สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน โดยใชสูตร S.D. n X2 1 xi i1 n เม่ือ n X 2 หมายถึง ผลรวมของคะแนนของแตละคนลบดวยคาเฉลย่ี ยกกาํ ลงั สอง xi i1 N หมายถึง จํานวนนกั เรียนท้ังหมดในกลมุ ทดลอง 3. ความแปรปรวน (������ ) โดยใชสตู ร ������ = ∑ (∑ ) () เม่อื ������ แทน ความแปรปรวนของคะแนน ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกาํ ลงั สอง ������ แทน จํานวนนกั เรยี นทั้งหมด X แทน คะแนนแตละตวั 4. ทดสอบความแตกตางของความแปรปร วนของกลุมตัวอยา งท้ังสองกลุม ดวยคะแนนจา ก แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร โดยใช ใช t- test แบบ independent samples test ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ ผวู ิจัยวเิ คราะหขอมลู เพอื่ ตรวจสอบสมมติฐานโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป

18 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหขอมลู สัญลกั ษณทใี่ ชในการวิเคราะหขอมลู การวิเคราะหขอมูลและแปรความหมายขอมูลผวู จิ ัยกาํ หนดสัญลักษณตางๆ ดังตอไปนี้ N แทนจาํ นวนนักเรียนในกลุมตวั อยาง x แทน คะแนนเฉลย่ี ของคะแนน SD แทน ความเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนน df แทน ช้นั แหงความเปนอิสระ (Degrees of Freedom) t แทน คาสถิตทิ ใ่ี ชในการทดลองคา ที (t - test) * แทน ระดบั นัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05 ผลการวเิ คราะหขอมูล 1. การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาค33202 คณติ ศาสตรเพิม่ เตมิ 6 ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ 6 โดยการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) ผวู ิจัยไดรวบรวมคะแนนของนกั เรยี นทีไ่ ดจาก การทําแบบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกอนเรยี นกับหลงั เรยี นของนักเรียนกลุมตัวอยางมาทดสอบสมมติฐาน ของการวิจยั โดยใชสถิติ Dependent Samples t-test สรปุ ไดดงั ตาราง 1 ตาราง 1 ผลการวิเคราะหระหวางคะแนนกอนเรียนกบั คะแนนหลังเรยี นวิชา วิชาค33202 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม 6 ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) กลมุ ตวั อยาง N x SD t Sig. กอนเรียน 71 7.36 3.42 หลงั เรยี น 0.634* 0.000 71 12.29 2.45 * แทน ระดบั นยั สําคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 จากตาราง 1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาค33202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 6 ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาป ที่ 6 โดยใชการจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) พบวา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกอนเรียนมี คาเฉลี่ย เทากับ 7.36 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เทากับ 3.42 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนมีคาเฉล่ีย เทากบั 12.29 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ 2.45 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียกอนเรียนและหลังเรียน พบวาคาเฉลยี่ หลงั เรยี นสงู กวากอนเรยี นอยางมนี ยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานของ การวจิ ัย คือ มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรยี นสูงกวากอนเรยี น

19 2. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 หลังการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) สรุปไดดงั ตาราง 2 ตาราง 2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงมาตรฐานของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 ท่มี ตี อการจดั การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) ขอความ ������ S.D. แปลความหมาย 1. ไดชี้แจงรายละเอียดการเรยี นรไู วอยางชัดเจน 4.38 0.54 มาก 2. เน้อื หาความรูที่นาํ มาใชตรงกบั ท่ีหลักสูตรกาํ หนด 3. สามารถเรียบเรยี งเนอื้ หาความรูไดเหมาะสม 4.17 0.81 มาก 4. ทําใหเขาใจเนื้อหาความรูของวิชาที่เรียนมากขน้ึ 5. สามารถทบทวนเนื้อหาความรูไดตลอดเวลา 4.51 0.61 มาก 6. สามารถแจงผลการเรียนรูไดทันที 7. สามารถเขาเรียนรไู ดอยางสะดวก 4.38 0.58 มาก 8. ชวยลดความยงุ ยากในการเรยี นรู 9. ความพึงพอใจโดยภาพรวมท่มี ตี อบทเรยี นออนไลน 4.62 0.57 มากทีส่ ดุ 10. ควรนําวิธีการเรียนรูลกั ษณะนม้ี าใชตอไป 4.31 0.46 มาก รวม 4.25 0.51 มาก 3.44 0.66 ปานกลาง 3.51 0.67 ปานกลาง 4.23 0.55 มาก 4.18 0.59 มาก จากตาราง 2 พบวา ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี นความพึงพอใจของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 6 ทมี่ ตี อการจดั การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) โดยภาพรวมนักเรียนมคี วามพึงพอใจอยูในระดบั มาก โดยไดคะแนนเฉลย่ี เทากับ 4.18 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากบั 0.59 เมอื่ พิจารณาเปนรายขอ พบวา นักเรยี น มคี วามพงึ พอใจทส่ี ามารถทบทวนเนือ้ หาความรูไดตลอดเวลา อยูในระดับมากท่ีสุด โดยไดคะแนนเฉลี่ยเทากับ 4.62 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.57 รองลงมา คอื สามารถเรียบเรยี งเน้ือหาความรูไดเหมาะสม ไดอยูใน ระดับมาก โดยไดคะแนนเฉล่ียเทากับ 4.51 สวนเบยี่ งเบนมาตรฐานเทากบั 0.61 และชวยลดความยุงยากในการ เรียนรูอยูในระดบั ปานกลาง โดยไดคะแนนเฉลย่ี ตํ่าท่ีสดุ เทากับ 3.4ภ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ 0.66

20 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ผลจากการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาค33202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม 6 ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปท่ี 6 โดยใชการจดั การเรียนรูการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) สามารถสรปุ ได ดงั นี้ วตั ถปุ ระสงคของการวิจยั 1. เพือ่ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกอนเรียนและหลังเรยี นวชิ า ค33202 คณิตศาสตรเพิม่ เติม 6 ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 6 โดยการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2. เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 6 หลงั การจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) ขอบเขตของการวจิ ยั ประชากรและกลมุ ตวั อยางท่ใี ชในการวิจยั ประชากร คอื นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนปากเกร็ด จํานวน 8 หองเรียน รวม ทัง้ สน้ิ จํานวน 292 คน กลมุ ตัวอยาง คือ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนปากเกร็ด จาํ นวน 2 หองเรียน รวม ทั้งสน้ิ จาํ นวน 71 คน ซ่งึ ไดจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ระยะเวลาท่ีใชในการวิจยั ดาํ เนินการวิจยั ในชวงเดอื นพฤศจิกายนถึงกมุ ภาพนั ธ เปนเวลา 4 เดือน เนอ้ื หาที่ใชในการวจิ ยั เนื้อหาที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนเนื้อหา ในรายวิชา ค33202 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 6 ประกอบดวยหนวยการเรยี นรูท้งั หมด 2 หนวยการเรยี นรู ดงั น้ี 1. แคลคลู สั เบือ้ งตน 2. ตวั แปรสมุ และการแจกแจงความนาจะเปน ตวั แปรทศี่ ึกษา ตวั แปรอสิ ระ คอื การจดั การเรยี นรูดวยแบบผสมผสาน (Blended Learning) ตวั แปรตาม คอื ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาค33202 คณิตศาสตรเพ่มิ เติม 6 ของนักเรียน ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 ที่ใชการจดั การเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) ผลการวิเคราะหขอมูล ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ า วชิ าค33202 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม 6 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยใชการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเรยี นหลังเรียนสูงกวา กอนเรยี นอยางมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ิที่ .05 และความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยใชการ จัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก

21 อภิปรายผลการวิจัย ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรยี น แสดงใหเหน็ วา ผูเรียนสามารถ เรยี นรูเนอ้ื หารายวชิ าไดจากการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) และการทํากิจกรรมตาง ๆ ผานระบบออนไลนไดดวยตนเอง ผเู รยี นสามารถเรียนไดทกุ ทท่ี ุกเวลาเพราะบทเรียนออนไลนไดจัดระบบ การเรียนการสอนท่ีใหผูเรยี นไดเรียนรอู ยางอิสระ ผูเรียนจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอน เรยี นดวยบทเรียนออนไลนอยางเห็นไดชัดสอดคลองกับอนรรฆ สาสุข (2556) ไดทําวิจัยเรื่อง การศึกษา ผลสมั ฤทธ์ิของการจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) เพ่ือสงเสริมการมีสวนรวมในช้ัน เรียนและเปลี่ยนแปลงเจตคติของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในรายวิชา ง31101 เทคโนโลยี สารสนเทศ ผลการวจิ ยั พบวานักเรียนสวนใหญใหความรวมมอื ในการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสานเปน อยางดี และครชู วยสรางใหนกั เรียนมีเจตคติที่ดีตอวิชาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี สารสนเทศมากย่ิงข้ึน ตลอดจนการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสานชวยใหนักเรียน มีความสุขและสนุกกับการเรียนรู รวมถึง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน และหลังจากการจัดการเรียนการสอน แบบผสมผสาน มคี วามแตกตางกนั อยางมนี ัยสําคัญโดยหลงั การจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน นักเรียนมี การเรียนรทู สี่ งู ข้ึนอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 ขอเสนอแนะ 1. กอนที่จะจัดการเรียนรแู บบออนไลนไปใช ครผู ูสอนควรศกึ ษาเนอื้ หาของบทเรียน และแผนการ สอนอยางละเอียด เพอื่ สามารถนาํ ไปปฏิบตั ไิ ดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ครูผูสอนควรเนนเรือ่ งความรวมมือในการเรียน และความซ่อื สตั ยในการทาํ แบบฝกหดั ระหวางเรยี น และแบบทดสอบหลังการเรียน เพ่อื ไดมาซึ่งผลการวจิ ยั ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ 3. จากการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยพบวาลักษณะการเรียนการสอนทแี่ ปลกใหม และมีความหลากหลายจะ เปนแรงจงู ใจ และเราความสนใจใหนักเรยี นตัง้ ใจปฏิบัติกิจกรรมเปนอยางดี

22 บรรณานกุ รม กรมควบคุมโรค. (2563). มาตรการและแนวทางการดําเนินการเพื่อเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรค ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 (COVID-19). สืบคนเมื่อ 8 สิงหาคม 2564, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/im_commands/im_commands06.pdf กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2560). ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง. (พมิ พครั้งท่ี 1). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2563). รมว.ศธ.คกิ ออฟเปดหองเรียนออนไลน “โรงเรียนหยดุ ได แตการเรยี นรู หยุดไมได”. สืบคนเม่อื 8 สงิ หาคม 2564, จากhttp://www.obec.go.th/archives/252307 กุลธดิ า ทงุ คาใน. (2564) การเรยี นรแู บบผสมผสาน Blended learning ในวิถี New Normal. ครุศาสตรสาร ปท่ี 15. ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-มิถนุ ายน).คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บานสมเดจ็ เจาพระยา. เกรียงศกั ดิ์ เจริญวงศศกั ด์.ิ (2559). อนาคตใหมของการศึกษาไทยในยุค Thailand 4.0. สืบคนเมอ่ื 8 สงิ หาคม 2564, จาก http://www.li.mahidol.ac.th/conference2016/thailand4.pdf วิทยา วาโย. (2562). การเรยี นการสอนแบบออนไลนภายใตสถานการณแพรระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยกุ ตใชจัดการเรียนการสอน. วารสารศนู ยอนามัยที่ 9. 14(34), 285-298. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). คูมอื ครกู ารใช หลักสตู รกลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กรุงเทพฯ: สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลย.ี อิทธพิ ทั ธ สวุ ทันพรกลู . (2562). การวิจัยทางการศึกษา แนวคิดและการประยุกตใช. (พมิ พครงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. จตพุ ร เลื่อนกะฐิน. (2557). การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning). สืบคนเม่ือ 5 มกราคม 2565., จาก https://www.gotoknow.org/posts/563375 LED.TNT. Blended Learning ระบบการเรยี นรใู นยคุ 4.0. สืบคนเม่อื 5 มกราคม 2565., จาก https://www.limitlesseducation.net/blended-learning/blended-learning (ม.ป.ป). Online Learning และ Blended Learning. เขาถงึ โดย http://pirun.ku.ac.th/~g521765053/report1g2.pdf, สืบคนเม่ือ 5 มกราคม 2565 บุญมา หลิมลาํ ยอง. (ม.ป.ป). Blended learning. เขาถึงโดยhttp://bunmamint10.blogspot.com/การ เรยี นรูแบบผสมผสาน. สืบคนเมอื่ 5 มกราคม 2565, ปรียา สมพชื . (14 กรกฎาคม 2552). องคประกอบของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน. เขาถึงโดย http://gotoknow.org/blog/blended/276465 สบื คนเมอ่ื 5 มกราคม 2565, ปณิตา วรรณพริ ณุ . การเรยี นรแู บบผสมผสานจากแนวคิดสกู ารปฏิบัต.ิ วารสารการอาชวี ะและเทคนิคศึกษา. ปท1ี่ . ฉบบั ท่ี2(ก.ค.-ธ.ค.2554),หนา43-49

23 นวลพรรณ ไชยมา. การพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยการประยุกตใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ช้ันสูงสาํ หรบั นกั ศึกษาสถาบนั การพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบรู ณ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต .มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน. 17 เมษายน 2555 Evidence-Based Practices in Online Learning: A Meta-Analysis and Review of Online Learning Studies https://www2.ed.gov/rschstat/eval/tech/evidence-based- practices/finalreport.pdf Higher academic performance in an Asian University: replacing traditional lecturing with blended learning https://dr.ntu.edu.sg/handle/10220/46012 วัฒนา พลาชยั . (2562). การพัฒนาบทเรียนออนไลน Mobile Learning โดยใชปญหาเปนฐาน รวมกบั เทคนิคการเรยี นแบบรวมมือ ในรายวิชาการเขียนเว็บไซต สําหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรียนศรีประจนั ต “เมธีประมขุ ”. วารสารสังคมศาสตรวิจัย. 10(1) , 186-200. สถานคี รู. (2563). Liveworksheets เเหลงรวมเเบบฝกหัดออนไลนทกุ วิชาฟรี สาํ หรับคณุ ครผู ูปกครองใน การเรยี นออนไลนยคุ COVID-19. สืบคนเม่อื 8 สงิ หาคม 2564, จาก https://krustation.com/liveworksheets สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). คูมือครกู ารใช หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กรุงเทพฯ: สถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. อนรรฆ สาสขุ . (2556) การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิของการจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) เพื่อสงเสรมิ การมีสวนรวมในช้นั เรยี นและเปล่ียนแปลงเจตคติของนักเรียน ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปที่ 4 ในรายวชิ า ง31101 เทคโนโลยีสารสนเทศ.ธรุ กิจและคอมพวิ เตอรศึกษา คณะ ศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร. อทิ ธพิ ทั ธ สุวทนั พรกลู . (2562). การวจิ ยั ทางการศกึ ษา แนวคิดและการประยกุ ตใช. (พมิ พคร้งั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. Klungphet, T and Others. (2015). Education Problems of Thai Children. Retrieved 8 August 2021, from http://goldenorangeblossom.wikispaces.com/. [in Thai]

24 ภาคผนวก เครื่องมอื ที่ใชในการวจิ ยั - แผนการเรียนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) https://drive.google.com/drive/folders/163ug11ceGHn9Fb1f0mrRnpPAnAnYH4BF?usp=sharing - แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มตี อการจัดการเรียนรู https://forms.gle/CGCfJP8nVtvFofTq6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook