โครงงานภาษาไทย เรอ่ื ง ทาไมภาษาในแตล่ ะภาคของประเทศไทยถงึ ต่างกนั เสนอ ครูอุไรภรณ์ พรหมลา จดั ทาโดย ๑ ด.ช. ชนินทร์ สงศรีจันทร์ ช้ัน ม.๒/๑ ๒ ด.ช. ชนกันต์ สงประสพ ช้นั ม.๒/๑ โรงเรียนสภาราชนิ จี ังหวัดตรัง ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
คานา รายงานฉบบั นเี้ ป็นส่วนหนึ่งของวชิ าภาษาไทยเพมิ่ เติม ชั้นม.2/1 โดยมจี ุดประสงคเ์ พ่อื การศึกษาว่า ทาไมภาษา ถิน่ ของแต่ละภาคจึงตา่ งกนั ทมี าของความแตกตา่ งคือ อะไร โดยเน้อื หาท้งั หมดในรายงานจะเกดิ จากการ รวบรวมข้อมลู ผ่านอนิ เตอรเ์ นต็ มีเน้อื ความเกย่ี วกบั ที่มา ของความแตกต่างในภาษาถิน่ ของแตล่ ะภาค รวมถงึ ตวั อย่างคาพดู ทใี่ ช้ในชวี ิตประจาวันตา่ งกนั อยา่ งไร ทาง กลุม่ เราจงึ เลือกหวั ขอ้ น้ีเพราะมนั ดนู ่าสนใจ ศกึ ษาขอ้ มูล งา่ ย และภาษากเ็ ป็นส่วนหนง่ึ ของชีวิตประจาวนั อยแู่ ล้ว การเขา้ ใจมนั ใหม้ ากขึ้นจงึ เปน็ ส่งิ ท่ดี ี กลุ่มของเรา ขอขอบคุณอาจารย์อไุ รภรณ์ พรหมลา ผูช้ ีแ้ นวทางและ ช่วยใหค้ าชแ้ี นะ หวังวา่ รายงานฉบบั น้จี ะใหค้ วามรกู้ บั ผู้ท่ี อ่าน และสามารถนาความรู้น้ันไปใช้ประโยชน์ได้ หากมี ข้อเสนอแนะใดๆ ทางกลมุ่ เรายินดีรับไว้และ ขอขอบพระคุณอยา่ งยง่ิ คณะผู้จัดทา
บทคดั ย่อ ประเทศไทยเปน็ หนงึ่ ในประเทศทมี่ เี อกลกั ษณ์ เพราะ แตล่ ะสว่ นของประเทศมภี าษาของตวั เอง และแตล่ ะภาษา กม็ เี อกลกั ษณข์ องตนเอง แตท่ กุ คนเคยสงสยั ไหมวา่ แลว้ ภาษาเหลา่ นมี้ นั มาไดอ้ ยา่ งไร มีทมี่ าจากอะไร คาถามนนั้ กค็ อื หวั ใจหลกั ของโครงงานน้ี เพราะฉะนน้ั โครงงานฉบบั น้ี จะพาไปดทู ม่ี าของภาษาถนิ่ ในแตล่ ะภาค รวมถงึ มี ตวั อยา่ งเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจความแตกตา่ งของแตล่ ะภาอกี ดว้ ย โดยขอ้ มลู ทไี่ ดเ้ กดิ จากการรวบรวมผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ใช้ เวลาศกึ ษาตงั้ แต่ 15 พฤษจกิ ายน 2564 ถงึ 30 ธนั วาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรอื่ ง ทาไมภาษาในแตล่ ะภาคของประเทศ ไทยถงึ ตา่ งกนั สามารถเสรจ็ สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยความ ชว่ ยเหลอื ของอาจารยอ์ ไุ รภรณ์ พรหมลา ทงั้ การใหค้ า ชแี้ นะและการชว่ ยขดั เกลา้ เนอื้ หารายงาน กลมุ่ เรา ขอขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสูง
บทท่ี 1 ท่ีมาและความสาคญั ของโครงงาน คนไทยทกุ คนตงั้ แต่เกดิ นัน้ ส่งิ แรกทจี่ ะไดเ้ รยี นกค็ อื ภาษาถน่ิ ของตน แตก่ ลบั ไม่ค่อยมีใครเคยสนใจเลย วา่ ภาษาถ่นิ ของ ตนเองนนั้ มที ม่ี าอยา่ งไร ในพธุ ศักราชที่ ๑๘๒๖ พระเจ้าตากสิน มหาราช ไดท้ รงคิดคน้ ลายสอื ไทยขน้ึ มาเปน็ ครง้ั แรก ทาให้ ผ้คู นมีภาษาใช้จนถงึ ปัจจบุ ันนี้ ลายสอื ไทยกไ็ ดถ้ กู เปลยี่ นแปลง ไปจนกลายเปน็ ภาษาไทยท่เี ราใชก้ นั อยู่ ภาษาถนิ่ ของแต่ละภาคในไทยน้นั ถงึ จะเป็นภาษาไทย เหมือนกันกจ็ ริง แตก่ ็ต่างกันทั้งสาเนียงการพดู และคาพดู บางคา ทไ่ี ม่มีในภาษาไทยมาตรฐาน เราจงึ อยากรู้ถึงท่มี าของมัน ท้ัง ดว้ ยความท่มี ันไม่มสี อน ทั้งดว้ ยความท่ีมันน่าสนใจ และเพือ่ จะ ได้นาความร้นู ้ีไปตอ่ ยอดในการเรียน ดังนนั้ ทางเราจึงอยากคน้ ควา้ หาท่มี าถึงจุดกาเหนดิ ของภาษา ถิน่ เหลา่ น้ี วตั ถปุ ระสงค์ของการทาโครงงาน เพอื่ ศึกษาวา่ ทาไมภาษาในแตล่ ะภาคของประเทศไทยถึง ต่างกนั เป็นเพราะอะไร ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการทาโครงงาน
ผู้อ่านสามารถนาความรนู้ ไี้ ปใชป้ ระกอบการเรยี นได้ เพ่ือ ช่วยให้ข้อสงสยั บางขอ้ คล่ีคลายมากขึน้ สมมตุ ฐิ านของการทาโครงงาน เปน็ ไปได้วา่ สาเหตุท่ใี นแตล่ ะภาคของประเทศไทยมี ภาษาท่ีต่างกัน อาจจะเปน็ เพราะเรือ่ งในอดีต เพราะ สมยั กอ่ นยงั ไมม่ ีประเทศไทย มีแคแ่ ควน้ ต่างๆที่เข้ามา ต้งั อยู่ ขอบเขตของการทาโครงงาน ๑.เพ่ือศกึ ษาวา่ สาเหตุของความแตกต่างของภาษาของ แต่ละภาคของไทย คืออะไร ๒.จะใชเ้ วลาศกึ ษา 15 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 ธนั วาคม ๓.วิธที จี่ ะใชใ้ นการศกึ ษาคอื ๓.๑ การคน้ คว้า ๓.๒ การสังเกต
บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง จากการศึกษาภาษาในแตล่ ะภาคของประเทศไทย ได้มีการคน้ ควา้ ศกึ ษาใน หนงั สอื สารานุกรม งานวิจยั ที่ เก่ยี วข้อง และเว็ปไซต์ท่ีเกี่ยวข้อง โดยมลี ายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑.ภาษาเหนอื มีไวยากรณ์คลา้ ยกับ ภาษาไทยกลางแต่ ใชค้ าศพั ทไ์ ม่เหมือนกันและไวยากรณ์ ท่แี ตกตา่ งกนั อยู่ บ้าง ๒.ภาษาอสี าน เป็นการพฒั นาในทอ้ งถน่ิ ของภาษาลาว ในประเทศไทย ผ้พู ดู ในทอ้ งยงั คงคดิ วา่ เป็นภาษาลาว รฐั บาลไทยยอมรับภาษานเี้ ป็นสาเนยี งภาษาไทย ทงั้ ชาว ไทยและลาวมคี วามเขา้ ใจรว่ มกันยาก เพราะแม้ว่าจะมีคา รว่ มเช้อื สายในพจนานกุ รมกว่าร้อยละ 80 ทง้ั ลาวและ อสี านมรี ะดบั เสยี งวรรณยกุ ตท์ ตี่ า่ งกันมากและมักใชค้ า จากภาษาไทย จงึ ทาใหเ้ กดิ การขดั ขวางความเข้าใจ ระหวา่ งกนั โดยไม่มกี ารเปดิ รับกอ่ น ๓.ภาษากลาง เป็นภาษาทีใ่ ชเ้ ป็นระบบให้บคุ คลทมี่ ไิ ดพ้ ดู ภาษาแม่ภาษาเดยี วกันสามารถสือ่ สารกนั ได้
๔.ภาษาใต้ ภาษาย่อยของภาษาไทยท่ใี ชแ้ ตกต่างไป ตามท้องถิ่นตา่ งๆ ในภาคใตข้ องประเทศไทย แตเ่ ดิมมา เมื่อกลา่ วถึงภาษาไทยถน่ิ ใต้จะหมายถงึ ภาษาไทยถนิ่ ท่ี ใช้พูดกันใน ๑๔ จังหวัดภาคใต้ ต่อมาผลการศึกษาค้นควา้ ของนักภาษาศาสตร์บางคน พบวา่ พ้นื ทีท่ เ่ี กย้ี วขอ้ งกบั ภาษาไทยถ่ินใต้ยงั ไกลเกนิ กวา่ ที่กลา่ วมา กลา่ วคอื ทางภาคใตต้ อนเหนอื ครอบคลมุ ไปถึง พนื้ ทรี่ ะหว่างบ้านนา้ ตก ตาบลห้วยยาง อาเภอทบั สะแก กบั บา้ นกรดู ตาบลชยั เกษม อาเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ บริเวณดงั่ กลา่ วน้เี ป็นเขตแบง่ ระหวา่ ง ภาษาไทยถนิ่ กลางกับภาษาไทยถนิ่ ใต้ สว่ นทางภาคใต้ ตอนใต้การใชภ้ าษาไทยถ่ินใตม้ อี าณาเขตครอบคลุมไป จนถึงภาษาไทยถ่นิ ต่างๆที่มผี ู้พดู กนั อย่ใู นประเทศ มาเลเซยี อ้างองิ จาก Wikipedia
บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 1) รวบรวมขอ้ มูลทเี่ กย่ี วขอ้ งทง้ั หมด 2) นามาเรยี บเรยี ง 3) วิเคราะห์หาคาตอบของปัญหาทเ่ี ราต้งั ไว้ ระยะเวลาการดาเนนิ งาน ต้งั แตว่ ันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถงึ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ขอบเขตของการศกึ ษา เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการคน้ ควา้ ขอ้ มลู -สมุดจดบันทกึ -อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ จาพวก คอมพวิ เตอร์,โทรศพั ท์ ,ไอแพด การเกบ็ ขอ้ มลู จะเกบ็ จากการศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูลผา่ นอนิ เตอร์เน็ต
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู -จะทาหลังจากรวบรวมขอ้ มูลและเรยี บเรียงข้อมลู เสร็จ -จะวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยยดึ ความนา่ ช่ือถอื ของขอ้ มลู เป็น เกณฑห์ ลัก
บทท่ี 4 ผลกรดาเนนิ งาน จากการศึกษาค้นควา้ ทาใหไ้ ด้ข้อมูลดงั น้ี ภาษาถ่ิน ขอ้ มูลทไี่ ด้ ตัวอยา่ ง 1.ภาษาถ่นิ คาพดู ใน ใต้ ชวี ติ ประจาวั น ภาษาไทยถ่นิ ใต้หรอื ภาษาตาม 1.หยา่ นดั โพร เป็นภาษาไทกลมุ่ หนง่ึ จัดอยู่ใน 2.แล กลุ่มภาษาไทยตะวนั ตกเฉยี งใต้ มผี ู้ใช้ 3.สายรดั ภาษาหนาแนน่ บรเิ วณ 14 จงั หวัด 4.ไคร,ไคล ภาคใต้ของประเทศไทย มีบางสว่ น 5.แหล่น กระจายตวั ไปใน จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ เขตตะนาวศรีใน ประเทศพม่า และบริเวณ รัฐเกอดะฮ์ รัฐ ปาลิส รฐั ปนี งั และ รัฐเปรกั ทางตอน เหนอื ของประเทศมาเลเซยี จาก การศึกษาของบราวน์ ภาษาไทยถิ่นใตม้ ี ววิ ัฒนาการมาจากภาษาสโุ ขทัยเม่ือ ประมาณ พุทธศกั ราชท่ี 1843 โดย วิวัฒนาการแบง่ ออกเปน็ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มภาษานครศรีธรรมราช กับกล่มุ ภาษาตากใบ โดยกลุ่มภาษา นครศรธี รรมราชแบ่งออกเปน็ 2 สาย คอื สายไชยา กับสายนครศรธี รรมราช ปจั จุบันภาษาถน่ิ ใต้ สามารถแบง่ ออกได้ เป็น 3 กลมุ่ สาเนยี งใหญ่ คอื 1.กล่มุ ตะวนั ออก
ภาษาถ่นิ ข้อมลู ที่ได้ ตัวอยา่ ง คาพูดใน มผี ู้ใช้อยูห่ นาแน่นในบริเวณทาง ชีวติ ประจาวั ตะวนั ออกของคาบสมุทร น 2.กลมุ่ ตะวันตก มีผูใ้ ชอ้ ยู่หนาแนน่ ใน บรเิ วณทางตะวันตกของคาบสมทุ ร 3.ตอนล่าง มีผูใ้ ช้อยหู่ นาแน่นในบริเวณ สามจงั หวัดชายแดนภาคใต้ 2.ภาษากลาง ภาษาไทยกลาง เป็นภาษาราชการและ 1.ส้บปะรด ภาษาประจาชาตขิ องประเทศไทย 2.ดู 3.ภาษา ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไทซงึ่ 3.เขม็ ขดั เหนอื เป็นกลุ่มย่อยของตระกลู ภาษาขรา้ -ไท 4.ตะไคร้ สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนมี้ ีถ่นิ 5.วง่ิ กาเนดิ จากทางตอนใตข้ องประเทศจีน ภาษาไทยปรากฏครั้งแรกใน 1.บะขะนัด พุทธศักราช 1826 โดยพ่อขนุ 2.แล รามคาแหง และปรากฏอย่างสากลและ 3.สายฮา้ ง ใช้ในงานของราชการ เม่อื วนั ท่ี 31 4.จักได มนี าคม พทุ ธศกั ราช 2476 ด้วยการ 5.ล่น กอ่ ต้งั สานกั งานราชบณั ฑติ ยสภาขนึ้ และปฏริ ปู ภาษาไทย พุทธศักราช 2485 คาเมอื งหรือชือ่ อยา่ งเปน็ ทางการว่า ภาษาถ่ินภาคพายพั เป็นภาษาถน่ิ ของ ชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทย ซง่ึ เป็นอาณาจกั รล้านนา เดิม ได้แก่ เชยี งใหม่, เชยี งราย, อุตรดติ ถ์, แพร,่ นา่ น, แมฮ่ ่องสอน, ลาพนู , ลาปาง, พะเยา และยังมกี ารพดู และการผสมภาษากนั ในบางพนื้ ที่ของ จังหวดั ตาก, สโุ ขทัย และเพชรบรู ณ์
ภาษาถนิ่ ขอ้ มูลทไี่ ด้ ตัวอยา่ ง 4.ภาษา คาพดู ใน อีสาน ปจั จบุ ันกลุ่มคนไทยวนไดก้ ระจัด ชวี ติ ประจาวั กระจายและมถี ิน่ ทอี่ ยใู่ นจังหวัดสระบุรี, น จังหวัดนครปฐม, จังหวดั ราชบุรี และ อาเภอของจงั หวดั อ่ืนทใี่ กล้เคยี งกบั ราชบรุ ี โดยนอกจากภาษาไทยถน่ิ เหนือ จะพูดกนั ในตอนเหนอื ของไทยแล้ว ยงั พดู กันในหว้ ยทรายและเมืองตน้ ผงึ้ ของ ประเทศลาวกบั ท่าขีเ้ หลก็ และเมยี วดี ของประเทศพม่าอีกด้วย คาเมืองมี ไวยากรณ์คลา้ ยกบั ภาษาไทยกลางแต่ ใชค้ าศพั ทไ์ มเ่ หมอื นกนั และไวยากรณ์ ทีแ่ ตกตา่ งกันอย่บู ้าง แตเ่ ดมิ ใชค้ ่กู ับ อักษรธรรมล้านนา ซ่งึ เปน็ ตวั อักษรของ อาณาจักรลา้ นนาทใ่ี ชอ้ ักษรมอญเป็น ต้นแบบ โดยภาษาไทยถ่ินเหนือสามารถ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 สาเนียง คือ สาเนียง ลา้ นนาตะวันตก และสาเนยี งลา้ นนา ตะวันออก ซงึ่ มีความแตกตา่ งกัน คอื สาเนยี งลา้ นนาตะวนั ออกสว่ นใหญ่จะ ไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใชส้ ระเอียะ เอยี แทน ภาษาไทยถ่นิ อสี าน หรือ ภาษาอสี าน 1.บกั นัด เป็นการพัฒนาในทอ้ งถ่นิ ของภาษาลาว 2.เบ่งิ ในประเทศไทย ผู้พดู ในทอ้ งยังคงคิดวา่ 3.เข็มขัด เปน็ ภาษาลาว แบ่งออกเป็น 6 สาเนียง 4.หัวสงิ ไค้ ใหญ่ คอื 1.ภาษาลาวเวียงจันทน์ 5.แลน่ ,แลน้ 2.ภาษาลาวเหนอื
ภาษาถ่นิ ข้อมลู ท่ไี ด้ ตวั อย่าง คาพดู ใน 3.ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนอื ชีวติ ประจาวั 4.ภาษาลาวกลาง แยกออกเปน็ สาเนยี ง น ถน่ิ 2 สาเนียงใหญ่ คอื ภาษาลาวกลาง ถน่ิ คาม่วน และถน่ิ สวุ รรณเขต 5.ภาษาลาวใต้ 6.ภาษาลาวตะวนั ตก เป็นภาษาที่ใชใ้ น ทอ้ งถิน่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของ ไทย ไม่มใี นลาว
บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน จากการศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูลเก่ยี วกบั ภาษาถน่ิ 4 ภาค ทา ให้เราไดร้ ู้หลายๆอยา่ งซงึ่ สรุปออกมาไดด้ ังนี้ 1.ภาษาถ่ินของแตล่ ะภาคมที ่ีมาต่างกนั 2.ภาษาถน่ิ ของแตล่ ะภาคมีเอกลกั ษณเ์ ปน็ ของตนเอง 3.ประเทศไทยน้ี นอกจากแต่ละภาคจะมภี าษาเป็นของ ตนเองแล้ว แตล่ ะพื้นทข่ี องภาคนั้นๆกม็ ีความแตกตา่ ง ทางด้านภาษาอีก ท้ังท่ีมา สาเนยี งและคาพูด โดยหาก ตอ้ งการจัดทมี่ าของภาษาถน่ิ ของแตล่ ะภาคแบบยอ่ ๆกจ็ ะ จัดได้ ดังน้ี 1.ภาษาใต้ มีวิวัฒนาการมาจากภาษาสุโขทยั เมอื่ ประมาณพุทธศักราชท่ี 1843 2.ภาษาเหนือ มวี ิวฒั นาการมาจากภาษาลา้ นนา 3.ภาษากลาง ปรากฏคร้งั แรกในพทุ ธศกั ราช 1826 โดย พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช 4.ภาษาอสี าน มีววิ ฒั นาการมาจากภาษาลาว
อภปิ รายผลการดาเนนิ งาน โครงงานเรือ่ ง ทาไมภาษาในแตล่ ะภาคของประเทศไทย ถงึ ต่างกัน เป็นโครงงานทใ่ี ชว้ ิธศี ึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู ด้วย อินเทอร์เน็ต แลว้ นามาจัดเรยี บเรยี งเสยี ใหม่ ทาใหไ้ ด้ ขอ้ มลู ท่เี ช่อื ถอื ได้และตรงกับหลายๆที่ โดยสามารถ สรปุ ผลการศกึ ษาเป็นขอ้ ๆไดด้ ังน้ี 1.ภาษาไทยถน่ิ ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มีทม่ี าจากภาษา ตา่ งชาติ,วิวัฒนาการของภาษาเกา่ ,ความผดิ เพ้ยี นไปจาก เดมิ 2.ภาษาไทยถนิ่ ใต้ วิวัฒนาการมาจากภาษาสโุ ขทัย เมื่อ ประมาณ พ.ศ.1843 โดยแบง่ ววิ ัฒนาการไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ คือกลมุ่ ภาษานครศรีธรรมราชและกล่มุ ภาษาตากใบ โดย กลุ่มภาษานครศรธี รรมราชแบ่งไดเ้ ป็น 2 สาย คอื สายไช ยาและสายนครศรีธรรมราช 3.ภาษากลาง ปรากฏคร้ังแรกในพุทธศักราช 1826 โดย พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 4.ภาษาไทยถ่ินเหนือ เป็นววิ ัฒนาการของภาษาลา้ นนา 5.ภาษาถนิ่ อสี าน เปน็ วิวฒั นาการของภาษาลาวใน ประเทศไทย ในทอ้ งท่ยี งั คดิ ว่าเปน็ ภาษาลาวอยู่
บรรณานุกรม 1.แหลง่ ข้อมูลท่มี าภาษาใต้:1) https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B 8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0 %B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B4 %E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8 %95%E0%B9%89?fbclid=IwAR3gcWT6cs- KdruHi_CW6B82UUh5K9jg- Wji4MkciVeyOka1eNYrIpMdIMo 2) https://m.facebook.com/madoosurat/posts/72312029 8040863 2.แหลง่ ข้อมลู ท่ีมาภาษากลาง: https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8 %B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%9 7%E0%B8%A2?fbclid=IwAR0HiQfg2Q07JGLn0u9EQBW mzBSyjaZh6tDldhj2FLpUmFL53bQMKnrp3SI
3.แหลง่ ข้อมูลท่ีมาภาษาเหนือ: https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8 %B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%9 7%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88% E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0 %B8%B7%E0%B8%AD?fbclid=IwAR1q6sbsAtOsitVr80p1 ahhFELOkvO3zIaTPWj16API4ex1xSVWA9mu5nhE 4.แหลง่ ขอ้ มลู ทมี่ าภาษาอสี าน: https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8 %B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%9 7%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88% E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0 %B8%B2%E0%B8%99?fbclid=IwAR1cV9ipyCc_WqJrmR k0CSHLBvobe23ddgQGQlxO_odbALHaeFAVPWnZnuM
ภาคผนวก 1.ตารางขอ้ มลู เพม่ิ เติมเก่ียวกับภาษาใต้: โดย Wikipedia
2. ตารางขอ้ มลู เพมิ่ เติมเกี่ยวกบั ภาษากลาง: โดย Wikipedia 3.ตารางข้อมลู เพิ่มเตมิ เก่ยี วกับภาษาอสี าน: โดย Wikipedia
4.ตารางขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ เกี่ยวกบั ภาษาเหนือ: โดย Wikipedia
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: