Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนจังหวัดฉะเชิงเทรา

แผนจังหวัดฉะเชิงเทรา

Published by nfeeast_korai, 2019-12-19 03:05:03

Description: แผนจังหวัดฉะเชิงเทรา

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 1.7.๔ เข่ือนทดนา้ บางปะกง เขอื่ นทดน้าบางปะกงตั้งอยํูบริเวณบ๎านไผํเสวก ตาบลบางแก๎ว อาเภอเมือง อยูํหํางจากปากแมํน้า ๗๐ กิโลเมตร ความจุ ๓๐ล๎านลกู บาศกเ๑ มตร สร๎างข้ึนเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ตามมติคณะรัฐมนตรี เพื่อปูองกันการรุกล้า ของนาเค็มและกักเก็บน้าไว๎ใช๎เพ่ือการอุปโภคบริโภค การเกษตรกรรม และการชลประทานขณะนี้การ ดาเนินการกํอสร๎างแล๎วเสร็จโดยอยูํระหวํางการศึกษาแก๎ไขป๓ญหาผลกระทบและศึกษาหาแนวทางในการ บริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อให๎สามารถดาเนินการเปิดใช๎งานเขื่อนทดน้าบางปะกงตามวัตถุประสงค๑ (ข๎อมูลจากสานักงานสิง่ แวดล๎อมภาคท่ี ๑๓ ชลบรุ ี) 1.7.5 พ้ืนทลี่ ุ่มนา้ และปริมาณนา้ ทา่ ตามธรรมชาติ แหลํงน้าที่มีอยูภํ ายในจงั หวัด ประกอบด๎วย จังหวัดฉะเชิงเทรามีแหลํงน้าธรรมชาติที่สาคัญ คือ แมํน้า บางปะกงและแมํน้าสาขา ห๎วย ลาธาร คลอง รวมท้ังสิ้น ๗๖๒ สาย ในจานวนน้ีมีน้าให๎ใช๎ได๎ในฤดูแล๎ง จานวน ๗๔๕ สาย มีหนอง บึง อีกจานวน ๑๖๗ แหํง ใช๎งานได๎ในฤดูแล๎ง ๑๖๖ แหํง มีน้าพุ น้าซับ ๙ แหํง มีน้าในฤดู แล๎ง ท้ัง ๙ แหงํ และอืน่ ๆ อีก ๑๗๙ แหงํ ใช๎งานได๎ในฤดูแล๎ง ๑๗๘ แหํง 1.7.5 ทรพั ยากรปา่ ไม้ ปุาตะวันออกหรือปุาเขตรอยตํอ ๕ จังหวัด ครอบคลุมบริเวณพ้ืนท่ีรอยตํอของจังหวัดชลบุรี จังหวัด ฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดสระแก๎วเดิมมีพ้ืนท่ีถึงประมาณ ๕,๐๐๐,๐๐๐ไรํ ตั้งแตํ พ.ศ. ๒๕๑๐ ปุาตะวันออกได๎ถูกบุกรุก เนื่องจากเกิดสงครามเวียดนาม มีการตัดถนน พ.ศ.๒๕๑๓รัฐบาลให๎ สัมปทานทาไมใ๎ นพืน้ ทแี่ กํบริษัท ทาไม๎ ๘ บรษิ ทั เป็นเวลา ๓๐ ปี ซ่ึงเป็นสาเหตุใหญํ ที่ทาให๎ปุาตะวันออกได๎ถูก ทาลายมากยิ่งข้ึน ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได๎มีการกาหนดให๎พ้ืนท่ีบริเวณปุารอยตํอ ๕ จังหวัด เป็นปุาปิดแตํก็ไมํ สามารถที่จะยับย้ังการบุกรุกปุาของราษฎรได๎ ดังนั้นใน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ พ.ศ. ๒๕๔๔ จึงได๎ มีการออกพระ ราชกฤษฎีกาให๎ผนวกพื้นท่ีปุารอยตํอ ๕ จังหวัด เข๎าเป็นสํวนหน่ึงของเขตรักษาพันธุ๑สัตว๑ปุาเขาอํางฤาไน รวม แล๎วมีเนื้อท่ี ๖๔๓,๗๕๐ไรํ ในพื้นท่ีแหํงนี้มีความหลากหลายทางชีวภาพคํอนข๎างสูง เชํน พบวํามีสัตว๑เลี้ยงลูก ด๎วยนมไมํน๎อยกวํา ๑๔๔ ชนิด นกไมํน๎อยกวํา ๔๐๙ ชนิด สัตว๑เล้ือยคลานไมํน๎อยกวํา ๑๒๑ ชนิด สัตว๑สะเทินน้า สะเทินบกไมํน๎อยกวํา ๔๓ ชนิด ปลาน้าจืดไมํน๎อยกวํา ๙๔ ชนิด และผีเส้ือไมํน๎อยกวํา๙๒ ชนิด (ข๎อมูลจาก เขตรักษาพนั ธุส๑ ัตวป๑ าุ เขาอํางฤาไน) จังหวัดฉะเชิงเทรามีพ้ืนที่ท้ังหมด 5,๓๕๑ ตารางกิโลเมตร หรือ 3,344,375 ไรํ ปี พ.ศ. ๒๕58 โดยมีพื้นที่ปาุ ทงั้ ส้นิ 516,177.33 ไรํ คดิ เปน็ ร๎อยละ 15.43 ของพ้ืนท่ีจังหวัด ซง่ึ จาแนกเป็น >>พ้นื ท่ีปุาบก 493,965.99 ไรํ คิดเป็นรอ๎ ยละ 15.29 ของพื้นทท่ี ง้ั หมด >>พ้ืนทีป่ าุ ชุมชน 14,902 ไรํ คิดเปน็ รอ๎ ยละ 0.45 ของพนื้ ที่ทั้งหมด >>ปุาชายเลน 7,309.34 ไรํ คดิ เปน็ ร๎อยละ 0.22 ของพืน้ ที่ทง้ั หมด 0.45 พ้นื ท่ปี ่าไม้ 0.22 15.29 พืน้ ทีท่ ้ังหมด 84.04 ป่าบก ปา่ ชมุ ชน ป่าชายเลน ~ 50 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) อาเภอท่ีมีพ้ืนที่ปุามากที่สุด ได๎แกํ อาเภอทําตะเกียบ จานวน 409,507.40 ไรํ รองลงมาได๎แกํ อาเภอสนามชัยเขต จานวน 108,580.57 ไรํ สาหรับพื้นท่ีปุาชายเลนจะมีอยํูในพ้ืนที่ 3 อาเภอ ได๎แกํอาเภอ บางปะกง อาเภอบ๎านโพธแ์ิ ละอาเภอเมอื ง ตารางแสดงจานวนพนื้ ท่ปี าุ ไม๎และพ้นื ที่อืน่ ๆ แยกรายอาเภอของจังหวดั ฉะเชิงเทรา อาเภอ ป่าบก (ไร)่ ปา่ ชายเลน นาก้งุ (ไร่) แหลง่ นา้ (ไร)่ พนื้ ที่อ่นื ๆ (ไร่) รวม (ไร)่ (ไร่) บางปะกง - ๒๑,๕๐๓.๘๗ ๔,๐๘๐.๗๐ ๑๒๘,๒๑๖.๑๗ ๑๖๐,๑๙๔.๖๘ บา๎ นโพธิ์ - ๖,๓๙๓.๙๓ ๓๖,๙๗๑.๘๐ ๔,๒๔๓.๗๔ ๘๙,๒๑๐.๗๕ ๑๓๒,๐๒๔.๗๐ เมือง - ๑๖,๖๒๓.๖๒ ๓,๐๙๔.๔๙ ๒๒๐,๙๓๕.๒๗ ๒๔๐,๖๘๒.๙๒ บางนา้ เปรีย้ ว - ๑,๕๙๘.๔๐ ๕๘๗.๓๑ ๓๐๙,๙๐๒.๘๗ ๓๑๐,๔๙๐.๑๘ บางคลา๎ - ๒๙.๕๘ - ๒,๑๗๒.๒๕ ๑๓๔,๖๙๘.๒๙ ๑๔๗,๒๔๘.๘๕ คลองเขอื่ น - - ๑๐,๓๗๘.๓๑ ๑,๖๖๓.๔๓ ๖๐,๘๒๐.๖๓ ๖๖,๙๘๐.๒๑ ราชสาส๑น - ๔,๔๙๖.๑๕ ๘๙,๘๕๐.๙๑ ๙๐,๔๗๙.๖๘ แปลงยาว ๒,๑๓๐.๖๔ - - ๑๙๙,๓๐๐.๑๑ ๒๐๔,๙๔๐.๓๐ พนมสารคาม ๗,๙๔๑.๔๙ ๖๒๘.๗๖ ๗๙๒.๗๒ ๓๐๙,๐๙๔.๘๘ ๓๑๙,๕๓๒.๐๙ สนามชัยเขต ๑๐๘,๕๘๐.๕๗ - ๒,๗๑๖.๘๓ ๒,๔๑๗.๐๓ ๕๕๑,๕๖๙.๑๕ ๖๖๖,๙๐๑.๒๒ ทาํ ตะเกยี บ ๔๐๙,๕๐๗.๔๐ - ๖,๗๕๑.๕๐ ๔๕๗,๓๑๙.๕๗ ๘๘๙,๑๒๘.๖๗ ๕๒๘,๑๖๐.๑๐ - ๗๘.๖๙ ๒๒,๓๐๑.๗๐ ๒,๕๕๐,๙๑๘.๖๒ ๓,๒๒๘,๖๐๓.๔๙ รวม - - ๔๘,๑๐๔.๘๗ - - - ๙๓,๓๙๘.๐๓ ๘,๐๒๑.๘๗ 1.8 ขอ้ มูลเชิงสถิติท่สี าคัญเชงิ พ้ืนท่ี 1.8.1 การใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ของจงั หวัดฉะเชงิ เทรา จังหวัดฉะเชิงเทรามีพ้ืนที่ประมาณ ๕,๓๕๑ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓,๓๔๔,๓๗๕ ไรํ การใช๎ประโยชน๑ที่ดินสํวนใหญํเป็นพ้ืนที่เกษตรกรรม ประมาณ 2,258,877 ไรํ โดยมีพ้ืนท่ีปุาไม๎ ประมาณ ๔๘๔,๐๕๖ ไรํ และพืน้ ท่นี อกการเกษตร ประมาณ 601,442 ไรํ (ปี 2554) ประเภทเนือ้ ท่ี (ไร)่ 2550 2551 2552 2553 2554 p (2007) (2008) (2009) (2010) (2011) เน้อื ที่ทงั้ หมด 3,344,375 เนื้อทปี่ า่ ไม้ 474,488 3,344,375 3,344,375 3,344,375 3,344,375 เน้อื ที่ถอื ครองทาง 484,056 484,056 484,056 484,056 การเกษตร 2,261,334 ทอี่ ยอํู าศัย 2,263,389 2,260,301 2,257,925 2,258,877 61,763 ทนี่ า 770,122 61,214 62,898 63,225 63,996 ทีพ่ ชื ไรํ 567,018 ที่ไมผ๎ ลและไม๎ยืนตน๎ 502,703 770,169 770,273 765,413 764,936 ทส่ี วนผกั และไมด๎ อก 21,693 ที่ทงํุ หญ๎าเลีย้ งสตั ว๑ 6,601 568,099 561,363 563,216 562,735 ที่รกรา๎ ง 48,330 เนอ้ื ท่ีทาการเกษตรอ่ืน ๆ 283,103 507,377 508,482 509,935 509,826 เนอ้ื ท่ีนอกการเกษตร 608,553 21,500 22,091 22,206 22,135 6,542 6,722 6,757 6,858 47,900 48,681 48,173 49,096 280,587 279,792 279,000 279,296 596,930 600,018 602,394 601,442 ท่ีมา : สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ๑ ~ 51 ~

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 1.8.2 ปริมาณน้าฝนในแตล่ ะเดือน เนอื่ งจากในจงั หวดั ฉะเชิงเทราไมํมสี ถานีอตุ นุ ยิ มวิทยา จงึ ต๎องใชข๎ ๎อมลู ของสถานีอุตุนิยมวิทยา ทใี่ กลท๎ สี่ ดุ คอื สถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยาจงั หวดั ชลบรุ ี โดยมสี ถิติปริมาณฝน ดงั นี้ สถติ ปิ ริมาณฝน ณ สถานีอตุ ุนิยมวทิ ยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2551 - 2555 รายการ 2551 2552 2553 2554 2555 (2008) (2009) (2010) (2011) (2012) ฝนรวม (มิลลิเมตร) 1,271.0 1,574.4 1,376.4 1,703.8 1,268.8 จานวนวันฝนตก (วนั ) 122 127 131 137 115 ฝนสงู สดุ (มิลลเิ มตร) 107.2 120.3 81.4 99.4 87.6 ท่มี า : สถานีอตุ ุนยิ มวิทยาจังหวัดชลบรุ ี 1.8.3 คดอี ุบตั ิเหตุการจราจรทางบก สถิติคดีอุบัติเหตุการจราจรทางบกของจังหวัดฉะเชิงเทราต้ังแตํปี 2550-2554 มีแนวโน๎มลดลง เร่ือยๆ อันเน่ืองมาจากการรณณรงค๑เร่ืองความปลอดภัยในการใช๎รถใช๎ถนน การกวดขันวินัยการจราจรอยําง จริงจงั ของเจา๎ หนา๎ ท่ีในพืน้ ทท่ี าใหส๎ ถิตขิ องอบุ ัติเหตุลดลงอยํางตํอเนื่อง รายละเอยี ดข๎อมลู ดังตาราง สถิติการรบั แจ้งคดอี บุ ตั เิ หตกุ ารจราจรทางบก จาแนกตามประเภทรถ ความเสยี หาย และผูต้ อ้ งหา จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2550 - 2554 ประเภท 2550 2551 2552 r 2553 r 2554 p (2007) (2008) (2009) (2010) (2011) รบั แจ๎งอุบัติเหตุ (ราย) 1,017 1,344 342 379 298 ประเภทผูใ๎ ชท๎ าง คนเดนิ เท๎า 35 68 16 25 19 ประเภทรถ รถยนตน๑ ั่ง 109 194 36 44 77 รถจกั รยานยนต๑ 622 848 88 130 170 รถบรรทุกขนาดเล็ก(ปิคอัพ) 205 280 58 92 121 รถบรรทุก 10 ล๎อ และ 93 84 12 17 17 มากกวาํ รถบรรทุก 6 ล๎อ 40 58 9 14 18 รถโดยสารขนาดใหญํ 31 26 4 6 9 รถโดยสารขนาดเล็ก (รถต๎ู) 45 39 4 9 14 แท็กซ่ี 1- 1- 3 รถสามลอ๎ เครือ่ ง 15 19 3 - 3 รถจกั รยาน 8 15 2 2 2 รถสามล๎อ 11 -- - รถอีแต๐น 4- -- - อ่นื ๆ 13 40 11 27 22 ความเสยี หาย มลู คําทรพั ย๑สนิ เสยี หาย 9.068 110.676 3.190 16.605 11.151 (ล๎านบาท) ~ 52 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ประเภท 2550 2551 2552 r 2553 r 2554 p (2007) (2008) (2009) (2010) (2011) ความเสียหายท่ีเกิดขนึ้ กับ บคุ คล 156 125 73 98 116 ตาย 30 29 ชาย 22 44 32 หญงิ 115 108 45 50 39 57 72 บาดเจบ็ สาหสั 23 32 43 ชาย 451 531 หญงิ 256 354 76 82 134 บาดเจบ็ เลก็ น๎อย 280 334 36 60 78 ชาย 13 9 หญิง 19 12 168 244 207 ผูต๎ ๎องหา 16 11 18 จับได๎ จบั ไมไํ ด๎ 7 11 7 ไมรํ ูต๎ วั ทม่ี า : สานักงานตารวจแหงํ ชาติ 1.8.4สถติ กิ ารเกดิ และจบั กุมคดอี าญา 5 กลุ่ม 1.8.4.1) สถิติการรบั แจ๎งและจบั กุมกลํมุ คดอี าญาคดอี กุ ฉกรรจแ๑ ละสะเทือนขวัญ จาแนกตามประเภท คดที ี่รบั แจ๎ง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2554 - 2558 ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) รบั แจ้ง (Reported) รวม 53 77 42 37 28 ฆาํ ผอู๎ ่นื โดยเจตนา 42 45 30 25 11 ปลน๎ ทรัพย๑ 3 12 5 6 3 ชงิ ทรัพย๑ 6 19 6 5 12 ลักพาเรยี กคําไถํ - 1 0 0 0 วางเพลิง 2 0 1 1 2 จบั (Arrested) รวม 27 60 34 32 27 ฆําผ๎ูอนื่ โดยเจตนา 20 33 23 22 11 ปล๎นทรพั ย๑ 1 12 5 6 3 ชิงทรัพย๑ 4 14 5 3 11 ลกั พาเรยี กคําไถํ - 1 0 0 0 วางเพลิง 2 0 1 1 2 ท่ีมา : สานกั งานตารวจแหงํ ชาติ ~ 53 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 1.8.4.2) สถิตกิ ารรบั แจง๎ และจบั กมุ กลํมุ คดอี าญาที่เกยี่ วกบั ชวี ิต ราํ งกาย จาแนกตามประเภทคดีท่ีรับ แจง๎ จังหวัดฉะเชงิ เทรา พ.ศ. 2554 - 2558 ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) รวม ฆาํ ผอ๎ู นื่ โดยเจตนา รบั แจ้ง (Reported) 479 407 ฆาํ ผอู๎ ื่นโดยไมเํ จตนา 313 347 255 25 11 ทาใหต๎ ายโดยประมาท 42 45 30 12 12 4 10 6 10 พยายามฆาํ 223 54 49 ทาร๎ายรํางกาย 53 69 42 142 288 ขํมขนื กระทาชาเรา 169 171 122 41 47 43 50 52 รวม 432 353 ฆําผ๎ูอน่ื โดยเจตนา จบั (Arrested) 22 11 ฆาํ ผอ๎ู ่นื โดยไมเํ จตนา 136 271 196 8 10 ทาให๎ตายโดยประมาท 20 33 23 10 365 43 38 พยายามฆาํ 113 326 257 ทารา๎ ยรํางกาย 18 50 27 30 37 ขมํ ขนื กระทาชาเรา 76 141 94 ทม่ี า : สานักงานตารวจแหํงชาติ 18 40 44 1.8.4.3) สถิติการรับแจ๎งและจับกุมกลุํมคดีประทุษร๎ายตํอทรัพย๑จาแนกตามประเภทคดีที่รับแจ๎ง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2554 - 2558 ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) รวม ลักทรพั ย๑ รบั แจง้ (Reported) 893 612 วิ่งราวทรพั ย๑ 947 864 777 614 439 กรรโชกทรพั ย๑ 870 763 694 14 16 ชิงทรพั ย๑ (รวม) 25 29 26 0 4 222 5 12 บาดเจบ็ 6 19 6 2 4 ไมํบาดเจบ็ 242 3 8 ปลน๎ ทรพั ย๑ 4 15 4 6 3 รบั ของโจร 3 12 5 2 2 ทาให๎เสียทรพั ย๑ 135 252 136 40 36 39 ~ 54 ~

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) รวม ลกั ทรพั ย๑ จับ (Arrested) 539 387 ว่ิงราวทรพั ย๑ 354 438 381 272 225 กรรโชกทรัพย๑ 321 367 318 10 11 ชงิ ทรัพย๑ (รวม) 12 20 18 04 222 3 11 บาดเจบ็ 4 14 5 24 ไมบํ าดเจ็บ 122 17 ปลน๎ ทรัพย๑ 3 12 3 63 รับของโจร 1 12 5 12 ทาให๎เสยี ทรัพย๑ 125 247 131 13 21 28 ทมี่ า : สานักงานตารวจแหํงชาติ 1.8.4.4) สถิตกิ ารรบั แจง๎ และจบั กมุ กลุมํ คดอี าญาทนี่ ําสนใจ จาแนกตามประเภทคดีท่ีรับแจง๎ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2554 - 2558 ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) รวม โจรกรรมรถจกั รยานยนต๑ รบั แจง้ (Reported) 471 265 518 545 453 295 178 โจรกรรมรถยนต๑ 327 292 268 22 13 โจรกรรมโค-กระบือ 33 42 15 0 0 โจรกรรมเครอื่ งมอื เกษตร 102 0 0 ปลน๎ -ชงิ รถยนตโ๑ ดยสาร 440 0 0 ปลน๎ -ชงิ รถยนต๑แท็กซ่ี 0 0 - 00 0 0 ขํมขนื และฆาํ - 00 0 0 ลักพาเรียกคาํ ไถํ - 00 69 85 - 10 85 89 ฉอ๎ โกง 55 99 85 ยกั ยอกทรัพย๑ 98 107 83 139 149 50 46 รวม จับ (Arrested) 8 4 โจรกรรมรถจักรยานยนต๑ 104 215 142 0 0 53 73 50 0 0 โจรกรรมรถยนต๑ 4 10 3 0 0 โจรกรรมโค-กระบือ 0 0 โจรกรรมเครื่องมือเกษตร - 00 0 0 ปลน๎ -ชิงรถยนต๑โดยสาร 340 0 0 ปล๎น-ชงิ รถยนต๑แทก็ ซ่ี - 00 32 42 - 00 ขํมขืนและฆาํ - 00 ลกั พาเรียกคาํ ไถํ - 10 17 69 50 ฉอ๎ โกง ~ 55 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) ยกั ยอกทรัพย๑ 27 58 39 49 57 ทีม่ า : สานักงานตารวจแหงํ ชาติ 1.8.4.5) สถิติการรับแจ๎งและจับกุมกลุํมคดีที่รัฐเป็นผ๎ูเสียหาย จาแนกตามประเภทคดีที่รับแจ๎ง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา พ.ศ. 2554 - 2558 ประเภทคดี 2554 2555 2556 2557 2558 (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) จับ/ราย (Arrested/Cases) รวม 5,107 6,727 9,073 10,236 8,375 543 336 พ.ร.บ.อาวธุ ปนื 322 309 364 526 328 17 8 อาวุธปนื ธรรมดา 314 303 354 2,079 2,127 1,359 1,453 อาวุธปืนสงคราม 8 6 10 720 674 7,146 4,898 พ.ร.บ.การพนัน 518 434 710 467 1,013 1 1 การพนนั ท่ัวไป 422 378 533 การพนนั สลากกนิ รวบ 96 56 177 พ.ร.บ.ยาเสพตดิ 4,250 5,942 7,939 พ.ร.บ.ปรามการคา๎ ประเวณี 16 38 59 มีและเผยแพรวํ ัตถุลามก 1 4 1 จับ/คน (Offender/Person) รวม 6,145 7,868 10,526 12,160 10,753 567 367 พ.ร.บ.อาวธุ ปนื 346 328 382 546 353 21 14 อาวุธปืนธรรมดา 338 321 363 3,780 4,312 3,060 3,635 อาวธุ ปนื สงคราม 8 7 19 720 677 7,338 5,056 พ.ร.บ.การพนนั 1,423 1,318 1,954 474 1,017 11 การพนนั ทัว่ ไป 1,327 1,262 1,777 ท่ีมา : สานกั งานตารวจแหงํ ชาติ การพนนั สลากกนิ รวบ 96 56 177 พ.ร.บ.ยาเสพตดิ 4,356 6,161 8,127 พ.ร.บ.ปรามการคา๎ ประเวณี 19 56 62 มีและเผยแพรวํ ตั ถลุ ามก 1 5 1 1.8.5 อตั ราการเจ็บป่วยของประชาชนในจังหวัดฉะเชงิ เทรา จากข๎อมูลจานวนผู๎ปุวยในและจานวนผู๎ปุวยนอกของสถานบริการสาธารณสุข ของกระทรวง สาธารณสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2555 – 2557 พบวํามีจานวนผู๎ปุวยเพ่ิมขึ้นทุกปีท้ังผ๎ูปุวยในและผู๎ปุวย นอก ซ่ึงอาจจะเนื่องมาจากสุขภาพของประชาชนท่ีมีการเจ็บปุวยเพิ่มข้ึน หรืออาจจะเนื่องมาจากการเข๎าถึง ระบบบริการสาธารณสุขทีง่ าํ ยขึ้นทาให๎มีประชาชนมารับบรกิ ารเพ่ิมมากข้ึน รายละเอียดข๎อมลู ดังตาราง ~ 56 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) อัตราป่วยของผ้ปู ่วยนอกจาแนกตามกลุ่มสาเหตกุ ารป่วย (21 กลุม่ โรค) จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ปงี บประมาณ 2555-2557 อันดบั สาเหตกุ ารปว่ ย (กลุ่มโรค) ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ 2555 2556 2557 1 โรคระบบหายใจ 55,563.39 51,236.44 49,566.66 2 โรคระบบไหลเวียนเลอื ด 44,454.57 47,369.41 49,227.50 3 โรคเกย่ี วกบั ตํอมไร๎ทํอ โภชนาการ และเม 35,958.17 38,882.29 42,282.82 ตาบอลิสมั 4 โรคระบบยํอยอาหาร รวมโรคในชอํ งปาก 33,841.35 35,882.67 37,321.83 5 โรคระบบกลา๎ มเน้ือ รวมโครงราํ งและเนื้อ 40,415.24 38,464.92 35,279.46 ยดึ เสรมิ 6 โรคติดเชือ้ และปรสิต 15,280.92 14,874.71 14,694.03 7 โรคระบบสบื พันธ๑ุรวํ มป๓สสาวะ 9,058.54 10,012.96 11,314.27 8 โรคผิวหนงั และเนอื้ เยื่อใต๎ผิวหนงั 11,383.19 10,618.17 10,730.83 9 โรคตา รวมสํวนประกอบของตา 7,287.93 7,869.67 9,068.19 10 ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤตกิ รรม 6,465.70 6,901.79 6,859.06 11 โรคระบบประสาท 5,981.72 6,241.46 5,996.73 12 อุบัตเิ หตจุ ากการขนสํงและผลที่ตามมา 3,896.70 2,853.93 2,268.82 13 เนื้องอก (รวมมะเร็ง) 1,784.89 1,994.83 2,248.10 14 โรคเลือดและอวยั วะสรา๎ งเลอื ด และความ 1,777.38 1,739.19 1,932.41 ผดิ ปกตเิ ก่ยี วกับภูมิคุม๎ กัน 15 โรคหูและปุมกกหู 1,778.56 1,736.42 1,741.75 16 ภาวะแทรกในการต้งั ครรภ๑ การคลอดและ 952.06 969.34 1,032.99 ระยะหลงั คลอด 17 ภาวะผดิ ปกติของทารกที่เกิดขน้ึ ในระยะ 250.23 232.31 293.53 ปริกาเนดิ 18 รปู รํางผดิ ปกตแิ ตํกาเนดิ การพกิ ารจนผดิ 208.58 241.79 265.42 รูปแตกํ าเนิดและโครโมโซมผิดปกติ 19 อาการ การเป็นพิษและผลท่ีตามมา 78.31 73.79 80.12 * อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติท่ีพบได๎ 42,093.85 38,044.63 35,472.58 การตรวจทางคลินิกและทางห๎องปฏิบตั ิ การท่ไี มํสามารถจาแนกโรคในกลุํมอน่ื ได๎ * สาเหตุจากภายนอกอื่นๆทีท่ าใหป๎ ุวยหรอื 8,364.66 7,847.51 8,004.33 ตาย รวม 326,875.93 324,088.22 325,681.44 แหล่งที่มา ขอ๎ มูลจาก รายงาน 504 ประจาปีงบประมาณ 2555 - 2557 หมายเหตุ กลํุมโรค * 18, 21 ไมนํ ามาจดั ลาดบั ความสาคญั ใช๎ข๎อมลู ประชากรจากสานกั บรหิ ารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555–2557 (685,721 คน , 690,226 คน , 695,478 คน) อตั ราปวุ ย หมายถงึ อตั ราปุวยตอํ ประชากรแสนคน ~ 57 ~

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) อตั ราปว่ ยของผู้ป่วยใน จาแนกตามกลมุ่ สาเหตุการป่วย ( 75 กลุ่มโรค ) 20 อนั ดับแรก จังหวัดฉะเชงิ เทรา ปงี บประมาณ 2555-2557 อนั ดบั สาเหตุการป่วย (กลุ่มโรค) ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2556 2557 1 ความผิดปกตเิ กยี่ วกบั ตํอมไรท๎ อํ 2,817.02 2,912.26 3,326.74 โภชนาการและเมตาบอลิสัมอื่น ๆ 1,654.77 1,779.59 1,726.10 1,142.24 1,194.07 1,137.16 2 โรคความดันโลหติ สงู 1,079.68 1,118.97 1,120.79 3 โรคเบาหวาน 4 โรคเลอื ดและอวยั วะสร๎างเลอื ดและความ 1,170.50 1,047.07 1,021.11 ผดิ ปกตบิ างชนิดทเ่ี กีย่ วกับระบบภูมคิ ุม๎ กนั 1,014.03 976.78 990.26 5 โรคแทรกซ๎อนในการตงั้ ครรภ๑ การเจ็บ 1,002.55 950.09 846.82 845.39 800.90 ครรภ๑ การคลอด ระยะหลังคลอดและ 802.66 894.97 791.19 ภาวะอืน่ ๆ ทางสตู ิกรรมท่ีมีไดร๎ ะบุไว๎ท่ีอ่นื 805.75 722.16 718.46 6 โรคอื่นของระบบยํอยอาหาร 644.72 709.33 705.28 7 โรคตดิ เชอ้ื อื่น ๆ ของลาไส๎ 618.96 709.33 688.47 8 ปอดอักเสบ 816.49 9 โรคตดิ เช้อื และปรสิตอน่ื ๆ 652.45 592.70 10 โรคอื่น ๆ ของระบบหายใจ 529.46 457.04 466.22 11 โรคหวั ใจและโรคของการไหลเวียนเลือด 402.87 467.54 459.70 ผาํ นปอดอ่นื ๆ 454.39 285.10 458.11 12 ความผดิ ปกติอนื่ ๆ ท่ีเกิดข้นึ ในระยะ 206.06 404.83 454.05 ปริกาเนิด 341.20 404.83 428.56 13 โรคอน่ื ของระบบสบื พันธรุ๑ วํ มปส๓ สาวะ 406.55 401.04 421.46 14 โรคหลอดเลือดสมองใหญํ 414.80 442.89 416.82 15 โรคของระบบกล๎ามเน้ือรวํ มโครงราํ ง 434.81 16 โรคตาและสวํ นผนวก 17 ไตวายเรอื้ รัง 18 โรคหัวใจขาดเลอื ด 19 โรคของผวิ หนังและเนอื้ เยื่อใต๎ผิวหนงั 20 โรคเรอ้ื รงั ของระบบหายใจสํวนลําง แหล่งท่ีมา ข๎อมูลจาก รายงาน 505 ประจาปีงบประมาณ 2555-2557 หมายเหตุ ใชข๎ อ๎ มลู ประชากรจากสานักบรหิ ารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2555–2557 (685,721 คน , 690,226 คน , 695,478 คน) อตั ราปุวย หมายถึง อตั ราปวุ ยตอํ ประชากรแสนคน ~ 58 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) อัตราตาย จาแนกตามสาเหตุท่ีสาคญั 10 อันดับแรก จงั หวัดฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. 2555-2557 อันดับ สาเหตกุ ารตาย พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 1 เนอื้ งอกรา๎ ย (Neoplasms) (C00 - C99) 91.73 100.40 104.82 2 ปอดบวม (Pneumonia) (J12-J18) 38.65 44.91 57.80 3 โลหิตเป็นพษิ (Septicaemia) (A40 - A41) 59.06 54.47 50.18 4 โรคหลอดเลอื ดในสมอง (Cerebrivascular 36.46 39.70 45.44 diseases) (I60 - I69) 5 โรคหวั ใจ (Heart diseases) (I20 - I52) 32.81 43.46 41.12 25.08 23.18 28.33 6 อบุ ตั เิ หตุการขนสํง (Transport accidents) (V01-V99) 18.81 19.70 23.72 7 โรคของระบบสบื พนั ธุ๑และทางเดนิ ป๓สสาวะ 11.23 14.20 20.56 (Diseases of the genitourinary system) 7.73 16.37 19.84 (N00-N99) 2.19 9.85 18.40 8 โรคของตบั (Diseases of liver) (K70-K76) 9 เบาหวาน (Diabetes mellitus) (E10-E14) 10 ความดันโลหติ สูง ท่มี า : กลมํุ ข๎อมูลขําวสารสุขภาพ สานักนโยบายและยุทธศาสตร๑ กระทรวงสาธารณสขุ หมายเหตุ ใช๎ข๎อมลู ประชากรจากสานักบรหิ ารการทะเบยี น กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555–2557 (685,721 คน , 690,226 คน , 695,478 คน) อตั ราตาย หมายถึง อตั ราตายตํอประชากรแสนคน ~ 59 ~

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) สรุปการจัดลาดบั ความสาคัญของปญั หาสุขภาพ/สาธารณสขุ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ปี 2557 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดฉะเชิงเทรา โดยกลํุมงานพฒั นายทุ ธศาสตร๑สาธารณสุข ได๎รวบรวม ปญ๓ หาสขุ ภาพ/สาธารณสขุ จาก ทุกกลํุมงานในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา และเครือขํายบริการ สุขภาพของทุกอาเภอ ประมวลสรุปเป็นป๓ญหาสุขภาพจังหวัดฉะเชิงเทรา ประจาปี 2557 โดยใช๎วิธี ตารางตัดสินใจ (Multi-variable decision) ผลการวิเคราะห๑สรุปจัดลาดับความสาคัญของป๓ญหาสุขภาพ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ปี 2557 : 10 อนั ดบั แรก เป็นดังนี้ อนั ดับ ปัญหาสขุ ภาพ/สาธารณสุข คะแนน 1 โรคเบาหวาน, ความดันโลหติ สงู 76.00 2 อบุ ตั เิ หตุจราจร 74.00 3 ป๓ญหาสุขภาพของผูส๎ ูงอายุ, ผส๎ู ูงอายขุ าดการดแู ล 72.50 4 โรคหัวใจ, หลอดเลือดสมอง 70.00 5 ผ๎ูพกิ ารขาดคนดูแล, ผพ๎ู ิการท่ีชวํ ยเหลือตนเองไมํได๎ 69.50 6 โรคมะเร็ง, เน้ืองอกร๎าย 68.50 7 ภาวะอว๎ นลงพงุ , ขาดการออกกาลงั กาย, พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารหวาน 66.00 มันเคม็ อาหารจานดํวน 8 การคลอดและการดูแลหญิงคลอดบุตร ไดแ๎ กํ หญิงคลอดบุตรอายุน๎อยกวาํ 64.50 20 ปี, อตั ราสํวนมารดาตาย, ป๓ญหาตกเลือด หลังคลอด 9 โรคไข๎เลือดออก 63.50 10 ทารกและการดูแลทารก ได๎แกํ ทารกแรกเกดิ น้าหนกั น๎อยกวํา 2,500 กรมั , 63.00 เดก็ กินนมแมนํ ๎อยกวาํ 6 เดอื น 1.8.6 การประกนั สงั คม สถติ กิ องทนุ ประกนั สงั คม จงั หวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2552 - 2557 รายการ 2552 2553 2554 2556 2557 จานวนสถานประกอบการ1/ (แหงํ ) (2009) (2010) (2011) (2013) (2014) 3,549 3,697 3,828 4,113 4,185 จานวนผป๎ู ระกันตนในระบบ 163,076 178,402 186,955 206,404 209,019 ประกันสงั คมตามมาตรา 33 2/ (คน) จานวนผป๎ู ระกันตนในระบบ 7,191 7,607 8,771 11,253 11,958 ประกันสงั คมตามมาตรา 39 3/ (คน) จานวนการใช๎บรกิ ารของผปู๎ ระกันตน กรณีเจบ็ ปุวย (ราย) 365,272 393,922 423,807 448,268 463,193 กรณที ุพพลภาพ (ราย) 11 15 11 23 14 กรณีตาย (ราย) 225 266 271 330 344 กรณคี ลอดบตุ ร (ราย) 4,512 4,243 4,653 4,840 4,906 กรณชี ราภาพ (ราย) 1,150 1,295 1,892 2,116 2,750 กรณีสงเคราะห๑บุตร (ราย) 22,454 22,721 23,191 24,664 24,430 วํางงาน4/ (ราย) 1,453 875 898 972 1,807 ที่มา : สานกั งานประกันสงั คม กระทรวงแรงงาน ~ 60 ~

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 1.8.7 รายไดจ้ ากการจาหนา่ ยสนิ คา้ OTOP รายไดจ๎ ากการจาหนาํ ยสนิ ค๎าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ๑ (OTOP)ตง้ั แตํปงี บประมาณ 2555-2558 ของจงั หวัดฉะเชงิ เทรา มแี นวโนม๎ เพมิ่ ขน้ึ อยํางสม่าเสมอ รายละเอียดดังตาราง หนํวย : บาท จังหวดั 2555 2556 2557 2558 ฉะเชิงเทรา 1,664,467,822 1,680,366,845 1,980,600,449 2,077,104,539 ทม่ี า : กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1.8.8 อตั ราการว่างงาน จงั หวัดฉะเชิงเทราถอื เปน็ จังหวัดท่มี อี ัตราการวํางงานอยํูในระดับท่ีต่าเพียงร๎อยละ 1.3 (ปี 2558) ซง่ึ แสดงถงึ ภาวการณ๑มงี านทาที่ดีของประชาชนในจังหวัด หนํวย : รอ๎ ยละ เพศ 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 (2008) (2009) (2010) (2011) (2012) (2013) (2014) (2015) รวม 1.5 1.9 1.5 0.9 1.1 1.1 0.9 1.3 ชาย 1.4 2.4 1.7 1.1 1.4 1.1 1.0 1.5 หญงิ 1.7 1.2 1.3 0.7 0.9 1.0 0.7 1.0 ทมี่ า : สานกั งานสถติ ิแหํงชาติ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ~ 61 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 1.9 ข้อมลู สรปุ ผลการดาเนนิ การตามแผนพัฒนาจงั หวัดทผ่ี า่ นมา แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๕7-๒๕60) น้ีกาหนดวิสัยทัศน๑ของจังหวัด“ศูนย๑กลางแหํง บูรพาวิถีสํูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฐานอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเดํน เป็นเลิศสินค๎าเกษตร ปลอดภัย ทํองเท่ียวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมได๎มาตรฐาน สังคมเป็นสุข” โดยมีประเด็นยุทธ๑ศาสตร๑ท่ีสาคัญ 5 คอื ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑: เพิม่ ขีดความสามารถการแขงํ ขันของภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมรองรับ AEC และตลาดโลก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: เพ่ิมประสิทธิภาพและยกระดับขีดความสามารถในการแขํงขันของภาคเกษตร ปลอดภยั ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3: พฒั นาการทอํ งเทย่ี วเชงิ นิเวศ และวัฒนธรรมให๎ไดม๎ าตรฐาน ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4: สํงเสรมิ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล๎อมให๎สมดลุ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5: พัฒนาทุนทางสังคมและความมน่ั คงสํสู ังคมเป็นสขุ ท้งั น้ี แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรามีผลการดาเนนิ งานทสี่ าคัญ ๕ ประการ คือ ๑. การเบิกจํายงบประมาณตามระยะเวลาท่ีกาหนด พบวํา ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 จังหวัด ฉะเชิงเทราสามารถเบิกจํายงบภาพรวมได๎เงนิ จานวน 138,653,733.78 บาท หรือคิดเป็นร๎อย ละ 88.40 ของงบประมาณท้งั หมด ๒. ผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัด (GPP) ปี 2556 เทํากับ 250,932 ล๎านบาท มีมูลคําผลิตภัณฑ๑มวล รวมจังหวัดตํอคน เทาํ กบั 421,597 บาท ตํอปี เป็นอนั ดับท่ี 5 ของประเทศ และเป็นอันดับท่ี 1 ของกลมํุ จังหวดั ภาคกลางตอนกลาง จากการสารวจของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหํงชาติ ปี 2556 พบวํารายได๎ประชากรเศรษฐกิจโดยทั่วไปของจังหวัดขึ้นอยูํกับ ผลผลิตทางด๎านอุตสาหกรรม โครงสร๎างรายได๎ประกอบด๎วย การผลิตยานยนต๑ รถพํวงและรถก่ึง รถพํวง การผลิตผลิตภัณฑ๑อาหารและเคร่ืองด่ืม การผลิตผลิตภัณฑ๑ยางและผลิตภัณฑ๑พลาสติก การผลติ ผลติ ภณั ฑท๑ ท่ี าจากโลหะประดิษฐย๑ กเวน๎ เครือ่ งจกั ร และผลิตภณั ฑ๑จากแรอํ โลหะ ๓. การรักษาระดับการแขํงขันของจังหวัด โดยร๎อยละ ๙๐ ของผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดมาจาก ภาคอตุ สาหกรรม จากการวิเคราะห๑ผลผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดพบวํา การเติบโตของผลิตภัณฑ๑ มวลรวมจังหวัดมาจากนอกภาคการเกษตร โดยผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดของภาคการเกษตรมี การเติบโตจาก 20,334 ล๎านบาทในปี พ.ศ. ๒๕๕4 เป็น 21,439 ล๎านบาทในปี พ.ศ. ๒๕๕5 และในปี พ.ศ. 2556 เป็น 22,573 ล๎านบาท หรอื คิดเป็นอัตราการเพิ่มจากปี พ.ศ. 2554 เป็น ร๎อยละ 5.43 และ อัตราการเพิ่มจากปี พ.ศ. 2555 เป็น ร๎อยละ 5.29 สาหรับผลิตมวลรวม จังหวัดนอกภาคการเกษตรมีการเติบโตจาก 237,532 ล๎านบาทในปี พ.ศ. ๒๕๕4 เป็น 310,906 ล๎านบาทในปี พ.ศ. ๒๕๕5 และในปี พ.ศ. 2556 เป็น 294,174 ล๎านบาท หรือคิด เป็นอัตราการเพ่ิมจากปี พ.ศ. 2554 เป็น ร๎อยละ 30.89 และ อัตราการลดจากปี พ.ศ. 2555 เป็น ร๎อยละ 5.38 เน่ืองจากปี พ.ศ. 2555 ภาคอุตสาหกรรมในภาคกลางของประเทศย๎ายมา ผลิตในจังหวัดฉะเชิงเทรา เนื่องจากป๓ญหาน้าทํวม ตํอมา สถานการณ๑ปกติในปี พ.ศ. 2556 อุตสาหกรรมดงั กลาํ วย๎ายกลับสํูจังหวัดเดิม ๔. ปญ๓ หาและอปุ สรรค คือการขาดงบประมาณสนับสนุนยุทธศาสตร๑การพฒั นาจงั หวดั โดยมุํงเน๎นการ เป็นศูนย๑กลางผลิตและการขนสงํ ในภาคตะวนั ออกเพื่อเช่ือมโยงประชาคมอาเซียน ~ 62 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) สรปุ งบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด งบประมาณตามรําง พ.ร.บ. งบประมาณรายจํายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 โดยมี ประเด็นยุทธศาสตร๑ท่ีสาคญั ดงั น้ี  ประเด็นยุทธศาสตร๑ที่ ๑: เพิ่มขีดความสามารถการแขํงขันของภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม รองรับ AEC และตลาดโลก  ประเดน็ ยุทธศาสตร๑ที่ 2: เพิม่ ประสิทธิภาพและยกระดับขีดความสามารถในการแขํงขนั ของภาค เกษตรปลอดภยั  ประเด็นยทุ ธศาสตรท๑ ี่ 3: พัฒนาการทอํ งเทีย่ วเชงิ นเิ วศ และวฒั นธรรมให๎ได๎มาตรฐาน  ประเด็นยุทธศาสตรท๑ ่ี 4: สํงเสรมิ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ๎ มใหส๎ มดุล  ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท๑ ี่ 5: พฒั นาทุนทางสังคมและความม่นั คงสสํู งั คมเป็นสขุ  คําใชจ๎ าํ ยในการบริหารจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 1.1 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จานวน 39 โครงการ งบประมาณ 161,404,500 โดยผลการดาเนินงาน ณ วันท่ี 30 กันยายน 2557 ซ่ึงดาเนินการแล๎วเสร็จ จานวน 39 โครงการ เบิกจํายแลว๎ 161,404,500 บาท คดิ เป็นรอ๎ ยละ 100 1.2 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 จานวน 37 โครงการ งบประมาณ 156,850,700 บาท โดยผลการดาเนินงาน ณ วันท่ี 30 กันยายน 2558 ซ่ึงดาเนินการแล๎วเสร็จ จานวน 37 โครงการ เบิกจํายแลว๎ 138,653,733.78 บาท คิดเป็นรอ๎ ยละ 88.40 1.3 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จานวน 48 โครงการ งบประมาณ 203,358,895.79 บาท ผลการเบิกจํายเงินงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ของจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ต้ังแตํวันที่ 1 ตลุ าคม 2558 ถึงวนั ที่ 30 กนั ยายน 2559 รายการ เงินงบประมาณที่ การเบกิ จาํ ย เงินงบประมาณ คงเหลอื ร๎อยละ ได๎รบั จดั สรร เบกิ จําย งบประจา 32,073,100 14,327,516.54 17,745,583.46 44.67% งบลงทุน 120,127,804.21 51,157,895.79 70.13% รวมทั้งสน้ิ 171,285,700 134,455,320.75 68,903,479.25 66.12% 203,358,800 2. การวเิ คราะหส์ ภาวการณแ์ ละศักยภาพ จากการวิเคราะห๑ตัวช้ีวัดการพัฒนาระดับจังหวัดของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหํงชาติ ในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งครอบคลุมสถานะการพัฒนาจังหวัดตามมิติการพัฒนา 4 มิติ คือ มิติการ พัฒนาแบบทว่ั ถงึ (Inclusive Growth) มิติการเตบิ โตทางเศรษฐกิจและการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขํงขัน (Growth & Competitiveness) มิติการเติบโตทางเศรษฐกิจสีเขียว (Green Growth) และมิติประสิทธิภาพ การดาเนินงานของภาครัฐ (Government Efficiency) ทาให๎สามารถสรุปผลการวิเคราะห๑สภาวการณ๑และ ศักยภาพโดยรวมของจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ได๎ ดังนี้ ~ 63 ~

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ~ 64 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) จากการวิเคราะห๑ตัวชี้วัดการพัฒนาของจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. 2558 ในข๎างต๎น พบวํา จากตัวชี้วัด ท้ังหมด 24 ตัวช้ีวัด มี 12 ตัวช้ีวัดท่ีมีเกณฑ๑สูงกวําคํากลางของประเทศ ในขณะท่ีมีตัวช้ีวัดอีก 12 ตัวชี้วัดท่ีมี เกณฑ๑ต่ากวําคํากลางของประเทศ โดยเฉพาะตัวชี้วัดในมิติการเติบโตทางเศรษฐกิจสีเขียวนั้น มีคําท่ีต่ากวําคํากลาง ของประเทศคํอนข๎างมาก โดยตัวช้ีวัดทุกตัวในมิตินี้มีคําที่ต่ากวําคํากลางและต่ากวําปีกํอนหน๎า โดยเฉพาะป๓ญหา พื้นท่ีปุาไม๎ท่ีลดลงและการใช๎พลังงานขาดประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมีตัวช้ีวัดท่ีต๎องพัฒนา ได๎แกํ อัตราการ เปล่ียนแปลงรายได๎เฉลี่ย อัตราการเปล่ียนแปลง GPP อัตราการวํางงาน การเข๎าถึงไฟฟูา และการเบิกจําย งบประมาณจังหวัด ทั้งน้ีประเด็นที่จังหวัดควรให๎ความสาคัญ ได๎แกํ การแก๎ไขป๓ญหาด๎านสิ่งแวดล๎อมที่เกิดจาก ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร พร๎อมท้ังอนุรักษ๑และฟื้นฟูพ้ืนที่ปุาไม๎ การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให๎สอดคล๎อง กับความต๎องการของตลาดแรงงาน การรณรงค๑ประหยัดพลังงานในภาคครัวเรือน และการสํงเสริมการใช๎พลังงาน ทดแทนและเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพในการผลิต ท้ังนี้ จังหวัดจะนาผลการวิเคราะห๑ในข๎างต๎นมาใช๎เพื่อ ประกอบการประเมินศักยภาพการพัฒนาของจังหวัดฉะเชิงเทรา ควบคํูกับไปกับการวิเคราะห๑ความต๎องการและ ศักยภาพของประชาชนในท๎องถิ่น และการวิเคราะห๑ศักยภาพรายด๎านตํางๆ ซ่ีงมีรายละเอียดดังจะได๎กลําวใน หัวขอ๎ ตอํ ไป ๒.1 ข้อมลู การวิเคราะห์ความตอ้ งการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น จังหวัดฉะเชิงเทราทาการสารวจปญ๓ หาและความต๎องการของประชาชนในจังหวัด โดยดาเนินการ ประมวลป๓ญหาพ้ืนที่จากแผนพัฒนาหมํูบ๎าน/ชุมชน ยุทธศาสตร๑การพัฒนาอาเภอ แผนชุมชนเชิงบูรณาการ ระดับจงั หวดั และการสารวจปญ๓ หาความต๎องการของประชาชนโดยกระบวนการมีสํวนรํวม ของทุกภาคสํวนใน พ้นื ท่ี โดยสามารถสรุปสาระสาคญั ดงั นี้ ดา้ นสงั คม 1. ป๓ญหาการวํางงาน เกิดจากภาวะเศรษฐกิจเกิดการชะลอตัว ประชากรต๎องการหารายได๎ เสรมิ และเกษตรกรมีชวํ งเวลาวาํ งหลงั จากทาการเกษตร พบได๎ในทกุ อาเภอ 2. ประชาชนที่มีรายได๎น๎อยไมํเพียงพอตํอการยังชีพ พบได๎ใน อาเภอสนามชัยเขต และ อาเภอบาง น้าเปรีย้ ว 3. ประชาชนขาดแคลนที่ดินในการทาเกษตรกรรม พบได๎ในทุกอาเภอ 4. ป๓ญหาตั้งครรภ๑ไมํพร๎อม เกิดจากกมีเพศสัมพันธ๑กํอนวัยอันควร เสี่ยงกับการติดโรคทาง เพศสัมพนั ธ๑ ตดิ โรคเดก็ ถูกทอดท้งิ และเกดิ ครอบครัวเล้ียงเดีย่ วจานวนมาก พบไดใ๎ นทุกอาเภอ 5. ขาดส่งิ อานวยความสะดวกสาหรบั คนพิการ พบได๎ในทกุ อาเภอ 6. ป๓ญหายาเสพติด พบได๎ในทุกอาเภอ 7. ปญ๓ หาแรงงานข๎ามขาติ พบได๎ในทกุ อาเภอ 8. อาชญากรรม พบได๎ในทุกอาเภอ ดา้ นเศรษฐกจิ 9. ราคาสินคา๎ เกษตรตกต่า พบได๎ในทุกอาเภอ 10. ขาดองค๑ความรใ๎ู นการเพ่ิมประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลทางการเกษตร พบได๎ในทกุ อาเภอ 11. ขาดการรํวมมือในการแก๎ไขป๓ญหาทัง้ ภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร พบได๎ในทกุ อาเภอ 12. ป๓ญหาช๎างปุาบุกรุกพื้นที่การเกษตร พบได๎ใน อาเภอทําตะเกียบ และ อาเภอสนามชัย เขต ~ 65 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ดา้ นการท่องเทีย่ ว 13. แหลํงโบราณสถานในจังหวัดฉะเชิงเทราหลายแหํงทรุดโทรมไมํได๎รับการบูรณะให๎อยูํใน สภาพทจ่ี ะสงํ เสรมิ ใหเ๎ ปน็ แหลํงทํองเทีย่ วทางวฒั นธรรม พบไดใ๎ นทุกอาเภอ 14. ประเพณีวฒั นธรรมทอ๎ งถ่ินท่ีสาคัญของชาวจงั หวัดฉะเชิงเทรา เริม่ จะสูญหาย เชํน วัฒนธรรมไทย-พวน อาเภอพนมสารคาม 15. ขาดแหลํงเรียนรูท๎ างวฒั นธรรม พบได๎ในทุกอาเภอ 16. ขาดการพัฒนาแหลํงเรียนร๎ูทางวัฒนธรรมให๎มีการบริหารจัดการได๎มาตรฐาน และ สามารถใหบ๎ ริการกับประชาชนได๎อยํางทั่วถึงและเกิดประโยชน๑ พบได๎ใน อาเภอบ๎านโพธิ์, อาเภอเมือง, อาเภอ บางน้าเปรีย้ ว และ อาเภอสนามชัยเขต 17. ขาดการพฒั นาองค๑ความรู๎เครือขํายทางวัฒนธรรมให๎มีความเข๎มแข็ง พบได๎ในทุกอาเภอ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 18. ปญ๓ หาน้าเสีย พบได๎ใน อาเภอเมือง, อาเภอบ๎านโพธิ์, อาเภอบางปะกง, อาเภอบางคล๎า, อาเภอแปลงยาว และ อาเภอบางนา้ เปรย้ี ว 19. ป๓ญหาการขาดแคลนน้า เพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร รวมถึงป๓ญหาน้าทํวม พบไดท๎ กุ พื้นทีใ่ นจังหวดั ฉะเชิงเทรา (ม.ค.-พ.ค. ของทุกป)ี 20. ป๓ญหาการจัดการขยะมูลฝอย พบใน อาเภอเมือง, อาเภอบ๎านโพธิ์, อาเภอบางปะกง, อาเภอบางคล๎า, อาเภอแปลงยาว, อาเภอบางนา้ เปรย้ี ว, อาเภอพนมสารคาม 21. มลพษิ ทางอากาศ เนอื่ งจากอยูํใกลแ๎ หลํงโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศจากการ เผาตอซัง พบไดใ๎ น อาเภอบางปะกง 22. ป๓ญหาการกดั เซาะชายฝง่๓ ทะเล พบได๎ใน อ.บางปะกง 23. ปญ๓ หาการบุกรุกทีด่ ินของรฐั พบไดใ๎ นปาุ สงวนแหํงชาติ, ปุาอนุรักษ๑, ปุาชายเลน, ปุาแคว ระบบและปาุ สียัด, เขตรักษาพนั ธ๑สตั ว๑ปุาเขาอํางฤาไน, อาเภอเมือง, อาเภอบ๎านโพธิ์, อาเภอบางปะกง ท้ังนี้ เมื่อจาแนกผลการสารวจป๓ญหาและความต๎องการของประชาชนในพื้นท่ีแตํละอาเภอ พบวํา สามารถสรุปปญ๓ หาและความตอ๎ งการของประชาชนในแตํละอาเภอได๎ดงั นี้ ปญั หาในพนื้ ที่ ความต้องการ ด้านแหล่งน้า อาเภอเมอื งฉะเชงิ เทรา -ขาดแคลนนา้ เพอ่ื อุปโภค – บริโภค -นา้ เพือ่ การเกษตร -จัดสรรงบประมาณเพื่อจัดหาแหลงํ น้า ดา้ นโครงสรา้ งพ้นื ฐาน -ขดุ ลอกคูคลองทตี่ น้ื เขนิ -การคมนาคมไมํสะดวก -จดั สรรงบประมาณเพื่อซํอมแซมถนน และจากัด -ไฟฟูาและประปาไมํไดม๎ าตรฐาน นา้ หนกั รถบรรทุกทีว่ ่งิ เพื่อปูองกนั ถนนชารดุ -ซอํ มแซมระบบประปาหมํบู า๎ นให๎ไดม๎ าตรฐาน ~ 66 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ความตอ้ งการ ปัญหาในพ้นื ที่ -สงํ เสรมิ การผลติ สินคา๎ เกษตร โดยเนน๎ คณุ ภาพ ดา้ นเศรษฐกจิ มาตรฐาน อาหารปลอดภัยท้งั ผผ๎ู ลติ และผ๎บู รโิ ภค -ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า อันจะเปน็ การเพิ่มมลู คํา และเพิ่มขีดความสามารถ -ป๓จจยั การผลิตมรี าคาสงู ในการแขํงขัน แก๎ปญ๓ หาสินค๎าเกษตรราคาตกต่า -ไมํมีตลาดรองรับจาหนํายผลิตผล โดยพัฒนาการผลติ สนิ คา๎ เกษตรให๎ได๎ -ขาดเงนิ ทุนในการประกอบอาชีพ มาตรฐานสากล ดว๎ ยการสํงเสริมเกษตรอนิ ทรยี ๑ทจ่ี ะ -ขาดความร๎ใู นการประกอบอาชีพอนื่ ชวํ ยรกั ษาส่งิ แวดล๎อมใหย๎ ่ังยืนไปพร๎อมๆ กบั การ สนบั สนุนการหาตลาดและสถานที่จาหนาํ ยสินคา๎ ด้านสังคม เกษตรปลอดภยั -ความเขม๎ แข็งของชมุ ชน -การแสวงหาความรวํ มมือจากทุกภาคสํวนรวํ มกนั -ยาเสพตดิ ในการป๓ญหายาเสพติดอยาํ งเขม๎ ขน๎ ตลอดจนสร๎าง เสรมิ สขุ ภาพ และปจ๓ จยั เส่ียงดา๎ นสุขภาพ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม -เรํงพัฒนาการศึกษาตลอดจนการเรยี นรู๎ทีม่ ี -ขยะมูลฝอยและส่งิ ปฏิกลู คุณภาพ ด้านการเมอื ง การบริหาร -สํงเสริมให๎ความรค๎ู วามเขา๎ ใจแกปํ ระชาชนในการ -การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย กาจัดขยะ และจดั ใหม๎ ีจุดทิง้ ขยะอยํางเพียงพอ -ความสนใจในการมสี ํวนรํวม -สงํ เสรมิ ให๎ประชาชนทุกภาคสํวนมสี วํ นรํวมใจ ดา้ นการศกึ ษา ประเพณี วัฒนธรรม กจิ กรรมของชุมชน -ด๎านอปุ กรณ๑สอ่ื การเรยี น -อปุ กรณส๑ าหรบั สนามเด็กเลนํ ไมํมีมาตรฐาน -ของบประมาณจากสวํ นกลางในการดาเนินการ และขอความรํวมมือจากประชาชนในพ้นื ท่ีรํวม ด้านสาธารณสขุ สนบั สนุน -ปูองกนั โรคติดตํอ -สุขภาพอนามัย -สงํ เสรมิ ใหป๎ ระชาชนใสใํ จสุขภาพ -การบรกิ ารสาธารณสุขมูลฐาน จัดหนํวยบริการเคล่ือนท่ีใหค๎ วามรูแ๎ กปํ ระชาชน อยาํ งสม่าเสมอ ~ 67 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปัญหาในพ้นื ที่ ความตอ้ งการ ด้านโครงสรา้ งพน้ื ฐาน อาเภอสนามชัยเขต -การคมนาคมไมํสะดวก -จดั สรรงบประมาณเพื่อซํอมแซมถนน และจากัด -ไฟฟาู และประปา นา้ หนักรถบรรทุกท่ีวง่ิ เพือ่ ปูองกันถนนชารดุ ดา้ นเศรษฐกิจ -ซํอมแซมระบบประปาหมูบํ ๎านใหไ๎ ดม๎ าตรฐาน -ข๎อพิพาทในการแยํงทด่ี นิ ทากนิ - ประกันราคาผลผลิตทางการเกษตร -ผลผลติ ทางการเกษตรตกต่า - สงํ เสรมิ ความรู๎ในการแปรรปู ผลผลิตทาง การเกษตร ดา้ นแหล่งน้า - สนบั สนุนเงนิ ทนุ /อปุ กรณ๑ในการประกอบอาชีพ -ขาดแคลนนา้ เพอื่ อุปโภค – บรโิ ภค - สํงเสริมใหป๎ ระชาชนมีอาชพี เสรมิ และมรี ายได๎ -ขาดแคลนนา้ เพื่อการเกษตร เพ่ิมขนึ้ -จดั สรรงบประมาณเพ่ือจดั หาแหลํงนา้ -ขดุ ลอกคคู ลองทีต่ ืน้ เขิน ดา้ นการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม -ขาดแคลนบุคลากร โดยเฉพาะครูในท๎องท่ีหาํ งไกล -อัตราการเรยี นตํอของนักเรยี นยังอยใูํ นเกณฑ๑ตา่ และ ฐานะของผป๎ู กครองยากจน ดา้ นสาธารณสุข -ขาดแคลนบคุ ลากร โดยเฉพาะแพทย๑ พยาบาล สถานพยาบาล -อุปกรณ๑การแพทย๑ ทง้ั ในระดับตาบล หมํูบ๎าน -โรคระบาด อาเภอแปลงยาว ดา้ นโครงสรา้ งพ้นื ฐาน -การคมนาคมสญั จรไปมา -ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณจากสํวนภูมิภาคใน การดาเนนิ การปรับปรงุ โครงสร๎างพ้ืนฐาน ด้านเศรษฐกิจ -พฒั นาฝมี อื แรงงานและแนะนาอาชีพเสริมเพื่อเพ่ิม -รายได๎ตอํ ครวั เรือนตํอปยี ังอยํูในเกณฑ๑ต่ากวํา รายได๎ให๎ประชนชน มาตรฐาน -เรํงสารวจและวางมาตรการกาหนดพน้ื ทใ่ี ห๎ชัดเจน -ทด่ี ินทากินซ่ึงยังไมมํ ีความชัดเจนระหวาํ งทดี่ ินของ โดยการมสี วํ นรวํ มและยอมรบั ของประชาชน รัฐและประชาชน ~ 68 ~

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปญั หาในพื้นที่ ความต้องการ ด้านแหล่งน้า -ระบบบรกิ ารน้าประปาท่ียังบริการประชาชนไมํท่วั ถึง -เพิ่มปรมิ าณแหลํงน๎ากกั เก็บน๎าขนาดเลก็ ในพ้นื ท่ี และรณรงค๑ให๎ประชาชนใช๎น๎าอยาํ งประหยดั ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม - มลภาวะทางกลิ่นและทางนา้ เกิดมาจากการเลยี้ ง - ปรับปรงุ และฟ้ืนฟแู หลงํ น้าธรรมชาติ ปศุสตั ว๑โดยเฉพาะฟาร๑มสุกรท่ีมปี ริมาณมากในพน้ื ที่ - ลดการใช๎สารเคมใี นการผลิตสนิ ค๎าทางการเกษตร - กาหนดมาตรการดา๎ นสิ่งแวดล๎อมโดยบรู ณาการ -รวํ มกนั ระหวาํ งภาครัฐเอกชนและประชาสงั คม อาเภอพนมสารคาม ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน -การคมนาคมไมสํ ะดวก -จดั สรรงบประมาณเพ่ือซํอมแซมถนน และจากดั นา้ หนักรถบรรทุกที่ว่งิ เพื่อปูองกันถนนชารุด -ไฟฟูาและประปาไมํไดม๎ าตรฐาน -ซอํ มแซมระบบประปาหมํบู า๎ นให๎ไดม๎ าตรฐาน ด้านแหลง่ นา้ -ขาดแหลงํ น้าเพื่ออุปโภค - บริโภค -จัดสรรและขอสนบั สนนุ งบประมาณเพื่อจดั หา แหลํงนา้ -ขาดแหลงํ น้าน้าเพ่ือการเกษตร -ขุดลอกคคู ลองท่ตี ื้นเขนิ โดยประสานหนํวยงานท่ี เกี่ยวข๎องให๎การสนบั สนนุ ดา้ นสาธารณสุข -สงํ เสริมกิจกรรมท่ีทาใหป๎ ระชาชนใสใํ จสขุ ภาพ -ปอู งกันโรคติดตํอ -จดั หนํวยบรกิ ารเคล่ือนทต่ี ามสวนสาธารณะให๎ - -สขุ ภาพอนามัย ความรแู๎ กปํ ระชาชนอยาํ งสม่าเสมอ -การบรกิ ารสาธารณสขุ มลู ฐาน - สํงเสริมใหค๎ วามรค๎ู วามเข๎าใจแกปํ ระชาชนในการ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม แยกทง้ิ ขยะ และจดั ให๎มีจุดทิ้งขยะอยํางเพยี งพอใน -ขยะมลู ฝอยและส่งิ ปฏกิ ูล แตลํ ะชมุ ชน ด้านการศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม - ขอสนับสนุนงบประมาณจากสวํ นกลางในการ -ดา๎ นอุปกรณส๑ ื่อการเรยี น ดาเนนิ การและขอความรํวมมอื จากผ๎ูประกอบใน -อุปกรณส๑ าหรับสนามเดก็ เลนํ ไมํมีมาตรฐาน พืน้ ที่/ชมุ ชนรํวมสนบั สนนุ งบประมาณอีกทางหนง่ึ ดา้ นการเมือง - สงํ เสรมิ ใหป๎ ระชาชนทุกภาคสํวนมีสํวนรวํ มใน -การปกครองระบอบประชาธิปไตย กิจกรรมของชุมชน เชนํ การประชุมประชาคม -ความสนใจในการมสี ํวนรวํ ม เป็นต๎น ~ 69 ~

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปญั หาในพื้นที่ ความต้องการ อาเภอบางคลา้ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน - ประชาชนไดร๎ ับความเดือนร๎อนจากการเดนิ ทาง - ปรับปรงุ เสน๎ ทางสญั จรภายในตาบลใหส๎ ามารถ สัญจรในตาบลเกดิ อุบัติเหตุบํอยครง้ั ใช๎ได๎โดยปลอดภัย - เกษตรกรไดร๎ ับความสะดวกในการเดินทาง - ต๎องการพัฒนาเส๎นทางทอํ งเท่ียว - เส๎นทางสญั จรของประชาชนเพือ่ ลดอบุ ตั เิ หตุ - ป๓ญหาลาคลองในพนื้ ท่ี (คลองตน้ื เขนิ ) - ฟ้นื ฟูแหลงํ วฒั นธรรมประจาตาบล - ถนนอยํูในสภาพเปน็ หลุมเป็นบํอประชาชนไมํได๎รบั ความสะดวกในการขนสงํ สนิ ค๎าทางการเกษตรและ - ขดุ ลอกคลอง เพ่ือใหน๎ ้าไหลหมนุ เวียนรบั นา้ จาก การสัญจรไปมา เขอ่ื น และสามารถเก็บกักไว๎ใชใ๎ นหนา๎ แลง๎ - ซํอมแซมและปรบั ปรุงถนน เพื่อใหส๎ ะดวกในการ ขนสงํ สินค๎าทางการเกษตร และลดอบุ ตั เิ หตุใน การสัญจรไปมา ดา้ นเศรษฐกิจ - ไมํมีสถานที่สาหรบั สีข๎าวการไปจา๎ งสีขา๎ วทาให๎ - มีโรงสีสาหรบั สีข๎าวในชมุ ชน ประชาชนมีรายจํายมากขน้ึ - รายไดเ๎ กษตรกรตกต่า - สนบั สนนุ เกษตรกรทานา - ขาดแคลนพนั ธุ๑พืช/สัตว/๑ ประมงที่ดี - ใชส๎ ถานทอ่ี บรมกลุํมอาชีพ - เกษตรกรมหี น้ีสนิ มาก - อบรมเพิ่มมาตรฐานอาชพี ด๎านการประมง - คาํ ครองชีพสงู - เกษตรกรมรี ายไดเ๎ พิ่มข้นึ - ไมมํ ีสถานท่ีสาหรับจาหนํายผลติ ภณั ฑ๑ชมุ ชน - รวมกลมุํ ประชาชนผูป๎ ระกอบอาชพี ค๎าขายมาตง้ั --- - ไมํมจี ดุ จาหนํายสนิ คา๎ เปน็ หลักแหลํงเกิดปญ๓ หา จุดขายสนิ ค๎ารวมกนั ให๎เป็นหลกั แหลํงและเกิดความ ความไมเํ ป็นระเบยี บในชมุ ชน เปน็ ระเบยี บ - สามารถนาผลิตภณั ฑ๑ในพื้นทมี่ ารวมขายไดใ๎ นจุด เดยี ว เป็นการบรกิ ารนักทอํ งเทย่ี วทผ่ี ํานเสน๎ ทาง สาย ๓๐๔ ด้านสังคม - ปญ๓ หาการวํางงาน - สํงเสริมใหป๎ ระชาชนมีรายไดเ๎ พ่มิ ขึ้น - มตี ลาดสาหรับรองรบั สนิ คา๎ ของประชาชนเพ่ือ นามาขาย - ป๓ญหายาเสพติด - สวํ นราชการ (ตารวจ) เข๎มงวดในการตรวจ จับกมุ - ให๎ประชาชนมสี ํวนรํวมใน การแก๎ไขป๓ญหา ยาเสพตดิ ~ 70 ~

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปัญหาในพนื้ ท่ี ความตอ้ งการ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม - ขาดแคลนนา้ จดื เพอ่ื การเกษตร - ใหน๎ า้ ในคลองไหลเวียนไดส๎ ะดวก และเกบ็ กักนา้ จืด ในชํวงนา้ เค็มเข๎าถึง - ลดปญ๓ หาผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย - เกษตรกรขาดแคลนนา้ ทาการเกษตรในหนา๎ แลง๎ - เพ่ิมทจี่ ดั เกบ็ กักน้าสาหรับใหเ๎ กษตรกรในฤดแู ลง๎ - วัชพชื ในลาคลอง - กาจัดวชั พืชในลาคลอง - ขุดลอกคลอง ด้านการท่องเทย่ี ว - พน้ื ที่รมิ แมนํ ้าบางปะกงเส่ือมโทรม ควรจะพฒั นา - พฒั นาการทํองเท่ียวตลาดเกาํ ปากนา้ โจ๎โล๎ เป็นแหลงํ ทํองเท่ยี วเพ่ือให๎เช่อื มโยงกบั สถานท่ี ให๎เป็นแหลํงทํองเท่ียวของอาเภอบางคลา๎ ซ่งึ ทํองเทย่ี วเดิม สามารถเช่อื มโยงไปยงั สถานที่ทํองเท่ยี วของ อาเภอ เชนํ ศาลสมเดจ็ พระเจา๎ ตากสนิ วดั ปากน้า และตลาดน้าบางคล๎า - ปรบั ปรุงภมู ิทศั นช๑ มุ ชน บางคลา๎ เพื่อสงํ เสรมิ และ - ฟืน้ ฟพู นื้ ทช่ี ุมชนบางคล๎า ซึ่งมศี ักยภาพเหมาะ เพมิ่ ศักยภาพการทํองเทย่ี วของอาเภอบางคลา๎ สาหรับการสํงเสริมการทํองเท่ียวของอาเภอบาง คลา๎ ดา้ นการศึกษา ประเพณี วฒั นธรรม - รักษาวัฒนธรรมประเพณที ๎องถน่ิ - ประชาสมั พนั ธ๑ประเพณีวฒั นธรรมท๎องถ่นิ - โรงเรียนวัดใหมํคูมอญ น้าทํวมในฤดฝู น ทาให๎ นา้ - สนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุง ตอํ เติมและ กกั ขังทาใหเ๎ กดิ โรคระบาด สรา๎ งโรงเรยี น ดา้ นสาธารณสุข - ปญ๓ หายุงชุม ในน้าเนําเสยี คูคลอง - กาจดั ยงุ อยํางตํอเนอ่ื ง อาเภอท่าตะเกียบ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน - ถนนระหวาํ งหมูบํ ๎านในตาบลยงั เป็นถนนลูกรงั ไมํ -จดั ทาเปน็ โครงการทเ่ี กนิ ศักยภาพและใช๎ คํอยสะดวกในการสัญจร งบประมาณของ หนวํ ยงานท่ีรบั ผิดชอบลงมา ดาเนนิ การ ดา้ นเศรษฐกจิ - ขาดเอกสารสิทธทิ ี่ดนิ ทากนิ -หนวํ ยงานที่เกย่ี วขอ๎ งสารวจเขตท่ีดินใหช๎ ดั เจนและ ออก -การบุกรกุ พื้นทป่ี ุาของเกษตรกร -ดาเนินการทางกฎหมายอยํางเครํงครัดและกาหนด แนวเขตพื้นที่ปาุ ให๎เกิดความชัดเจน -เกษตรกรยังขาดองค๑ความรใู๎ นการทาการเกษตร -หนํวยงานที่เก่ยี วข๎องเขา๎ มีสํวนรวํ มเปน็ ทป่ี รกึ ษาใน สมัยใหมํ การดาเนนิ การใหค๎ วามร๎ูผํานโครงการถํายทอด เทคโนโลยีหรอื โครงการสํงเสริมกลํุมอาชีพ ~ 71 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปัญหาในพื้นท่ี ความตอ้ งการ ด้านแหล่งน้า -การขาดแคลนแหลํงนา๎ เพ่ือการอปุ โภคบรโิ ภคหรือ -ขยายแหลํงนา๎ ขนาดเล็กท่ีกระจายอยํูในพื้นทต่ี าบล การเกษตร ใหส๎ ามารถรองรับการใชง๎ านด๎านเกษตรได๎อยําง พอเพยี งตํอความต๎องการ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม -ภัยชา๎ งปุาทาลายพชื ผลทางการเกษตร -สร๎างแนวเขตคูกันชา๎ งและดูแลสภาพปาุ ใหม๎ ีความ อดุ มสมบรู ณเ๑ พื่อลดการเขา๎ ทาลายพืชผลทาง การเกษตร อาเภอราชสาสน์ ดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐาน - ถนนสํวนใหญํยงั คงเป็นถนนลกู รัง สภาพทรุดโทรม - กํอสร๎าง ปรบั ปรงุ ซํอมแซมและขยายผวิ จราจรไมํ เป็นหลมุ เป็นบํอ เกิดฝุนละอองเป็นภยั สาหรับ วาํ ถนนลกู รัง ลาดยาง คสล. ให๎มีสภาพมัน่ คง สุขอนามยั ชุมชน สมบรู ณ๑และมาตรฐาน - บงั คบั ใชก๎ ฎหมายกบั รถบรรทุกน้าหนกั เกินอยาํ ง เป็นรูปธรรม -ปจ๓ จบุ นั เสาไฟฟาู ของการไฟฟาู สํวนภูมภิ าคยังมกี าร - ย๎ายเสาไฟฟูาท่ีอยรูํ ิมคลองข้ึนมาปก๓ เสาพาดสาย ปก๓ เสาพาดสายตามแนวชายคลองซง่ึ อาจจะ ตามแนวถนน กํอใหเ๎ กดิ อนั ตรายแกรํ าษฎร และในบางหมบํู า๎ น -ขยายเขตการบริการไฟฟูาและจดั ให๎มีไฟสํองสวําง ประสบป๓ญหา ตามทางในหมํบู า๎ น -การไฟฟูาสวํ นภูมิภาคแกไ๎ ขกระแสไฟฟาู ตกไมํ พอใช๎ ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม -ฟารม๑ เลยี้ งไกํ เลี้ยงหมู สํงกล่นิ เหมน็ รบกวน -ควรให๎ความรแู๎ กผํ ูป๎ ระกอบการในการใช๎ประโยชน๑ จากสง่ิ ปฏิกูลเปน็ พลงั งานทดแทน -ป๓ญหาวชั พชื และผักตบชวามีจานวนมากในคลอง -สงํ เสรมิ การแปรรูปวัชพืชและผกั ตบชวาเพ่ือเพิม่ ธรรมชาติสายหลกั และสายรอง กีดขวางทางน้า ทา มลู คําและใชป๎ ระโยชนท๑ างด๎านการเกษตรและ ใหค๎ ลองตื้นเขนิ และเกิดน้าเสีย ผลิตภัณฑ๑งานฝมี อื -ขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการกาจดั วชั พชื ดา้ นสงั คม ผกั ตบชวา จากหนวํ ยงานทีเ่ ก่ียวข๎องในกรณคี วาม -ด๎านคณุ ภาพชวี ติ และสุขอนามยั ประชาชนสํวนใหญํ หนาแนนํ ของวัชพชื เกินกาลงั ของชมุ ชน ของอาเภอราชสาส๑นประกอบอาชีพเกษตรกรรมซง่ึ ยังคงมีการใชส๎ ารเคมีอยํูเปน็ จานวนมาก ซ่ึงจะสงํ ผล -สํงเสรมิ องค๑ความร๎แู ละเทคนิควธิ กี ารดา๎ นเกษตร กบั สุขอนามัยของตวั เกษตรกรเอง สภาพแวดล๎อม อนิ ทรยี ๑ และกรรมวิธีผลติ หรอื ใชส๎ ารซ่งึ ทามาจาก ของชุมชน รวมถงึ ผบู๎ ริโภคผลผลติ ทางการเกษตร ธรรมชาติเพ่อื ลดจานวนการใช๎สารเคมี เชํน การ ใชป๎ ุ๋ยอินทรีย๑ หรอื สารกาจัดแมลงสมนุ ไพรจาก ธรรมชาติ ~ 72 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปญั หาในพนื้ ที่ ความต้องการ -อุบัติเหตุเกดิ ขนึ้ ในถนนสายรองภายในชุมชน -ให๎ดาเนินการกวดขัน รณรงค๑ การใช๎รถใช๎ถนน และปฏิบัตติ ามกฎจราจร รวมท้งั ระเบยี บ กาหนด โทษแกผํ ๎ฝู าุ ฝืน -กวดขนั และให๎รางวัลแกผํ ใู๎ ชร๎ ถใชถ๎ นนที่ปฏิบตั ติ าม กฎจราจรและระเบยี บของทางราชการเพื่อเป็นการ จงู ใจอยํางตํอเนื่อง ดา้ นแหล่งนา้ - ในชํวงฤดูแลง๎ นา้ มีไมเํ พยี งพอสาหรับใชใ๎ นการเกษตร -ดาเนินการขุด/ขดุ ลอกหรือขุดขยาย คลองซอยท่รี ับ และการเลย้ี งสัตว๑อกี ท้ังยงั ประสบภาวะนา้ เค็มหนนุ น้าจากคลองชลประทาน จากแมํน้าบางประกงเข๎าสคํู ลองธรรมชาตทิ าให๎ไมํ -พฒั นาแหลงํ เก็บกกั น้าในพ้ืนทตี่ าบล หมํบู า๎ น ให๎มี สามารถใชน๎ า้ ได๎และในบางสถานการณ๑ไมํสามารถผัน มากขึ้นโดยการขุดสระใหมแํ ละขดุ ขยาย/ขุดลอก น้าเขา๎ สพํู ้ืนท่ีการเกษตรหรือบริหารจัดการนา้ ใน สระเกาํ ปรมิ าณเพียงพอกับความต๎องการใช๎น้าในแตลํ ะ -ตัง้ สถานสี บู นา้ ไฟฟูาและกํอสรา๎ งอาคารหรือประตู ชํวงเวลา บงั คับนา้ เพม่ิ ตามจดุ สาคัญ อาเภอบ้านโพธิ์ ดา้ นแหล่งนา้ -ขาดแคลนน้าเพือ่ อปุ โภค – บริโภค -จดั สรรงบประมาณเพ่ือจดั หาแหลํงน้า -นา้ เพอื่ การเกษตร -ขุดลอกคคู ลองท่ตี น้ื เขนิ ดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐาน -การคมนาคมไมํสะดวก -จัดสรรงบประมาณเพื่อซํอมแซมถนน และจากัด นา้ หนกั รถบรรทุกทว่ี ิง่ เพอื่ ปูองกันถนนชารุด -ไฟฟูาและประปาไมํได๎มาตรฐาน -ซอํ มแซมระบบประปาหมูํบา๎ นให๎ไดม๎ าตรฐาน ด้านเศรษฐกิจ -สํงเสรมิ การผลติ สินค๎าเกษตร โดยเนน๎ คณุ ภาพ -ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า มาตรฐาน อาหารปลอดภัยทั้งผ๎ูผลติ และผู๎บริโภค -ป๓จจยั การผลิตมรี าคาสงู อันจะเปน็ การเพ่ิมมูลคํา และเพิม่ ขีดความสามารถ -ไมมํ ตี ลาดรองรบั จาหนํายผลิตผล ในการแขํงขัน แกป๎ ญ๓ หาสินค๎าเกษตรราคาตกต่า -ขาดเงินทุนในการประกอบอาชพี โดยพฒั นาการผลติ สินคา๎ เกษตรให๎ได๎ -ขาดความรูใ๎ นการประกอบอาชพี อ่นื มาตรฐานสากล ดว๎ ยการสงํ เสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ๑ทีจ่ ะ ชวํ ยรักษาสิ่งแวดลอ๎ มให๎ยั่งยนื ไปพร๎อมๆ กบั การ สนบั สนุนการหาตลาดและสถานทจ่ี าหนํายสินค๎า เกษตรปลอดภัย ~ 73 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปญั หาในพื้นท่ี ความตอ้ งการ ดา้ นสังคม -ความเข๎มแขง็ ของชุมชน -การแสวงหาความรวํ มมือจากทุกภาคสวํ นรวํ มกัน ในการป๓ญหายาเสพตดิ อยาํ งเข๎มขน๎ ตลอดจนสรา๎ ง -ยาเสพตดิ เสรมิ สขุ ภาพ และปจ๓ จยั เส่ียงดา๎ นสขุ ภาพ -เรํงพฒั นาการศกึ ษาตลอดจนการเรยี นรท๎ู ม่ี ี ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม คุณภาพ -ขยะมลู ฝอยและส่ิงปฏิกูล -สงํ เสรมิ ให๎ความร๎ูความเขา๎ ใจแกปํ ระชาชนในการ ด้านการเมือง การบริหาร กาจัดขยะ และจดั ให๎มจี ุดทง้ิ ขยะอยํางเพียงพอ -การปกครองระบอบประชาธิปไตย -ความสนใจในการมีสํวนรํวม -สงํ เสรมิ ใหป๎ ระชาชนทุกภาคสวํ นมสี ํวนรํวมใจ ดา้ นการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม กิจกรรมของชมุ ชน -ดา๎ นอุปกรณส๑ ื่อการเรียน -อปุ กรณส๑ าหรับสนามเดก็ เลํนไมมํ ีมาตรฐาน -ของบประมาณจากสํวนกลางในการดาเนนิ การ และขอความรํวมมือจากประชาชนในพ้นื ทีร่ วํ ม ดา้ นสาธารณสุข สนับสนุน -ปอู งกนั โรคตดิ ตํอ -สุขภาพอนามยั -สํงเสรมิ ให๎ประชาชนใสใํ จสขุ ภาพ -การบรกิ ารสาธารณสขุ มลู ฐาน จดั หนวํ ยบรกิ ารเคลอื่ นท่ีให๎ความรูแ๎ กปํ ระชาชน อยาํ งสม่าเสมอ อาเภอคลองเขื่อน ดา้ นโครงสรา้ งพ้นื ฐาน -การคมนาคมเข๎าพนื้ ทีอ่ าเภอและแหลํงทํองเที่ยวไมํ - ควรมกี ารขยายเส๎นทางถนนเพ่ิมขึน้ สะดวก - ซอํ มแซมถนนท่ีมสี ภาพชารุดเสยี หายโดยเฉพาะ เส๎นทางหลักเพ่ือสงํ เสริมการทํองเทีย่ ว - ขยายเขตไฟฟูา ใหท๎ วั่ ถึงท้ังตาบลเพื่อให๎ประชาชนมี -ประสานขอรบั การสนบั สนุนจากหนํวยงานที่ กระแสไฟฟูาใชอ๎ ยาํ งท่ัวถึงและเพียงพอ เก่ียวขอ๎ งในการแก๎ไขปญ๓ หา - ถนนภายในตาบลผวิ จราจรชารดุ เปน็ หลุมเปน็ บํอ - ปรบั ปรงุ ซํอมแซมถนน ทาให๎เกดิ อบุ ตั ิเหตุขึน้ บํอยครัง้ - ตดิ ตั้งไฟสํองสวาํ งในเสน๎ ทางทั่วทง้ั ตาบล เพ่ือใหแ๎ สง - สร๎างไฟฟูาสํองสวาํ งอยํางท่ัวถงึ สวํางในเวลากลางคืน เพ่ือลดการเกิดอุบัติเหตุ และ ป๓ญหาอาชญากรรมอ่ืนๆ ~ 74 ~

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปญั หาในพน้ื ท่ี ความต้องการ ด้านแหล่งน้า - จัดให๎มรี ะบบประปา โดยการให๎บริการจากการ -ขาดแคลนนา้ อุปโภค บรโิ ภค ประปาสํวนภูมภิ าคอยํางทั่วถึง เพือ่ ใหป๎ ระชาชนได๎ ชวํ ยเหลือตนเองในการจัดเกบ็ นา้ ไว๎ให๎เพียงพอกับ การอปุ โภค บริโภค - ควรมกี ารปรับปรุงระบบประปาหมูบํ า๎ นใหม๎ ี คุณภาพ - การประปาสวํ นภมู ภิ าคขยายเขตการจาํ ย นา้ ประปาให๎ครอบคลมุ ท้งั ตาบล - ขยายเขตประปาสํวนภูมภิ าคใหค๎ รอบคลมุ พื้นทที่ ั้ง ตาบล - ขดุ สระนา้ สาหรับกักเก็บน้าในชวํ งฤดูแล๎ง - ขยายเขตประปาสํวนภูมภิ าคใหค๎ รอบคลุมทุกพืน้ ที่ 2. ขาดแคลนแหลงํ นา้ เพ่ือการเกษตรและประมง -สงํ เสริมใหเ๎ กษตรกรปลกู พชื ที่ใชน๎ า้ นอ๎ ย มกี าร พัฒนาแหลํงนา้ ท่ีมีอยูํให๎สามารถกกั เก็บน้าไวใ๎ ช๎เพื่อ ด้านเศรษฐกจิ การเกษตรในชํวงฤดูแล๎ง -ประชาชนมรี ายได๎ไมเํ พยี งพอ - มีการพฒั นาแหลํงน้าท่มี ีอยํูให๎สามารถกักเก็บนา้ ไว๎ ใชเ๎ พือ่ การเกษตรในชํวงฤดแู ล๎ง ด้านสงั คม - ขดุ ลอกคลอง ขุดสระนา้ สาธารณะ - ผต๎ู อ๎ งสงสัย/ผ๎ูเสพยาเสพตดิ เป็นคนนอกพื้นที่ เปน็ แรงงานแฝงไมํสามารถควบคุมได๎ - สรา๎ งอาชีพเสรมิ - การรวมกลมํุ วิสาหกจิ ชมุ ชน - ฝกึ อบรมให๎ความรู๎เรื่องการดาเนนิ ชวี ติ ตาม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดาริ เพ่ือเพิม่ รายได๎ลดรายจาํ ย เชํน เทคนคิ การเพ่ิม ผลผลิต การทการเกษตรทฤษฎใี หมํ เป็นตน๎ -ให๎ประชาชนมีสวํ นรํวมในการแกป๎ ๓ญหายาเสพตดิ และให๎เบาะแส/ข๎อมูล แกเํ จ๎าหน๎าทท่ี ร่ี ับผิดชอบ -ตง้ั ศูนย๑รบั แจง๎ เบาะแส และมีความเข๎มงวด ปราบปรามผูก๎ ระทาความผดิ -เจ๎าหนา๎ ที่ภาครัฐปฏบิ ัติหนา๎ ที่อยํางเครงํ ครดั และ สร๎างแนวรํวมในการปราบปรามยาเสพติด มีการ จบั กุมอยํางจิงจงั กบั ผูก๎ ระทาความผิด ~ 75 ~

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปัญหาในพ้ืนท่ี ความตอ้ งการ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม - วัชพืชในแหลงํ นา้ สาธารณะแพรพํ นั ธร๑ วดเรว็ - พัฒนาแหลงํ นา้ คู คลอง กาจดั วัชพืช เปดิ ทางน้า -การควบคมุ ปริมาณขยะเพ่ือให๎สามารถจดั การได๎ใน ให๎สามารถกักเกบ็ นา้ ในปรมิ าณมากขน้ึ ระดับครวั เรือนอยํางย่ังยืน - รณรงคใ๑ หค๎ วามรู๎และปลกู จิตสานกึ เร่ืองการ ควบคุมปริมาณขยะและการจัดการในระดับ ครัวเรอื น กบั ผู๎นาชมุ ชน และประชาชนในพื้นที่ - นาวชั พืช (ผกั ตบชวา) มาใชใ๎ ห๎เกดิ ประโยชน๑ -แหลํงน้าตนื้ เขนิ จากสาเหตุ วัชพชื เศษดิน และอน่ื ๆ -ขดุ ลอก กาจัดวัชพืช ในแหลงํ น้าสาธารณะ สะสมในแหลํงน้าสาธารณะ -ปญ๓ หาจากศตั รูพืช การใชส๎ ารเคมใี นการกาจดั แมลง - สํงเสริมและให๎ความร๎ูแกํเกษตรกรให๎ทา และวัชพชื การเกษตรโดยปลอดการใช๎สารเคมี - สํงเสรมิ ใหเ๎ กษตรกรใชส๎ ารชีวภาพในการกาจัด แมลง ด้านการท่องเทย่ี ว -ขาดงบประมาณสนับสนุนด๎านการทํองเทีย่ ว - สนับสนุนพฒั นาแหลํงทํองเท่ียวอยํางยัง่ ยนื และมี มาตรฐาน - สร๎างความพร๎อมของประชาชนในการรองรับการ ทํองเทีย่ วเชงิ อนรุ กั ษ๑และวฒั นธรรม อาเภอบางนา้ เปร้ียว ดา้ นแหล่งน้า -เป็นพืน้ ที่ราบลํมุ ตา่ อยใูํ นเขตชลประทาน และเปน็ -ประตูปดิ -เปิด ปากคลอง 14 15 16 และ 17 พื้นท่ีรองรบั น้าจากจังหวัดตาํ งๆ เพอื่ กักเกบ็ นา้ ในชํวงฤดูแล๎ง และเพ่ือระบายน้าใน ปญ๓ หานา้ ทวํ ม / สภาพน้าในลาคลองมีป๓ญหา ภาวะนา้ ทวํ ม / ขดุ ลอกคลอง 14 15 16 และ ผักตบชวาแนํนคลอง ทาให๎การระบายนา้ เปน็ ไปได๎ คลอง 17 / ปรบั ปรุงกํอสร๎างถนนภายในตาบลให๎มี ยาก และปญ๓ หาท๎องคลองต้ืนเขนิ /ป๓ญหาสภาพผวิ มาตรฐาน จราจรท่ชี ารดุ เนือ่ งจากได๎รับผลกระทบจากปญ๓ หา น้าทวํ ม -ประตูปดิ -เปิด ปากคลอง 20 คลอง 21 เพ่ือกัก เก็บนา้ ในชํวงฤดูแลง๎ และเพือ่ ระบายน้าในภาวะน้า ทํวม/ขดุ ลอกคลองหกวา คลอง 20 และคลอง 21 และกาจัดผักตบชวา/ปรบั ปรุงกอํ สรา๎ งถนนภายใน ตาบลใหม๎ มี าตรฐาน -ขดุ ลอกพืน้ ที่ให๎มีระดบั เทาํ เทียมกบั คลองสายหลัก ไดแ๎ กํคลอง 17 และทาประตกู ัน้ ชวํ งปากคลอง 18 19 20 ทีเ่ ชอื่ มกับคลอง 17 เพือ่ เก็บกักน้า ในชํวงฤดแู ล๎ง /ซอํ มแซมกํอสรา๎ งประตูปดิ ก้ันน้าเค็ม ~ 76 ~

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปัญหาในพน้ื ท่ี ความต้องการ ใหม๎ ีมาตรฐาน/ซํอมแซมปรบั ปรงุ กํอสรา๎ งถนน ดา้ นแหล่งนา้ ภายในหมูบํ า๎ นใหม๎ ีมาตรฐาน -ขาดแคลนนา้ เพ่ืออุปโภค – บริโภค -นา้ เพ่ือการเกษตร -กาจดั ผักตบชวาในลาคลองแสนแสบ เนือ่ งจากนา้ ด้านโครงสร้างพนื้ ฐาน ไมํสามารถระบายได๎อยาํ งสะดวก/ปญ๓ หาฝุนควนั -การคมนาคมไมสํ ะดวก น้าเนําเสยี มีเพียงเลก็ น๎อย อาจจะพบในเร่ืองของ -ไฟฟาู และประปาไมํได๎มาตรฐาน กลิน่ จากโรงงานอตุ สาหกรรมที่สรา๎ งมลภาวะทาง ดา้ นเศรษฐกิจ อากาศ แตอํ ยํูในขน้ั ท่ีควบคมุ ได๎ และไมํสรา๎ ง -ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกตา่ อนั ตรายตํอสขุ ภาพ / ตาบลบางนา้ เปรย้ี ว -ป๓จจยั การผลติ มีราคาสูง ตอ๎ งการปรบั ปรุงกํอสรา๎ งผิวจราจรของถนนหลาย -ไมมํ ตี ลาดรองรบั จาหนํายผลิตผล สายให๎มมี าตรฐาน -ขาดเงินทนุ ในการประกอบอาชพี -ขาดความรใู๎ นการประกอบอาชีพอื่น -ปรบั ปรงุ ผิวจราจรถนนเลียบคันคลองชลประทาน ให๎แขง็ แรง มีมาตรฐาน / จดั ทาพนงั ก้ันน้าเพ่อื ปูองกนั นา้ ไหลเขา๎ สํูพนื้ ที่ในภาวะนา้ หลาก/ปรบั ปรุง ซํอมแซมสรา๎ งถนนผวิ จราจรให๎มีมาตรฐาน -กํอสร๎างถนนสายหินคลุก ถนนลกู รงั ให๎เปน็ ถนนลาดยางแอสฟล๓ ติกคอนกรตี ใหม๎ มี าตรฐาน / ขดุ ลอกคลองท่ีมีความตืน้ เขนิ พร๎อมลอกวัชพชื อาเภอบางปะกง -จดั สรรงบประมาณเพ่ือจัดหาแหลํงน้า -ขุดลอกคูคลองทตี่ ืน้ เขิน -จัดสรรงบประมาณเพื่อซํอมแซมถนน และจากดั น้าหนกั รถบรรทุกท่ีวงิ่ เพ่ือปูองกันถนนชารุด -ซํอมแซมระบบประปาหมูํบา๎ นให๎ไดม๎ าตรฐาน -สํงเสรมิ การผลติ สนิ คา๎ เกษตร โดยเน๎นคุณภาพ มาตรฐาน อาหารปลอดภัยทง้ั ผ๎ผู ลติ และผ๎บู รโิ ภค อันจะเป็นการเพิ่มมลู คํา และเพมิ่ ขีดความสามารถ ในการแขํงขัน แกป๎ ๓ญหาสินค๎าเกษตรราคาตกต่า โดยพฒั นาการผลติ สนิ คา๎ เกษตรใหไ๎ ด๎ มาตรฐานสากล ดว๎ ยการสงํ เสรมิ เกษตรอินทรยี ๑ทีจ่ ะ ชวํ ยรักษาสงิ่ แวดลอ๎ มให๎ย่ังยืนไปพร๎อมๆ กบั การ สนบั สนนุ การหาตลาดและสถานท่ีจาหนาํ ยสินค๎า เกษตรปลอดภยั ~ 77 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ความตอ้ งการ ปญั หาในพนื้ ท่ี -การแสวงหาความรํวมมือจากทุกภาคสํวนรวํ มกัน ด้านสงั คม ในการป๓ญหายาเสพติดอยํางเขม๎ ข๎น ตลอดจนสร๎าง -ความเข๎มแข็งของชุมชน เสรมิ สุขภาพ และปจ๓ จยั เส่ียงดา๎ นสุขภาพ -เรํงพัฒนาการศึกษาตลอดจนการเรียนรท๎ู ี่มี -ยาเสพตดิ คณุ ภาพ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม -สงํ เสริมให๎ความร๎ูความเขา๎ ใจแกํประชาชนในการ -ขยะมลู ฝอยและสิง่ ปฏกิ ูล กาจัดขยะ และจัดให๎มจี ดุ ทิ้งขยะอยาํ งเพียงพอ ดา้ นการเมอื ง การบริหาร -สงํ เสริมให๎ประชาชนทกุ ภาคสวํ นมีสํวนรํวมใจ -การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย กจิ กรรมของชมุ ชน -ความสนใจในการมีสํวนรํวม -ของบประมาณจากสวํ นกลางในการดาเนนิ การ ด้านการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม และขอความรวํ มมอื จากประชาชนในพ้ืนทรี่ วํ ม -ด๎านอปุ กรณ๑สอื่ การเรยี น สนบั สนุน -อปุ กรณ๑สาหรับสนามเดก็ เลนํ ไมํมีมาตรฐาน -สงํ เสรมิ ใหป๎ ระชาชนใสํใจสขุ ภาพ ด้านสาธารณสุข จัดหนํวยบริการเคลื่อนท่ีให๎ความร๎ูแกปํ ระชาชน -ปูองกันโรคติดตํอ อยํางสม่าเสมอ -สุขภาพอนามยั -การบรกิ ารสาธารณสุขมูลฐาน ~ 78 ~

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 2.2 ขอ้ มูลการวิเคราะห์ศักยภาพ 2.2.1 ด้านเศรษฐกจิ ผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดฉะเชิงเทรา (GPP) ปี พ.ศ. 2557 ณ ราคาประจาปี มีมูลคํา 323,528 ล๎านบาท อยํูอันดับที่ 7 ของประเทศ และเป็นอันดับที่ 2 ของกลํุมจังหวัดภาคกลางตอนกลาง สาหรับผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดตํอคนตํอปีของจังหวัดฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. 2557 นั้น มีมูลคําเทํากับ 423,965 บาท ตํอปี อยูํอนั ดบั ท่ี 4 ของประเทศ และเปน็ อันดบั ที่ 1 ของกลมํุ จังหวัดภาคกลางตอนกลาง ทั้งนี้ สาขาการผลิตทนี่ ารายได๎เข๎าสํูจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 3 อันดับแรก ได๎แกํ 1) สาขาอตุ สาหกรรม มีมลู คาํ รวม 221,040 ล๎านบาท คดิ เปน็ สัดสํวนรอ๎ ยละ 68.32 2) สาขาคา๎ ปลกี คา๎ สงํ ฯลฯ มมี ลู คาํ รวม 33,120 ล๎านบาท คดิ เปน็ สัดสวํ นรอ๎ ยละ 10.24 3) สาขาเกษตรกรรมฯ มมี ลู คาํ รวม 18,547 ล๎านบาท คิดเปน็ สัดสวํ นร๎อยละ 5.73 เม่ือพิจารณาโครงสร๎างทางเศรษฐกิจของจังหวัดฉะเชิงเทราในภาพรวม พบวํา เศรษฐกิจของ จังหวัดฉะเชิงเทราน้ันขึ้นอยูํกับเศรษฐกิจนอกภาคการเกษตร โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ ดัง พิจารณาได๎จากสัดสํวนของรายได๎ระหวํางนอกภาคการเกษตรกับภาคเกษตรกรรมที่แตกตํางกันเป็นอยํางมาก กลําวคือ สาขาการผลิตนอกภาคการเกษตรนารายได๎เข๎าสํูจังหวัด มูลคํารวม 303,182 ล๎านบาท คิดเป็น สัดสํวนร๎อยละ 93.71 ในขณะท่ีภาคเกษตรกรรมนารายได๎เข๎าสูํจังหวัด มูลคํารวม 20,347 ล๎านบาท คิด เป็นสดั สํวนเพยี งร๎อยละ 6.29 เทาํ น้ัน นอกจากนี้ เมอื่ วเิ คราะห๑เปรียบเทียบกบั ปี พ.ศ. 2556 ผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. 2557 ณ ราคาประจาปี เพิ่มข้ึนจากปี พ.ศ. 2556 เทํากับ 3,748 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ 1.17 สาหรับมูลคําผลิตภัณฑ๑มวลรวมจังหวัดตํอคนตํอปีของจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. 2557 ลดลงจากปี พ.ศ. 2556 เทํากบั 1,670 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ 0.39 โดยสาขาการผลิตลงลงมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ สาขากํอสร๎าง ลดลงร๎อยละ 26.54 รองลงมา คือ สาขาบริการด๎านอสังหาริมทรัพย๑ การให๎เชํา และบริการทางธุรกิจ ลดลงร๎อยละ 19.27 และ สาขาการบริหารราชการและการปูองกันประเทศ รวมทงั้ การประกันสงั คมภาคบงั คับ ลดลงรอ๎ ยละ 10.14 สาหรับสาขาการผลิตที่เพิ่มขึ้นมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประมง เพิ่มขึ้นร๎อยละ 22.32 รองลงมาคือ สาขาการทาเหมืองแรํและเหมืองหิน เพ่ิมขึ้นร๎อยละ 18.32 และสาขาตัวกลางทาง การเงนิ เพ่มิ ขึ้นร๎อยละ 11.52 (ขอ๎ มลู จาก สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหํงชาติ) ~ 79 ~

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) อัตราขยายตัวและโครงสรา้ งผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั (GPP) อัตราการขยายตวั ณ ราคาคงท่ี (รอ๎ ยละ) โครงสรา๎ ง ณ ราคาประจาปี (ร๎อยละ) 2555r 2556r 2557p 2555r 2556r 2557p ภาคเกษตร 3.06 2.96 -5.70 6.16 6.75 6.29 ภาคนอกเกษตร 34.42 -6.61 1.67 93.84 93.25 93.71 อุตสาหกรรม คา๎ ปลีก ค๎าสงํ ฯลฯ 40.15 -8.78 2.04 69.80 67.74 68.32 โรงแรมและภตั ตาคาร อื่น ๆ 31.34 -3.53 5.69 9.55 9.80 10.24 GPP -42.40 16.17 0.00 0.09 0.11 0.11 14.48 1.75 -2.44 14.40 15.60 15.04 31.95 -6.02 1.17 100.00 100.00 100.00 ท่มี า : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด และผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหวั ผลติ ภณั ฑ๑มวลรวมจังหวดั จานวน อตั ราการขยายตวั (ร๎อยละ) ณ ราคาประจาปี (ล๎านบาท) 2555r 2556r 2557p 2555r 2556r 2557p ประชากร (พนั คน) 340,252 319,780 323,528 31.95% -6.02% 1.17% ผลติ ภณั ฑ๑จงั หวดั ตอํ หัว (บาท/คน/ป)ี 739 751 763 1.65 1.64 1.57 460,296 425,635 423,965 29.81 -7.53 -0.39 ท่มี า : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหํงชาติ การค้าและการพาณชิ ย์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ในอดีตเป็นศูนย๑กลางทางการค๎า และเป็นเมืองหน๎าดํานทางภาค ตะวันออกท่ีเชื่อมกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นชุมทางการขนสํงและขนถํายสินค๎า ท้ังทางรถไฟ ทาง รถยนต๑ และการขนสํงสินค๎าเกษตรทางน้า เพื่อปูอนตลาดกรุงเทพฯ ตํอมาได๎รับอิทธิพลการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของชุมชนเมือง ประกอบกับทางราชการได๎มีโครงการพัฒนาชายฝ่๓งทะเล ตะวันออก เพื่อสร๎างทําเรือน้าลึกที่แหลมฉบัง สนามบินนานาชาติท่ีสุวรรณภูมิ จังหวัดฉะเชิงเทรามีความ ได๎เปรียบด๎านทาเลท่ีตั้งและมีโครงสร๎างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจด๎านการเกษตร ท้ังพืชผลการเกษตรและปศุ สัตว๑อยํูกํอนแล๎ว จึงกํอให๎เกิดการลงทุนอุตสาหกรรมตํอเนื่องการเกษตรอยํางรวดเร็ว และด๎วยที่มี ทรพั ยากรการเกษตรและปศุสตั วอ๑ ยูํกอํ นแลว๎ และทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณภาพท่ีได๎รับการศึกษาในระดับสูง มีประสบการณ๑และความสามารถในการจัดการเป็นอยํางดีและผลตํอการเพ่ิมศักยภาพด๎านการลงทุนของ จงั หวดั กระจายสสํู าขาตํางๆ มากข้ึน สํงผลให๎ด๎านพาณิชยกรรมของจังหวัดมีความก๎าวหน๎า มีการเชื่อมโยง ไปสูํการสงํ ออก กลายเปน็ การคา๎ ระหวํางประเทศทีม่ ีขอบขาํ ยดาเนินกวา๎ งมากขนึ้ ในอนาคต ~ 80 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ทะเบยี นนติ บิ ุคคล ปี รวม บริษทั ห๎างหน๎ุ สวํ นจากัด ห๎างหุ๎นสํวน บริษทั มหาชน ยอด จากัด สามัญนติ บิ คุ คล จากดั 2,420 2555 3,545 1,122 - 3 2556 2,838 2557 4,093 2,983 1,240 4 3 2558 4,254 1,256 4 3 2.2.2 ด้านเกษตร จังหวัดฉะเชงิ เทรา มีเนื้อที่ท้ังหมด ๓,๓๔๔,๓๗๕ ไรํ พ้ืนที่ถือครองเพื่อการเกษตร ๒,๐59,32 ๘ ไรํ หรือคิดเป็นรอ๎ ยละ ๕๙.๘๘ของพน้ื ท่ที ้ังจังหวดั และมจี านวนครัวเรือนเกษตรกร 65,562 ครวั เรอื น ตารางแสดง จานวนครัวเรือนเกษตรกรจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ลาดับ อาเภอ จานวน จานวนครัว ร้อยละจานวนครวั เรือน ท่ี ครัวเรอื น เรอื นเกษตร เกษตรกร/ครัวเรือนท้ังหมด 55,867 1 เมืองฉะเชงิ เทรา 15,985 8,734 15.63 22,534 4,930 30.84 2 บางคลา๎ 39,973 9,418 41.79 17,367 3,949 9.88 3 บางน้าเปรี้ยว 31,374 4,468 14.24 21,179 6,781 26.61 4 บางปะกง 15,591 11,133 52.57 3,917 4,828 30.97 5 บา๎ นโพธิ์ 14,092 2,522 64.39 3,749 6,502 46.14 6 พนมสารคาม 241,628 2,297 61.27 65,562 27.13 7 สนามชยั เขต 8 แปลงยาว 9 ราชสาส๑น 10 ทําตะเกียบ 11 คลองเข่ือน รวม โดยจังหวัดฉะเชิงเทรามีพื้นฐานด๎านการเกษตร เป็นแหลํงผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงประชากร ใน ภูมิภาค และกรุงเทพมหานคร ประชาชนร๎อยละ ๗๐ ประกอบอาชีพทางด๎านเกษตรกรรมที่สร๎างรายได๎ให๎แกํ เกษตรกรในจงั หวัด คิดเปน็ มูลคาํ ประมาณ ๒๗,๖๘๑ ลา๎ นบาทตํอปี ผลผลิตท่ีสร๎างช่ือเสียงให๎แกํจังหวัดในด๎าน พืช ได๎แกํ ข๎าว มันสาปะหลัง อ๎อยโรงงาน มะพร๎าว มะมํวง และหมาก เป็นต๎น ด๎านปศุสัตว๑ ได๎แกํ ไขํไกํ และ สุกร ซึ่งเป็นแหลํงผลิตมากที่สุดของประเทศ ไกํเนื้อ เป็ด และโคเน้ือ ด๎านประมง มีการเพาะเลี้ยงสัตว๑น้า อาทิ เชนํ กุ๎งขาวแวนนาไมท๑ กุง๎ กุลาดา ปลาน้าจืด ปลานา้ กรํอย และกิจการประมงทะเล ~ 81 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) การใชท้ ด่ี ินเพือ่ การเกษตรการใชท้ ี่ดนิ เพอื่ การเกษตรแยกตามรายอาเภอ จังหวดั ฉะเชิงเทราปี 2554 พนื้ ทีท่ าการเกษตร (ไร)่ อาเภอ ท่ีนา พชื ไร่ สวนไมผ้ ล พืชผกั ไม้ยืนตน้ รวม นาปี นาปรัง เมอื งฉะเชิงเทรา 97,803 97,773 - 10,565 3,376 - 209,517 บางคลา๎ 23,124 21,515 106 17,562 571 266 63,144 บางนา้ เปรยี้ ว 233,017 227,808 266 6,073 346 10 467,520 บางปะกง 16,878 2,632 - 1,006 378 - 20,894 บา๎ นโพธิ์ 24,367 17,033 - 959 - - 42,359 พนมสารคาม 105,301 58,068 50,068 4,446 663 36,887 255,433 สนามขยั เขต 91,037 6,389 132,900 2,645 676 243,013 476,660 แปลงยาว 22,168 9,686 39,094 2,318 599 27,731 98,596 ราชสาสน๑ 52,715 36,374 - 5,626 40 - 94,775 ทําตะเกียบ 29,278 1,988 115,679 840 1,460 139,642 288,887 คลองเข่อื น 29,551 2,797 83 8,682 430 - 41,543 การประมง จากข๎อมูลสถิติการเกษตรของประเทศปี ๒๕๕๔, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ๑ได๎ระบุวํา จังหวัดสุพรรณบุรีเป็นแหลํงเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม๎น้า๕อันดับแรก ของประเทศไทย ท้ังนี้ จากการวิเคราะห๑ข๎อมูลเชิงพื้นท่ีของจังหวัดฉะเชิงเทรา พบวํา ข๎อมูลการประมงจาแนก ตามประเภทของน้า ซ่ึงประกอบไปดว๎ ย พนื้ ทน่ี ้าจดื พน้ื ทน่ี ้ากรอํ ย และพ้ืนท่ีน้าเค็ม ทาให๎เกิดความหลากหลาย ในการประกอบอาชพี ด๎านการประมง มแี มํนา้ บางปะกงเป็นหัวใจหลักในการประกอบอาชีพ สามารถ ทารายได๎ เข๎าจังหวัดคิดเป็นมูลคําหลายล๎านบาท โดยในปี ๒๕๕๑ ผลิตภัณฑ๑มวลรวมสาขาประมงมีมูลคําเพ่ิม ณ ราคา ประจาปี เทํากับ ๒,๒๓๗ ล๎านบาท กิจกรรมหลักที่สาคัญ ๕ อันดับแรก ได๎แกํ การทาฟาร๑มเลี้ยงกุ๎งทะเล มี มูลคําเพิ่ม ๑,๓๐๐ ล๎านบาท การเล้ียงสัตว๑น้าจืด มีมูลคําเพ่ิม ๕๔๔ ล๎านบาท การเพาะพันธ๑ุปลาและก๎ุง มี มลู คาํ เพมิ่ ๑๖๐ ล๎านบาท การทาฟารม๑ เล้ียงปลาน้ากรํอย มีมูลคําเพ่ิม ๑๕๗ ล๎านบาท และการประมงพื้นบ๎าน (ชายฝ๓ง่ ) มมี ูลคาํ เพิม่ ๖๒ ลา๎ นบาท ~ 82 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) รายงานผูจ้ ดทะเบียน กบั สานกั งานประมงจังหวัดฉะเชิงเทรา จาแนกตามกลุ่มสัตว์นา้ (ข้อมลู ถึงวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔) อาเภอ กุ้งทะเล ปลาน้าจดื ปลากะพงขาว กุง้ กา้ มกราม กบ,จระเข้,ตะพาบ หอยทะเล จานวน เน้อื ที่ จานวน เนื้อที่ จานวน เนื้อที่ จานวน เนือ้ ที่ จานวน เนอ้ื ที่ ๑.เมอื ง (ฟารม์ ) (ไร่) จานวน เน้อื ที่ (ฟาร์ม (ไร่) (ฟารม์ ) (ไร)่ (ฟารม์ ) (ไร)่ (ฟารม์ (ไร)่ ๒.บางคลา๎ (ฟาร์ม) (ไร่) ๓.บา๎ นโพธิ์ ๖๕๕ ๔,๗๒๓ ) ๖ ๔๓ ๔๓ ) ๔.บางปะกง ๘๙๑ ๗,๘๗๖ ๕๘๗ ๖,๖๗๑ ๑๒๐ ๖๘๒ ๘ ๘๑ ๙ ๓๖ ๕.บางน้าเปร้ยี ว ๓๔๒ ๓,๖๘๐ ๑๗๘ ๑,๘๙๗ ๔๒ ๕๓๗ ๓๓ ๘๔ ๖๘๓ ๖.คลองเขื่อน ๙๐ ๑,๔๗๐ ๒๐๑ ๒,๑๑๑ ๔๘ ๗๗๖ ๑ ๑ ๗.ราชสาสน๑ ๑๕๓ ๑,๘๔๖ ๓๑๓ ๕,๙๘๘ ๑๓ ๘๔ ๖๘๓ ๘.พนมสารคาม ๓๖๙ ๒,๙๒๒ ๑๘๔ ๑,๔๔๓ ๑๖๘ ๑,๔๕๘ ๑๒ ๙.แปลงยาว ๑๑๒ ๑,๕๘๔ ๙๘ ๙๘๘ ๕๗ ๖๖๔ ๓ ๙๐ ๑๐.ทําตะเกียบ ๔๒ ๖๑๖ ๑๐๐ ๒,๒๑๙ ๗๙ ๒๘ ๑๑.สนามชัยเขต ๑๕ ๖๖๘ ๒๑๙ ๑,๔๓๓ ๕๗ ๙๑๙ ๕๒ รวม ๒,๖๖๙ ๒๕,๔๒๕ ๗๐ ๑๐๕ ๑๖๔ ๒๑๑ ๖๗ ๒,๒๑๘ ๒๙๙ ๒๔,๐๓๕ จานวนเรือประมงทีข่ น้ึ ทะเบียนเรอื ประมง ถึงปี ๒๕๕๓ ประเภทเคร่ืองมือ ลา อวนลากแผนํ ตะเฆํ ๒๓ อวนลากคํู ๖ อวนรนุ ๒๑ อวนลอย (ป,ู กุง๎ , ปลา) ๖๙ รวม ๑๑๙ การปศุสตั ว์ จังหวดั ฉะเชงิ เทรามคี วามเหมาะสมทางภูมิศาสตรใ๑ นการประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว๑ เนื่องจากมี แหลงํ นา้ แหลํงวัตถุดิบอาหารสัตว๑ และการคมนาคมขนสงํ สะดวกสบาย กิจกรรมปศสุ ตั ว๑ทถ่ี อื วําติดอันดบั ๑ ใน ๕ของประเทศไดแ๎ กํผลผลติ ไข่ไก่และจานวนไกไ่ ข่สูงเป็นอันดบั 1 ของประเทศ โดยในปี ๒๕๕6 มเี กษตรกร เล้ยี งไกํไขทํ ้ังส้ิน 117 ราย จานวน 3,935,208 ตวั ปริมาณการผลิต 1,127,649 พนั ฟอง นอกจากน้สี กุ รนับวําเป็นสัตว๑เศรษฐกิจอีกชนิดหน่ึง โดยมผี ลผลิตสุกรสูงเป็นอันดับ ๓ ของประเทศ มี เกษตรกรเล้ียงสุกรท้ังสิน้ 646 ราย จานวน 475,126 ตวั ปรมิ าณการผลิต ๘05,386 ตวั ภาค/จังหวัด จานวนสกุ ร (ตวั ) ปรมิ าณการผลติ (ตัว) ๒๕5๔ ๒๕๕5 ๒๕๕6 ๒๕54 ๒๕๕5 ๒๕๕6 ๑,602,886 ๑,789,350 ๑,๘๔3,123 ราชบรุ ี ๑,537,388 ๑,483,887 ๑,๕๐๙,986 ๑,566,959 ๑,744,050 ๑,792,093 716,093 789,620 ๘05,386 นครปฐม ๙48,312 923,277 935,978 ๕13,819 ๕64,570 ๕76,156 461,478 501,950 519,361 ฉะเชงิ เทรา 489,947 466,773 475,126 ชลบรุ ี ๓19,407 ๓17,682 ๓21,322 นครราชสีมา 298,478 ๓05,641 ๓๔๑,๑๙๗ ท่มี า : สถติ ิการเกษตรแหํงประเทศไทย สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ~ 83 ~

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ข้อมูลแหล่งแปรรปู ตลาดกระจายสนิ คา้ และข้อมูลสาคัญจังหวดั ฉะเชิงเทรา สินคา้ กลุม่ สินค้า ชอ่ื สินค้า จานวนเกษตรกร พน้ื ที่ (ราย) (ไร/่ ตัว) 1 พชื ไรํ ขา๎ วนาปี 31410 725,239 พืชไรํ ข๎าวนาปรัง 19436 507,242 มันสาปะหลงั 12094 285,281 2 พืชไรํ มะมํวง 9133 32,425 3 พชื สวน ยางพารา 3789 164,580 4 พชื สวน อ๎อยโรงงาน 322 17,553 5 พชื ไรํ ไม๎เศรษฐกจิ (สน+ยูคาลิปตสั ) 5008 282,969 6 พืชสวน ไกไํ ขํ 117 8,940,176 ตวั 7 ปศสุ ตั ว๑ ไกเํ นื้อ 210 5,166,462 ตวั 8 ปศุสัตว๑ สกุ ร 646 378,112 ตัว 9 ปศุสตั ว๑ ก๎ุงทะเล 4042 36,594 10 ประมง 2.2.3 ด้านอุตสาหกรรม ด๎านอุตสาหกรรมนับวํามีศักยภาพคํอนข๎างสูง มีนักลงทุนให๎ความสนใจลงทุนมาก มีการ เคล่ือนย๎ายฐานการผลิตจากกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล๎เคียงมาลงทุนต้ังโรงงานอุตสาหกรรมในเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยในปี พ.ศ. 2559 จังหวัดฉะเชิงเทรา มีโรงงานอุตสาหกรรม 1,698 โรงงาน (ไมํรวม โรงงานในเขตนิคม) มีเงนิ ลงทุน 328,135.24 ล๎านบาท และมีการจ๎างงาน 139,111 คน โดยอุตสาหกรรม สํวนใหญํเป็นอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ๑โลหะ 218 โรงงาน รองลงมาคืออุตสาหกรรมเกษตร 189 โรงงาน และ อุตสาหกรรมขนสงํ 141 โรงงาน สาหรับในสํวนของนิคมอุตสาหกรรมน้ัน จังหวัดฉะเชิงเทรา มีนิคมอุตสาหกรรม 3 แหํง โรงงานท่ีตั้งอยํูในเขตนิคมมีจานวนรวมทั้งสิ้น 257 โรงงาน มีเงินลงทุน 139,306.95 ล๎านบาท และมีการ จ๎างงาน 48,144 คน ซึ่งสามารถพิจารณารายละเอียดได๎ ดงั น้ี 1. นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว๑ มีโรงงานจานวน 65 โรงงาน มีเงินลงทุน 24,429.25 ล๎าน บาท และมกี ารจา๎ งงาน 17,893 คน 2. นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย๑ซิต้ี มีโรงงานจานวน 169 โรงงาน มีเงินลงทุน 110,663.44 ลา๎ นบาท และมีการจา๎ งงาน 29,703 คน 3. นิคมอุตสาหกรรมทีเอฟดี มีโรงงานจานวน 23 โรงงาน มีเงินลงทุนรวม 214.26 ล๎าน บาท และมีการจ๎างงาน 548 คน (ข๎อมูลจากสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา วันที่ 10 มิถุนายน 2559) อุตสาหกรรมท่ีสาคัญได๎แกํ (ข๎อมูลจากสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2559) 1. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ๑โลหะที่สาคัญ ได๎แกํ ผลิตลวดเหล็กแรงดันสูง ผลิตแผํนเหล็กและ หลอมหลอํ เหล็ก มจี านวนโรงงานทั้งส้ิน 218 แหํง เงินลงทุน 17,463.03 ล๎านบาท จ๎างแรงงงาน 15,403 คน ~ 84 ~

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 2. อุตสาหกรรมการเกษตรที่สาคัญ ได๎แกํ โรงสีข๎าว โกดังเก็บและลาเลียงพืชผลทางการ เกษตรและผลิตภัณฑ๑แปูงมันสาปะหลังแปรรูป มีจานวนโรงงานทั้งสิ้น 189 โรงงาน เงินลงทุน 11,190.02 ลา๎ นบาท จา๎ งแรงงาน 4,381 คน 3. อตุ สาหกรรมขนสํง จะเป็นอุตสาหกรรมผลติ และประกอบช้ินสวํ นรถยนต๑และจักรยานยนต๑ กิจการ ซํอม เคาะพํนสีรถยนต๑ มีจานวนโรงงานทั้งสิ้น 141 โรงงาน เงินลงทุน 81,727.93 ล๎านบาท จ๎าง แรงงาน 29,561 คน 4. อุตสาหกรรมพลาสติก จะเป็นอุตสาหกรรมผลิตเคร่ืองใช๎ที่ทาจากผลิตภัณฑ๑พลาสติก มี จานวนโรงงานท้งั ส้ิน 129 โรงงาน เงินลงทนุ 13,908.31 ล๎านบาท จ๎างแรงงาน 11,469 คน 5. อุตสาหกรรมอาหาร จะเป็นอุตสาหกรรมผลิตอาหารสาเร็จรูป มีจานวนโรงงานท้ังสิ้น 120 โรงงาน เงนิ ลงทุน 13,750.54 ลา๎ นบาท แจ๎งแรงงาน 6,592 คน ผลิตภัณฑ๑มวลรวมของจังหวัดฉะเชิงเทรา สาขาการผลิตที่ทารายได๎เข๎าสูํจังหวัดมากเป็น อันดับหน่ึง คือ สาขาอุตสาหกรรม มีมูลคําผลิตภัณฑ๑มวลรวม (ปี 2557) มีมูลคํา 221,040 ล๎านบาท การจัดตั้งและขยายโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดมีการดาเนินการอยํางตํอเน่ือง เน่ืองจากจังหวัดฉะเชิงเทรา ต้ังอยํใู นทาเลทเี่ หมาะสม กลําวคอื อยใํู นเขตปริมณฑลของกรงุ เทพมหานคร และสมุทรปราการ ซ่ึงเป็นจังหวัดที่ มีการลงทุนทางด๎านโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดใหญํมาช๎านาน อีกทั้งรัฐบาลมีโครงการพัฒนา ชายฝ่๓งทะเลด๎านตะวันออก Eastern Sea Board ซึ่งมีการกํอสร๎างทําเรือแหลมฉบังเพื่อขนสํงออกและนาเข๎า นอกจากาน้ี ยงั มีทางหลวงสายกรงุ เทพฯ – ชลบุรีสายใหมํ (มอเตอร๑เวย๑) ทาให๎การเดินทางและการขนสํงไปยัง จังหวัดฉะเชิงเทรารวดเร็วมากย่ิงข้ึน อีกทั้ง ทาเลของจังหวัดฉะเชิงเทรายังอยํูใกล๎สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งจะ เป็นสนามบินนานาชาติแหงํ ใหมทํ ีใ่ หญแํ ละทันสมัยท่ีสดุ ในภมู ภิ าคเอเชยี อาคเนยอ๑ ีกด๎วย ปจ๓ จบุ นั จังหวดั ฉะเชิงเทราได๎รบั อิทธพิ ลการขยายตวั ของสงั คมเมือง และการเปล่ียนแปลงจาก การผลิตภาคเกษตรกรรมไปสํูภาคอุตสาหกรรม จะเห็นได๎จากมีการลงทุนต้ังโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึนทุกปี จากการที่จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการลงทุนต้ังโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ิมข้ึนอยํางตํอเน่ืองทุกปี ซึ่งมีผลตํอการจ๎าง แรงงาน โดยจะสํงผลให๎มีแรงงานจากภาคเกษตรกรรมเข๎าสูํภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น ทั้งน้ี ประเภท อุตสาหกรรมท่ีนักลงทุนให๎ความสนใจลงทุน และมีแนวโน๎มในการลงทุนสูง ได๎แกํ อุตสาหกรรมผลิตและ ประกอบช้ินสํวนยานยนต๑ ผลิตช้ินสํวนอิเล็กทรอนิกส๑ อุปกรณ๑ไฟฟูา อุตสาหกรรมพลาสติกและบรรจุภัณฑ๑ ผลิตเคร่ืองมือเครื่องใช๎จากเหล็กและโลหะ และอุตสาหกรรมตํอเนื่องจากการเกษตร ซึ่งนักลงทุนสํวนใหญํจะ สนใจลงทุนในเขตอาเภอตํางๆ โดยเฉพาะอาเภอบางปะกง อาเภอเมือง อาเภอพนมสารคาม อาเภอบ๎านโพธิ์ อาเภอบางคล๎า และอาเภอบางน้าเปรี้ยว เป็นสาคัญ สะท๎อนจากจานวนโรงงานอุตสาหกรรมท่ีต้ังอยูํในเขต อาเภอดงั กลาํ วทค่ี ํอนข๎างหนาแนนํ เน่ืองจากเป็นเขตที่มวี ตั ถุดิบ และเส๎นทางคมนาคมทีส่ ะดวก การกระจายตัวของอุตสาหกรรม ในเขตจังหวดั ฉะเชงิ เทรา มีโรงงานอุตสาหกรรมหลายปะเภท กระจายตัวอยูํตามอาเภอตํางๆ อาเภอท่ีมีโรงงานอุตสาหกรรมต้ังอยํูหนาแนํนมากซ่ึงได๎แกํ อาเภอเมือง และอาเภอบางปะกง อาเภอพนมสาร คาม และอาเภอบ๎านโพธ์ิ การขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมที่ผํานมานักลงทุนให๎ความสนใจท่ีจะลงทุนต้ัง โรงงานในเขตอาเภอบางปะกงและอาเภอเมืองมากกวําพ้ืนที่อื่น เนื่องจากเป็นบริเวณที่ใกล๎กับแหลํงขนถําย สนิ ค๎า และวตั ถดุ บิ ในการผลิตและมีการคมนาคมขนสํงที่สะดวกรวดเร็ว แตํป๓จจุบันพื้นท่ีในเขตอาเภอบ๎านโพธิ์ กาลังได๎รับความสนใจจากนักลงทุนมากข้ึน เนื่องจากอยํูใกล๎กับสนามบินสุวรรณภูมิ ซ่ึงจะเป็นแหลํงขนถําย สินค๎าแหํงใหมํ ที่ทันสมัยและมีขนาดใหญํท่ีสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ ป๓จจุบันมีโรงงานผลิตและประกอบ ~ 85 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) รถยนตข๑ นาดใหญํในเครือบริษัท โตโยต๎ามอเตอร๑ (ประเทศไทย) จากัด ได๎ขยายฐานการผลิตมาต้ังโรงงาน และ ยงั มกี ารลงทุนตั้งโรงงานผลิตช้ินสํวนตํางๆ ของรถยนต๑ในเขตอาเภอบ๎านโพธิ์ตามมาอีกด๎วย ซึ่งจะเป็นการชํวย สรา๎ งงานสร๎างรายได๎ใหก๎ บั ประชาชนในท๎องถ่นิ ของจังหวดั ฉะเชิงเทราไดเ๎ ปน็ อยํางดี แหล่งอุตสาหกรรม แหลํงอุตสาหกรรมของจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเปน็ แหลงํ ที่มีโรงงานอตุ สาหกรรมขึ้นอยูํอยําง หนาแนนํ คอื - ถนนบางนา – ตราด ตลอด 2 ฝ๓่งถนน โรงงานสํวนใหญํจะเป็นโรงงานประเภทผลิตช้ินสํวน และประกอบรถยนต๑ ผลิตอุปกรณ๑ ช้ินสํวนอิเล็กทรอนิกส๑ ผลิตเครื่องใช๎ไฟฟูาและอุปกรณ๑ไฟฟูา ผลิตภัณฑ๑ พลาสติก การอบรกั ษาพืชดว๎ ยไซโล ผลิตไมอ๎ ดั ปารต๑ ิเกิลบอร๑ด ผลิตเฟอร๑นิเจอร๑จากไม๎ ป้๓นด๎ายผลิตลวดแรงดัน สงู ผลติ ของเดก็ เลํน ฯลฯ และโรงงานตาํ งๆ ในยํานนส้ี ํวนใหญํจะเป็นโรงงานขนาดใหญแํ ละขนาดกลาง - ถนนสุวินทวงศ๑ (ฉะเชิงเทรา – มีนบุรี) ตลอดแนวสองฝ๓่ง จะเป็นโรงงานผลิตช้ินสํวน อเิ ลค็ ทรอนิกส๑ กระดาษสีนา้ ตาล ผลติ อาหารสัตว๑ ทาขนมจีน ผลติช้ินสํวนคอนเพรสเซอร๑ ผลิตชิ้นสํวนอุปกรณ๑ จากพลาสตกิ ผลติ ซอสมะเขือเทศ และซอสปรุงรส ผลิตเฟอร๑นิเจอร๑ ผลิตกาแฟผง ผลิตสายเคเบิ้ล แปรรูปเน้ือ สุกร และผลิตรองเท๎าจากหนังสัตว๑ โรงงานตํางๆ ท่ีตั้งอยูํยํานนี้สํวนใหญํจะเป็นโรงงานขนาดใหญํที่มีเงินลงทุน มากกวาํ 100 ล๎านบาท - ถนนสายฉะเชิงเทรา – พนมสารคาม จานวนโรงงานจะหนาแนํนน๎อยกวํายําน บางนา – ตราด และยํานสวุ ินทวงศ๑ อนั ประกอบดว๎ ยโรงงานตํางๆ หลายประเภท เชํน ผลติ สายไฟชุดสาหรับรถยนต๑ ผลิต ถุงมอื ในการกฬี า ตดั เยบ็ เสือ้ ผา๎ ทาเส๎นหมี่ และประเภทอุตสาหกรรมแปรรปู ทางการเกษตร เป็นต๎น - ถนนสายฉะเชิงเทรา – บางปะกง ซึ่งเป็นยํานอุตสาหกรรมแหํงใหมํ ท่ีเป็นที่สนใจของนัก ลงทุนอยาํ งมากในขณะนี้ ประเภทอุตสาหกรรมท่ีมีการลงทุน ได๎แกํ โรงงานผลิตและประกอบช้ินสํวนยานยนต๑ โรงงานผลิตแผงผลิตไฟฟูาจากแสงอาทิตย๑ (โซลําเซลล๑) โรงงานผลิตแผํนคอมแพคดิสก๑ และ โรงงาน ผลิต สายไฟฟาู ทองแดงเสน๎ และลวดอลมู เิ นียม เป็นตน๎ 2.2.4 ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว จงั หวัดฉะเชิงเทรามีสถานที่ทํองเที่ยวท่ีหลากหลายและอยํูไมํไกลจากกรุงเทพมหานครเหมาะ แกํการทํองเทย่ี วได๎หลายรปู แบบ เป็นแหลํงโบราณสถาน อนุสรณ๑สถาน และวัดท่ีสาคัญทางประวัติศาสตร๑ เชํน วัด โสธรวรารามวรวิหาร (วัดหลวงพํอโสธร) ซ่ึงเป็นท่ีประดิษฐานหลวงพํอโสธรท่ีประชาชนนิยมมาสักการะ แหลงํ ทอํ งเที่ยวเชงิ นิเวศ เชนํ ปาุ ชายเลน ลํองเรือชมปลาโลมา ซึ่งจะชมได๎ในชํวงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ๑ ของทุกปี และแหลงํ ทํองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร๑ เชํน ตลาดคลองสวน 100 ปี เป็นแหลํงชุมชน ขนาดใหญํท่ีมีวิถีชีวิตของคนในสมัยย๎อนยุคกวําร๎อยปี ชิมอาหารอรํอยท่ีมีท้ังอาหารคาวที่มีสูตรเฉพาะ ขนม หวาน กาแฟสูตรโบราณด้ังเดิม ชมของเกําและสถาป๓ตยกรรมอันทรงคุณคํา สามารถชมได๎ท่ีตลาดคลองสวน 100 ปแี หํงนแี้ หํงเดียว แหล่งท่องเท่ยี วทส่ี าคญั จังหวัดฉะเชิงเทรามีแหลํงทํองเท่ียวท่ีสาคัญ ทั้งที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ เป็นแหลํง เรยี นรวู๎ ัฒนธรรมประเพณี แหลํงทอํ งเที่ยวทางธรรมชาติ รวมทง้ั แหลํงทํองเทย่ี วที่มนษุ ย๑สร๎างข้ึนอยูมํ าก ไดแ๎ กํ - วัดโสธรวรารามวรวหิ าร - อนสุ าวรยี ๑พระยาศรสี นุ ทรโวหาร (น๎อย อาจารยางกูร) ~ 86 ~

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) - ปอู มกาแพงเมืองฉะเชิงเทรา - ศาลากลางจงั หวดั หลังเกําหรอื ศาลารัฐบาลมณฑลปราจีน - อาคารไม๎สกั 100 ปี คํายศรโี สธร (กองพนั ทหารชํางท่ี 2 รักษาพระองค)๑ - พระตาหนกั กรมขุนมรุพงษศ๑ ริ พิ ฒั น๑ - วดั ปติ ุลาธิราชรงั สฤษฎ์ิ (วดั หนา๎ เมอื ง) - เจา๎ แมํกวนอมิ ลอยน้า (สมาคมสงเคราะห๑การกุศล) - วัดอภุ ัยภาติการาม (วดั ซาปอกง) - ตลาดบ๎านใหมํ ตลาดรมิ นา้ 100 ปี - วัดจนี ประชาสโมสร (วดั เลงํ ฮกยี่) - ตลาดโบราณนครเน่ืองเขต - ตลาดคลองสวน 100 ปี - เข่ือนทดน้าบางปะกง - วดั สมานรตั นาราม - มหกรรมป้น๓ ทรายโลกจังหวดั ฉะเชิงเทรา - วัดโพรงอากาศ - เทวสถานอุทยานพระพฆิ เนศ - สวนปาล๑มฟาร๑มนก - เกาะนก - เกาะลัด - เขตรกั ษาพันธสุ๑ ัตวป๑ ุาเขาอํางฤาไน - อาํ งเก็บน้าลาดกระทงิ - อํางเกบ็ น้าคลองสียัด - ถ้านางสบิ สอง - น้าตกบํอทอง - ศูนยศ๑ กึ ษาการพฒั นาเขาหินซ๎อนอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ - มูร๑รําฟาร๑ม - หมํูบา๎ นนา้ ตาลสด - หมบูํ า๎ นเกษตรกรรมหนองหว๎า ~ 87 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) สถิติรายไดแ้ ละจานวนนกั ท่องเท่ียวและผเู้ ย่ียมเยือนของจังหวดั ฉะเชิงเทรา มกราคม – ธนั วาคม 2555 2556 2557 2558 ผูเ๎ ยีย่ มเยือน (Visitor) 2,615,076 2,740,284 2,794,003 2,740,014 ไทย (Thai) 2,588,267 2,712,317 ตํางชาติ (Foreigners) 2,712,317 2,766,377 26,809 27,697 27,967 27,626 นักทอํ งเทีย่ ว (Tourist) 488,119 520,621 516,123 520,621 ไทย (Thai) 480,527 512,936 508,623 512,936 7,592 7,685 7,500 7,385 ตํางชาติ (Foreigners) 2,219,663 2,277,880 2,219,663 2,126,957 2,199,381 2,257,754 2,199,381 นักทศั นาจร (Excursionist) 2,107,740 20,282 20,126 20,282 ไทย (Thai) 19,217 2.21 2.06 2.21 ตํางชาติ (Foreigners) 2.21 2.07 2.21 2.05 2.01 2.05 ระยะเวลาวันพักเฉล่ีย Average Length of Stay 2.38 (Day) 2.38 1,108.660 3,548.600 1,108.66 ไทย (Thai) 2.13 1,107.040 3,556.040 1,107.04 1,257.360 3,030.220 1,381.39 ตาํ งชาติ (Foreigners) 1,086.68 1,085.18 1,561.540 1,601.750 1,653.15 Average Expenditure (Baht/Person/Day) 1,224.68 1,560.850 1,600.670 1,662.21 ผู๎เยยี่ มเยือน (Visitor) 1,611.020 1,676.600 1,779.06 ไทย (Thai) 874.150 918.910 962.33 ตํางชาติ (Foreigners) 873.150 909.880 961.20 982.660 9.040 1,091.24 นักทํองเท่ยี ว (Tourist) 1,525.85 ไทย (Thai) 1,525.79 3,735.06 ตํางชาติ (Foreigners) 1,530.62 3,689.75 นกั ทศั นาจร (Excursionist) 847.20 45.31 ไทย (Thai) 846.12 ตํางชาติ (Foreigners) 966.85 1,522 47.60 รายไดจ๎ ากการทํองเทยี่ ว (Revenue (Million Baht) 431,794 ผ๎ูเย่ยี มเยอื น (Visitor) 3,571.69 424,782 3,781.62 3,984.33 7,012 3,735.93 3,936.73 ไทย (Thai) 3,528.32 45.69 47.60 ตาํ งชาติ (Foreigners) 43.37 1,497 1,497 ACCOMMODATION EATABLISHMENTS 48.74 48.74 432,612 432,612 ห๎องพกั (Rooms) 1,522 425,691 425,691 อตั ราการพักเฉลี่ย (Occupancy Rate (%) 46.64 6,921 6,921 Number of Guest Arrivals 379,004 Thai 373,279 Foreigners 5,725 ท่มี า : สถิตนิ กั ทํองเท่ยี ว ปี 2555-2558 กรมการทํองเทย่ี ว ~ 88 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ในปี 2558 พบวํามีจานวนผู๎เย่ียมเยือน(Visitor) ทั้งชาวไทยและชาวตํางชาติ 2,740,014 คน และมีจานวนนักทอํ งเท่ยี ว 520,621 คน และนักทัศนาจร 2,219,663 คน เพิ่มข้ึนจากปี 2557 ซึ่งมี ผ๎ูเยี่ยมเยือน(Visitor) ท้ังชาวไทยและชาวตํางชาติ 2,794,003 คน และมีจานวนนักทํองเท่ียว 516,123 คน และนกั ทัศนาจร 2,219,663 คน ซง่ึ ผ๎ูเยีย่ มเยือนจังหวดั ฉะเชิงเทราสวํ นใหญํเปน็ นกั ทํองเทยี่ วชาวไทย คําเฉล่ียการพักแรมของผ๎ูเยี่ยมเยือน ประจาปี 2558 คือ 2.21 วัน เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ซึ่งมีวัน พกั แรมเฉล่ีย 2.06 วนั และมีคําใช๎จํายเฉลี่ยตํอวัน ในปี 2558 คือ 3,984.3 บาท เพ่ิมข้ึนจากปี 2557 จานวน 202.7 บาท จากจานวนผเู๎ ยีย่ มเยือน,ระยะเวลาการพักอาศยั และคําใชจ๎ าํ ยตํอวันท่ีเพิ่มมากข้ึนทาให๎รายได๎จาก การทํองเที่ยวในปี 2558 เพ่มิ ขนึ้ เป็น 3,984.3 ล๎านบาท เพิม่ ขึ้นจากปี ๒๕๕7 จานวน 202.7 ลา๎ นบาท 2.2.5 ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การปา่ ไม้ จังหวดั ฉะเชิงเทรามีพ้ืนที่ท้ังส้ิน ๓,๒๒๘,๖๐๓.๔๙ไรํ และเปน็ อาณาเขตปาุ ทงั้ ส้นิ ๕๓๖,๑๘๑.๙๗ ไรํ คดิ เป็นรอ๎ ยละ ๑๖.๖๑ของพื้นที่จังหวัด ซ่ึงจาแนกเปน็ พืน้ ทปี่ ุาบก๕๒๘,๑๖๐.๑๐ ไรํ คดิ เปน็ รอ๎ ยละ ๑๖.๓๖ ปุาชายเลน ๘,๐๒๑ไรํ คดิ เป็นร๎อยละ ๐.๒๕อาเภอที่มีพ้ืนทปี่ าุ มากทสี่ ุด ไดแ๎ กํ อาเภอทาํ ตะเกยี บ จานวน ๔๐๙,๕๐๗.๔๐ไรํ รองลงมาได๎แกํ อาเภอสนามชยั เขต จานวน ๑๐๘,๕๘๐.๕๗ไรํ สาหรบั พ้นื ที่ ปุาชายเลนจะมี อยํใู นพื้นท่ี ๓อาเภอ ไดแ๎ กํอาเภอบางปะกง อาเภอบา๎ นโพธ์ิ และอาเภอเมอื ง พน้ื ทปี่ ุาไม๎สาคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพนื้ ทปี่ ุาสงวนแหํงชาติและปาุ รอยตอํ ๕จังหวัด มี ปาุ สงวนแหํงชาติ ๑แหํงคอื ปุาแควระบม - สียดั ประกาศ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒มพี ้ืนที่ ๑,๗๕๓,๑๒๕ไรํ ตอํ มามี การนาพ้ืนทีไ่ ปปฏิรูปท่ดี ินเปน็ สปก.และบางสวํ นนาไปประกาศเปน็ เขตรักษาพันธ๑ุสัตวป๑ าุ เขาอํางฤๅไน ป๓จจบุ นั เหลือพ้นื ที่ซ่ึงระบุวาํ เปน็ พ้ืนท่ีปุาสงวนแหํงชาตติ ามกฎหมาย จานวน ๘๕๔,๖๑๒.๙๐ไรํ แตํจากการแปล ภาพถํายดาวเทียม คาดวําพืน้ ทีป่ ุาสงวนแหงํ ชาติปาุ แควระบม - สยี ดั มสี ภาพปาุ ไมป๎ กคลุมจะเหลืออยํไู มเํ กิน ๒๐๐,๐๐๐ไรํเนอ่ื งจาก ถูกบุกรุกจับจองเปน็ พนื้ ที่ทาการเกษตรไปเปน็ จานวนมาก มสี วนรกุ ขชาติ คือสวนรุกข ชาตสิ มเดจ็ พระป่ินเกล๎า (ศูนย๑ศึกษาการพฒั นาเขาหนิ ซ๎อน)มเี ขตรักษาพนั ธ๑สัตวป๑ าุ ๑แหงํ คือ เขตอนรุ ักษ๑สัตว๑ ปาุ เขาอํางฤาไนมีความหลากหลายทางชีวภาพคํอนข๎างสูง พบวาํ มสี ัตวเ๑ ลีย้ งลกู ด๎วยนมไมํน๎อยกวาํ ๑๔๔ชนิด นกไมนํ ๎อยกวํา ๔๐๙ชนิด สัตว๑เลื้อยคลานไมํน๎อยกวาํ ๑๒๑ชนดิ สัตว๑สะเทินนา้ สะเทนิ บกไมํนอ๎ ยกวํา ๔๓ชนิด ปลาน้าจืดไมํน๎อยกวํา ๙๔ชนดิ และผีเสือ้ ไมํน๎อยกวํา ๙๒ชนดิ จานวนพืน้ ท่ีปา่ ไม้แบ่งตามประเภท ยอ้ นหลัง ๑๐ปี (ตร.กม) ปี ป่าสงวน ปา่ อนรุ กั ษ์ ป่าชายเลน ๒๕๔๓ ๑,๙๙๘.๓๔ ๖๓๐.๙๖ ๑๔.๗ ๒๕๔๔ ๑,๓๖๗.๓๘ ๖๓๐.๙๖ ๑๔.๗ ๒๕๔๕ ๑,๓๖๗.๓๘ ๖๓๐.๙๖ ๑๔.๗ ๒๕๔๖ ๑,๓๖๗.๓๘ ๖๓๐.๙๖ ๑๔.๗ ๒๕๔๗ ๑,๓๖๗.๓๘ ๖๓๐.๙๖ ๑๒.๘๕ ๒๕๔๘ ๑,๓๖๗.๓๘ ๖๓๐.๙๖ ๑๒.๗๓ ๒๕๔๙ ๑,๓๖๗.๓๘ ๖๓๐.๙๖ ๑๒.๗๓ ๒๕๕๐ ๑,๒๘๕.๖๔ ๖๓๐.๙๖ ๑๒.๗๓ ๒๕๕๑ ๑,๒๘๕.๖๔ ๖๓๐.๙๖ ๑๒.๗๓ ๒๕๕๒ ๑,๒๘๕.๖๔ ๖๓๐.๙๖ ๑๒.๗๓ ~ 89 ~

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) แหล่งน้าธรรมชาติและแหลง่ นา้ ชลประทาน จังหวัดฉะเชิงเทรามีแหลํงน้าธรรมชาติที่สาคัญ คือ แมํน้าบางปะกงและแมํน้าสาขา ห๎วย ลา ธาร คลอง รวมทั้งสิ้น ๗๖๒ สาย ในจานวนนี้มีน้าให๎ใช๎ได๎ในฤดูแล๎ง จานวน ๗๔๕ สาย มีหนอง บึง อีกจานวน ๑๖๗ แหํง ใชง๎ านได๎ในฤดูแล๎ง ๑๖๖ แหํง มีน้าพุ น้าซับ ๙ แหํง มีน้าในฤดูแล๎ง ท้ัง ๙ แหํง และอ่ืนๆ อีก ๑๗๙ แหํง ใชง๎ านได๎ในฤดแู ลง๎ ๑๗๘ แหงํ สาหรับแหลํงน้าชลประทานท่ีมีอยํูภายในจังหวัดประกอบด๎วย แหลํงน้าตามโครงการ ชลประทานขนาดใหญํ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ และโครงการ ชลประทานขนาดเล็กที่สร๎างแล๎วเสร็จถึงสิ้นปีงบประมาณ ๒๕๕๓ รวม ๑๕๔ โครงการ และสามารถเก็บกักน้า ได๎ ๔๘๔.๖๑ ล๎านลูกบาศก๑เมตร และมีพื้นที่ที่ได๎รับประโยชน๑จากโครงการ ๑,๑๔๒,๘๒๖ ไรํ หรือร๎อยละ ๓๕.๐๒ % ของพืน้ ทถี่ ือครองทางการเกษตรของจงั หวัด แหลงํ น้าจากการพัฒนาท่ีมีอยูํภายในจังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด๎วย แหลํงน้าตามโครงการ ชลประทานขนาดใหญํ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริและโครงการ ชลประทานขนาดเล็กทีส่ รา๎ งเสร็จแล๎ว คณุ ภาพแมน่ ้า ในปี ๒๕๕๓ สานักงานส่ิงแวดล๎อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี) ได๎ทาการติดตาม ตรวจสอบและ วเิ คราะห๑คุณภาพน้า ในแหลํงนา้ ผิวดิน เขตพืน้ ทภี่ าคตะวนั ออก จานวน ๒ ลํุมน้า ได๎แกํลุํมน้าบางปะกง (แมํน้า บางปะกงและคลองสาขา ได๎แกํคลองนครเนื่องเขต คลองทําไขํ คลองพานทอง และคลองทําลาด) จานวน ๔ คร้ังตํอปี และลํุมน้าภาคตะวันออก (แมนํ ้าระยอง แมํน้าประแสร๑ แมํน้าจันทบุรี แมํน้าพังราด แมํน้าตราด และ แมนํ ้าเวฬุ) จานวน ๔ ครง้ั ตํอปี สรปุ ผลไดด๎ งั น้ี ๑.๑ แมํน้าบางปะกง จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าในแมํน้าบางปะกง จานวน ๑๒ สถานี ตั้งแตํบริเวณปากแมํน้าบางปะกง อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงบริเวณสะพานบางขนาก อาเภอบางนา้ เปรีย้ ว จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา คณุ ภาพน้าผิวดินอยใูํ นเกณฑ๑ดี คิดเป็นร๎อยละ ๔.๑๗ คุณภาพน้าผิวดิน อยํูในเกณฑ๑พอใช๎ คิดเปน็ ร๎อยละ ๔๓.๗๕ และคณุ ภาพนา้ ผวิ ดนิ อยํูในเกณฑ๑เสือ่ มโทรม คดิ เปน็ ร๎อยละ ๕๒.๐๘ ๑.๒ คลองนครเน่ืองเขต จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าในคลองนครเน่ืองเขต จานวน ๒ สถานี ได๎แกํ บริเวณชุมชนสวนมะมํวง หมูํท่ี ๘ และบริเวณศาลาทําเทียบเรือหมูํท่ี ๙ ตาบลคลองนครเน่ือง เขต อาเภอเมือง จงั หวัดฉะเชิงเทรา คุณภาพน้าผิวดินอยํูในเกณฑ๑พอใช๎ คิดเป็นร๎อยละ ๑๒.๕ และคุณภาพน้า ผิวดนิ อยูใํ นเกณฑ๑เสอ่ื มโทรม คดิ เป็นรอ๎ ยละ ๓๗.๕ คณุ ภาพนา้ ผิวดินอยํใู นเกณฑเ๑ ส่ือมโทรมมาก คิดเป็นร๎อยละ ๕๐.๐ ๑.๓ คลองทําไขํ จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าในคลองทําไขํ จานวน ๒ สถานีได๎แกํ บริเวณชุมชนประตูน้าทําไขํ ถนนริมคลองทําไขํ และบริเวณสะพานวรรณย่ิง ตรงข๎ามโรงเรียนมิตรสัมพันธ๑ ถนนศุภกจิ ตาบลหนา๎ เมอื ง อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา คุณภาพน้าผิวดินอยูํในเกณฑ๑พอใช๎ คิดเป็นร๎อยละ ๒๕.๐ และคุณภาพน้าผิวดินอยํูในเกณฑ๑เส่ือมโทรม คิดเป็นร๎อยละ ๓๗.๕ คุณภาพน้าผิวดินอยูํในเกณฑ๑เส่ือม โทรมมาก คดิ เปน็ รอ๎ ยละ ๓๗.๕ ๑.๔ คลองพานทอง จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าในคลองพานทอง จานวน ๒ สถานี ได๎แกํบริเวณจุดเช่ือมคลองพานทองและคลองสัตพงษ๑ และบริเวณประตูระบายน้าพานทอง หมูํที่ ๔ ตาบลทํา ข๎าม อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา คุณภาพน้าผิวดินอยํูในเกณฑ๑เสื่อมโทรม คิดเป็นร๎อยละ ๒๕.๐ คณุ ภาพนา้ ผวิ ดนิ อยใํู นเกณฑเ๑ สื่อมโทรมมาก คิดเป็นร๎อยละ ๗๕.๐ ~ 90 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ๑.๕ คลองทาํ ลาด จากการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพนา้ ในคลองทําลาดจานวน ๒ สถานีได๎แกํ บริเวณท่ีวําการอาเภอพนมสารคาม และบริเวณวัดกกสับใน หมํูท่ี ๔ ตาบลปากน้า อาเภอบางคล๎า จังหวัด ฉะเชิงเทรา คุณภาพน้าผิวดินอยูํในเกณฑ๑พอใช๎ คิดเป็นร๎อยละ ๓๗.๕ และคุณภาพน้าผิวดินอยํูในเกณฑ๑เสื่อม โทรม คิดเปน็ รอ๎ ยละ ๓๗.๕ คณุ ภาพน้าผิวดนิ อยใํู นเกณฑ๑เสอ่ื มโทรมมาก คิดเป็นร๎อยละ ๒๕.๐ นอกจากน้ยี งั พบป๓ญหาสาคัญของแมํนา้ บางปะกงคือ ป๓ญหาการขาดแคลนน้า และป๓ญหาการ รกุ ล้าของนา้ เคม็ ในชํวงฤดูแล๎ง โดยเฉพาะในชํวงเดือนกุมภาพันธ๑ถึงมิถุนายนของทุกปี พบวําในพ้ืนท่ีลํุมน้าบาง ปะกงมีความต๎องการใช๎น้าเพื่อการอุปโภค บริโภค อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดยเฉพาะอยํางยิ่งการใช๎น้า เพอ่ื การเกษตรสงู สดุ ทาให๎เกิดปญ๓ หาขาดแคลนนา้ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ มทางทะเล จังหวัดฉะเชิงเทรามีความยาวของชายฝ่๓งทะเลประมาณ ๑๕ กิโลเมตร เป็นที่ตั้งของแหลํง อุตสาหกรรม ชุมชน เกษตรกรรม การเพาะเลี้ยงสัตว๑น้าและแหลํงทรัพยากรตลอดจนเป็นสถานท่ีทํองเท่ียวที่ สาคัญ ตลอดระยะเวลาทผ่ี าํ นมามีการพัฒนาและการขยายตัวของกิจกรรมตํางๆ อยํางรวดเร็ว การเพ่ิมขึ้นของ แหลํงชุมชน ท่ีพักอาศัย การขยายตัวของแหลํงอุตสาหกรรมหรือการขยายพื้นท่ี โดยเฉพาะอยํางย่ิงการ เพาะเลยี้ งสตั ว๑น้าชายฝ่๓ง การเลี้ยงก๎ุงกุลาดา ลว๎ นแล๎วแตํสํงผลกระทบตํอคุณภาพนา้ ทะเลชายฝ่ง๓ กรมควบคุมมลพิษได๎ติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล๎อมทางทะเล ได๎แกํ คุณภาพน้าทะเล คุณภาพตะกอนดนิ และคุณภาพสัตว๑นา้ ในพน้ื ทช่ี ายฝง่๓ ทะเลทวั่ ประเทศ รวมท้งั จังหวัดฉะเชิงเทราอยํางตํอเนื่อง เป็นประจา เพ่ือเป็นการประเมินสถานการณ๑สิ่งแวดล๎อมทางทะเล และเป็นข๎อมูลในการปูองกันและแก๎ไข ปญ๓ หาคุณภาพน้าทะเลชายฝง่๓ เสือ่ มโทรม โดยผลจากการตรวจสอบคณุ ภาพน้าทะเลชายฝ๓่งสํวนใหญํเป็นไปตาม คาํ มาตรฐานฯ โดยคาํ ปรมิ าณคลอรีนคงเหลอื ฟนี อล ไซยาไนด๑ พซี บี ี สารเคมีทใี่ ช๎ปูองกันกาจัดศัตรูพืชและสัตว๑ ชนิดท่ีมีคลอรีน ฟลูออไรด๑และกัมมันตภาพรังสี สารกลํุมโลหะหนัก ได๎แกํ โครเมียม ปรอทรวม ทองแดง และ สารหนู มีคําไมํเกินมาตรฐานคุณภาพน้าทะเลชายฝ๓่งโดยตรวจพบในปริมาณท่ีต่า สํวนความเป็นกรด-ดําง แบคทีเรียกลุมํ ลิฟอร๑มทงั้ หมด และโลหะหนกั บางตัวมีคาํ ไมํเนไปตามมาตรฐานทีก่ าหนด บริเวณปากแมํน้าบางปะกง มีความโปรํงใสคํอนข๎างน๎อยมาก ในบางฤดูกาลที่มีน้าหลาก บริเวณที่มีความลึกประมาณ ๑ เมตร จะมีความโปรํงใสเทํากับ ๐.๑ เมตรเทําน้ัน สํวนความเค็มจะมีการ เปลย่ี นแปลงในชํวงทคี่ ํอนขา๎ งกวา๎ งมากตัง้ แตํ ๑-๓๔ สํวนในพันสวํ น เน่ืองจากเป็นบริเวณที่ได๎รับอิทธิพลจากน้า จืดในฤดูฝน ปริมาณออกซิเจนละลายโดยท่ัวไปอยูํในเกณฑ๑มาตรฐานนอกจากในฤดูแล๎งที่ปริมาณออกซิเจน ละลายต่ากวําเกณฑ๑มาตรฐาน ปริมาณโคลิอร๑มแบคทีเรียท้ังหมด มีคําสูงกวําเกณฑ๑มาตรฐานคํอนข๎างมาก มี ปริมาณโลหะหนกั (เหลก็ แคดเมียม แมงกานสี ) สูงกวําเกณฑ๑มาตรฐานคอํ นขา๎ งมาก บริเวณทิศตะวันตกของปากแมํน้าบางปะกง มีป๓ญหาปริมาณโคลิอร๑มแบคทีเรียทั้งหมด มีคํา สูงกวําเกณฑ๑มาตรฐานคํอนข๎างมาก และปริมาณโลหะหนัก (เหล็ก แมงกานีส) สูงกวําเกณฑ๑มาตรฐาน คํอนขา๎ งมาก บริเวณหํางจากปากแมํน้าบางปะกง มีปริมาณออกซิเจนละลายโดยท่ัวไปต่ากวําเกณฑ๑ มาตรฐานคํอนข๎างมาก ไซยาไนด๑มีคําเกินมาตรฐานเล็กน๎อย สํวนคุณภาพน้าอ่ืนๆในบริเวณน้ีไมํมีคําเกินคํา มาตรฐาน ~ 91 ~

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) มลพิษทางน้า แหลงํ กาเนิดมลพิษทางน้าของจังหวัดฉะเชงิ เทรา แบงํ ออกเปน็ ๓แหงํ ท่มี าคือ น้าเสยี ชมุ ชน ภาคการเกษตร และภาคอุตสาหกรรม นา้ เสียชมุ ชน นา้ เสียสวํ นใหญํของจังหวัดฉะเชิงเทรา เกิดจากที่อยํูอาศัย ป๓จจุบันจังหวัดฉะเชิงเทรามีระบบ บาบัดน้าเสยี ทง้ั หมด ๒ แหงํ ได๎แกํ เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา และเทศบาลตาบลบางคล๎า ระบบบาบัดน้าเสียท้ัง ๒ แหํง มีความสามารถในการรองรับนา้ เสียได๎ท้ังสนิ้ ๒๙,๐๐๐ ลบ.ม./วัน มีปริมาณน้าเสียที่เข๎าระบบประมาณ ๑๔,๑๖๐ ลบ.ม./วนั ซง่ึ ยังไมคํ รอบคลมุ ท้งั จังหวัด และยงั คงมีน้าเสียบางสํวนถูกระบายลงสูํทะเล และแหลํงน้า ธรรมชาติโดยตรง ตารางแสดงรายละเอียดของระบบบาบดั น้าเสยี ของจงั หวัดฉะเชงิ เทรา สถานท่บี าบัดนา้ เสีย ครอบคลุมพนื้ ที่ ระบบบาบัดน้าเสีย ความสามารถในการ ปรมิ าณน้าเสยี ท่ีเข้า บริการ (ตร.กม.) รองรับนา้ เสีย (ลบ.ม./ ระบบ (ลบ.ม./วัน) วัน) เทศบาลเมือง ๑๑.๕๖ คลองวนเวียน ๒๔,๐๐๐ ๑๒,๙๖๐ ฉะเชงิ เทรา (Oxidation ditch) เทศบาลตาบล ๕.๒๒ บอํ ผึ้ง (Stabilization ๕,๐๐๐ ๑,๒๐๐ บางคล๎า Pond) รวม ๑๖.๗๘ ๒๙,๐๐๐ ๑๔,๑๖๐ ทม่ี า : สานักงานส่งิ แวดลอ๎ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๕๓ นา้ เสยี จากภาคการเกษตรแบํงออกเป็น ๓ประเภทคือ การกสิกรรม การประมง และการปศุ สัตว๑ การกสิกรรม เกิดจากการใช๎ปุ๋ยและยาฆําแมลง และการทานาของเกษตรกร โดยเฉพาะพ้ืนท่ี นาท่ีติดกับแมํน้า ลาคลองกระจายอยํูใน ๗ อาเภอ คือ อาเภอบางปะกง อาเภอบ๎านโพธิ์ อาเภอเมือง ฉะเชิงเทรา อาเภอบางนา้ เปร้ียว อาเภอบางคล๎า อาเภอราชสาส๑น และอาเภอคลองเขื่อน หลังเก็บเกี่ยวข๎าวจะ มีตอซังข๎าวในนา ขณะเกิดน้าทํวมหรือสูบน้าเข๎ามาจะมีน้าทํวมระยะหน่ึง ซึ่งข๎าวและหญ๎าเกิดการเนําเสียเม่ือ น้าเสยี จงึ สบู นา้ ทงิ้ ลงแมํนา้ ลาคลอง การประมง จังหวัดฉะเชิงเทรามีการเพาะเล้ียงก๎ุงกุลาดาเป็นจานวนมาก จากการสารวจ ข๎อมูล ผ๎ูเล้ียงสํวนใหญํเป็นรายยํอย มีพื้นท่ีเล้ียงต่ากวํา ๑๐ ไรํ การเล้ียงสํวนใหญํยังไมํอยํูในหลักเกณฑ๑ทาง วชิ าการของกรมประมง เชํน มีการเล้ยี งกง๎ุ ในระบบเปิด สํวนใหญํไมํมีบํอพักน้าและบํอกักเก็บเลน มีการระบาย น้าจากบํอเลี้ยงสํูแหลํงน้าสาธารณโดยไมํมีการบาบัด และการกาจัดเลนก๎นบํอไมํถูกวิธีทาให๎เกิดการเนําเสียใน ลาน้า การปศุสัตว๑ จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นแหลํงเล้ียงสุกรท่ีสาคัญจังหวัดหนึ่ง มีจานวนสุกร ๙๐๐๐,๐๐๐ – ๑,๐๐๐,๐๐๐ ตัว พ้ืนที่สํวนใหญํอยํูในอาเภอเมือง อาเภอบางคล๎าและอาเภอพนมสารคาม ปรมิ าณของเสียจากฟาร๑มร๎อยละ ๕ของน้าหนักสุกรตํอวัน มูลสุกรประมาณร๎อยละ ๗๐เก็บขาย และประมาณ ร๎อยละ ๗๕ของฟาร๑มสุกรมีบํอเก็บกักของเสียแตํมักปลํอยของเสียไหลลงสํูแหลํงน้า และอยํูระหวํางการจัดทา ระบบบาบัดน้าเสียรายฟาร๑ม จัดวําเป็นแหลํงกาเนิดมลพิษทางน้าท่ีสาคัญ โดยเฉพาะบริเวณใกล๎เขื่อนทดน้า บางปะกง อีกท้งั เกดิ ปญ๓ หากลิ่นเหมน็ รบกวนชุมชนบริเวณใกล๎เคียง ~ 92 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) น้าเสียจากโรงงานอตุ สาหกรรม จังหวัดฉะเชิงเทรามีจานวนโรงงานจานวนมากซ่ึงต้ังกระจายอยูํท้ังในเขตนิคมอุตสาหกรรม และนอกเขตนิคมอุตสาหกรรม มีโรงงานบางสํวนต้ังอยูํใกล๎แหลํงน้า เพื่อความสะดวกในการนาน้ามาใช๎ในการ ผลิต การขนสํง รวมท้ังการระบายน้าท้ิงลงสูํแหลํงน้าสาธารณะ เม่ือมีการจัดการที่ไมํดีพอจะเป็นป๓ญหาด๎าน ส่ิงแวดล๎อมตามมา เชํน การปลอํ ยนา้ เสียลงแหลงํ น้าโดยไมมํ กี ารบาบดั มกี ารรวั่ ซึม การปนเป้ือนของส่ิงสกปรก ตํางๆ ซ่ึงหนํวยงานท่ีรับผิดชอบในการอนุญาตจะต๎องมีการตรวจสอบและควบคุมให๎มีการปฏิบัติตามกฎหมาย อยํางเครงํ ครดั มลพิษด้านขยะมูลฝอย จากการรวบรวมข๎อมูลปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในพ้ืนที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ระหวํางปี ๒๕๕๐-๒๕๕๓ มีปริมาณ ๕๘๓ ตนั /วนั เม่อื เปรียบเทียบกับปริมาณขยะเมื่อปี ๒๕๔๙ มีปริมาณ ๕๐๘ ตัน/วัน พบวาํ ขยะมีแนวโนม๎ เพิม่ สงู ข้ึนร๎อยละ ๑๕ การกาจัดขยะมูลฝอยขององค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินสํวนใหญํยังไมํมีประสิทธิภาพเพียงพอ เน่ืองจากเป็นระบบกาจัดท่ีไมํถูกหลักสุขาภิบาล มีเพียงเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราที่ให๎เอกชนสัมปทานระบบ กาจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร ดาเนินการในระยะเวลา ๑๕ ปี นอกจากน้ีจังหวัดฉะเชิงเทรายังมีแนวทางใน การกํอสร๎างระบบกาจัดขยะมูลฝอยรวมแบบครบวงจร ซ่ึงในขณะนี้อยํูระหวํางการขอรับการสนับสนุน งบประมาณภายใต๎แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล๎อมในระดับจังหวัด โดยองค๑การบริหารสํวน จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นหนํวยหลักในการดาเนินการ โดยแบํงออกเป็น ๒ โซน คือ ศูนย๑กาจัดขยะเขาหินซ๎อน และศนู ยก๑ าจดั ขยะหนองไมแ๎ กนํ มลพิษทางอากาศ ป๓จจุบันจังหวัดฉะเชิงเทรามีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคุม มลพษิ ๑ แหงํ อยบํู ริเวณตาบลวังเย็น อาเภอแปลงยาว ซง่ึ มีการตรวจวัดมาอยํางตํอเนื่อง ต้ังแตํเดือน มกราคม ๒๕๔๘ เป็นต๎นมา พบวําคุณภาพอากาศยังอยูํในเกณฑ๑มาตรฐาน แตํยังคงพบป๓ญหาก๏าซโอโซนและฝุนขนาด เลก็ กวาํ ๑๐ ไมครอน มีคําเกินมาตรฐานบางครั้ง แหลงํ กาเนิดมลพิษจาแนกไดเ๎ ปน็ ๓ กลมุํ ดงั นี้ ๑. แหลํงกาเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม โดยโรงงานอุตสาหกรรมท่ีเคยกํอให๎เกิดป๓ญหา มลพษิ ทางทางอากาศนนั้ เปน็ โรงสขี ๎าวเปน็ สํวนใหญํ เคยพบวํามีป๓ญหาในท๎องที่อาเภอบางน้าเปรี้ยวและอาเภอ เมือง และโรงงานผลิตตะก่ัวจากแบตเตอร่ีที่ผํานการใช๎งานมาแลว๎ ในทอ๎ งท่ีอาเภอแปลงยาว ๒. แหลํงกาเนิดประเภทยานพาหนะ เน่ืองจากจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นเส๎นทางเชื่อมโยงการ เดนิ ทางไปสํจู งั หวดั อืน่ ๆ บริเวณทีม่ กี ารจราจรหนาแนํนยอํ มจะมีแนวโนม๎ ที่จะกอํ ใหเ๎ กิดป๓ญหามลพิษทางอากาศ มากขึน้ ตามไปด๎วย โดยเฉพาะในเขตอาเภอเมอื งฉะเชงิ เทรา ๓. แหลํงกาเนิดประเภทอ่ืนๆ ได๎แกํ การเผาขยะของชาวบ๎าน การท้ิงวัสดุเหลือใช๎จาก กิจกรรมตํางๆ เชนํ ฟางข๎าว เป็นตน๎ มลพิษที่เกิดขน้ึ สวํ นใหญจํ ะเป็นกล่นิ ควัน และก๏าซคาร๑บอนมอนอกไซด๑ ซึ่ง นอกจากจะกํอให๎เกิดความราคาญให๎แกํประชาชนท่ีอยํูใกล๎เคียงแล๎ว ยังสํงผลกระทบด๎านอ่ืนๆ ได๎แกํ การเพ่ิม โอกาสของการเกดิ อุบตั เิ หตุบนท๎องถนน โดยเฉพาะอยาํ งย่ิงการเผาฟางข๎าวในท๎องนาใกล๎กับเส๎นทางการจราจร ทาให๎เกิดควันไฟบดบังการมองเห็นของผู๎ขับข่ีได๎ นอกจากน้ี ป๓ญหามลพิษประเภทกล่ินเหม็นโดยแหลํงกาเนิด มลพษิ ประเภทนี้ ไดแ๎ กํ ขยะมลู ฝอย น้าเนาํ เสีย การประกอบกิจการทก่ี อํ ให๎เกิดกล่นิ เหม็นรบกวน ~ 93 ~

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) มลพิษทางเสียง ในพืน้ ทจี่ ังหวัดฉะเชิงเทรา ไมํมีสถานีตรวจวดั ระดบั เสียง ในชํวงท่ีผํานมามีเรอื่ งร๎องเรยี นใน ด๎านมลพิษทางเสยี งอยูํบ๎าง โดยมลพิษทางเสยี งในจังหวัดฉะเชิงเทรามีแหลํงกาเนิดจาก ๒ กลุํม ๑) โรงงานอตุ สาหกรรมและสถานประกอบการ ในจังหวัดฉะเชิงเทราพบวํามีป๓ญหาร๎องเรียน เรอื่ งเสยี งรบกวนจากโรงไฟฟาู ชีวมวล โรงงานบดแก๎ว โรงงานซํอมและดดั แปลงสภาพรถยนต๑ และสถานบันเทิง ในเขตอาเภอเมอื ง ๒) ยานพาหนะ สาหรับยานพาหนะท่ีมักกํอให๎เกิดเสียงรบกวนในพื้นท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา ได๎แกํ รถจกั รยานยนตด๑ ดั แปลง และรถยนตท๑ ่ตี ิดเครือ่ งเสยี งที่มกี าลังขยายสูง รบกวนผอ๎ู ืน่ ขณะวง่ิ ผาํ นชุมชน ส่งิ แวดลอ้ มเมือง การพฒั นาพน้ื ทชี่ ายฝ่๓งทะเลตะวันออก ทาใหเ๎ มืองและชมุ ชนหลายแหํงของจังหวัดฉะเชิงเทรา เติบโตคํอนข๎างสูง เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจแตํในขณะเดียวกันก็นามาซ่ึงป๓ญหาบางประการ เชํน เมือง เติบโตแบบไร๎ทิศทาง ขาดการวางผังเมืองท่ีดี ขาดแคลนที่พักอาศัยท่ีเหมาะสม รวมทั้งการให๎บริการ สาธารณูปโภคไมเํ พยี งพอ กอํ ให๎เกดิ ปญ๓ หาขยะ นา้ เสีย และทศั นยี ภาพไมํสวยงาม ตามมาอีกทั้งสถานที่พักผํอน หยอํ นใจ หรือสวนสาธารณะท่ีมีคณุ ภาพกย็ ังมีจานวนไมเํ พียงพอ กากสารพิษและสารอนั ตราย ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา พบวํามีป๓ญหาการลักลอบท้ิงสารเคมีซึ่งคาดวําจะเป็นสารเคมีท่ี ผํานกระบวนการทางอุตสาหกรรมมาแล๎ว โดยยังไมํมีการบาบัดที่ถูกต๎องตามหลักวิชาการ สํวนใหญํจะเป็น ของเหลวสีดามีกลิ่นเหม็น ใสํรถบรรทุกมาท้ิงไว๎ในบํอลูกรังเกําในพื้นที่อาเภอพนมสารคาม และอาเภอแปลง ยาว สถิตเิ รื่องและปัญหารอ้ งทุกข์ทางสิ่งแวดล้อมของจังหวดั ฉะเชิงเทรา ปี จานวนเรือ่ ง ฉะเชงิ เทรา ทว่ั ประเทศ จานวนปญั หาทีร่ ้องทุกข์ จานวนเรือ่ ง จานวนปญั หาทร่ี ้องทกุ ข์ ๒๕๔๙ ๘ ๒๓ ๗๕๕ ๑๒๘๔ ๕๕๒ ๙๓๕ ๒๕๕๐ ๔ ๕ ๕๒๘ ๙๕๓ ๓๙๔ ๖๖๔ ๒๕๕๑ ๗ ๑๔ ๔๒๓ ๗๐๕ ๔๕๘ ๗๘๘ ๒๕๕๒ ๑๐ ๑๙ ๒๕๕๓ ๗ ๑๒ ๒๕๕๔ ๘ ๑๒ 2.2.6 ดา้ นความมั่นคงและสังคม สรุปป๓ญหาสังคมเชิงประเด็นและป๓ญหาสังคมเชิงกลุํมเปูาหมายท่ีต๎องได๎รับการพัฒนาของ จังหวัดฉะเชิงเทรา ตามแบบรายงานสถานการณ๑ทางสังคมของท๎องถิ่น ปี ๒๕๕๕ (อปท.๑) โดยได๎รับแบบ สารวจจากองค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น จ๎านวน ๑๐๐ แหํง จากทั้งหมด ๑๐๘ แหํง คิดเป็นร๎อยละ ๙๒.๕๙ ประชากร รวม ๖๑๖,๗๙๐ คน จ๎านวนครวั เรือนในทอ๎ งถิ่น ๒๓๒,๘๑๔ ครวั เรอื น ๑. สรุปป๓ญหาสงั คมเชงิ ประเด็น จัดลาดับจากมากไปหานอ๎ ย ๖ ลาดบั ดงั น้ี ๑.๑ ป๓ญหาด๎านความไมํปลอดภัยในชีวิตและทรัพย๑สิน คิดเป็นร๎อยละ ๔๖.๙๓ ป๓ญหาที่ พบมากทสี่ ุดคอื ประชาชนทีไ่ ดร๎ ับผลกระทบจากสาธารณภัยในรอบปี ~ 94 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ๑.๒ ป๓ญหาด๎านที่อยํูอาศัยและส่ิงแวดล๎อม คิดเป็นร๎อยละ ๒๒.๘๔ ป๓ญหาท่ีพบมากท่ีสุด คอื ครวั เรอื นทไ่ี มมํ ีกรรมสิทธ์ใิ นทีอ่ ยอํู าศัย ๑.๓ ป๓ญหาด๎านการมีงานทาและรายได๎ คิดเป็นร๎อยละ ๑๔.๙๓ ป๓ญหาท่ีพบมากท่ีสุดคือ ประชาชนทีม่ ีรายได๎นอ๎ ยทม่ี หี น้ีสนิ และมีปญ๓ หาในการสํงใชเ๎ งนิ กยู๎ ืมและ สมควรได๎รับความชวํ ยเหลือ ๑.๔ ป๓ญหาด๎านสุขภาพอนามัย คิดเป็นร๎อยละ ๑๒.๔๔ ป๓ญหาท่ีพบมากท่ีสุดคือ ประชาชนที่ตดิ สรุ าเร้อื รัง ๑.๕ ป๓ญหาด๎านการศึกษา คิดเป็นร๎อยละ ๑.๖๕ ป๓ญหาท่ีพบมากที่สุดคือ เยาวชนที่จบ การศึกษาระดับปริญญาตรี การศึกษาสายอาชพี และไมํมี งานทาในรอบ ๑ ปี ทจี่ บการศกึ ษา ๑.๖ ป๓ญหาด๎านวัฒนธรรมและจริยธรรม คิดเป็นร๎อยละ ๑.๒๑ ป๓ญหาท่ีพบมากที่สุดคือ ร๎านคา๎ ท่ีขายเหลา๎ /บุหร่ี อยํูในบรเิ วณใกลเ๎ คียงสถานศกึ ษาและศาสนสถาน ปัญหาสังคมเชงิ ประเด็น 1.65 1.21 46.93 ความไมป่ ลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สิน 12.44 ทอ่ี ยอู่ าศยั และสง่ิ แวดล้อม 14.93 การมีงานทาและรายได้ สขุ ภาพอนามยั 22.84 การศกึ ษา วฒั นธรรมและจริยธรรม สรุปป๓ญหาสงั คมเชงิ กลํุมเปูาหมายทตี่ อ๎ งได๎รบั การพัฒนา ในภาพรวมจังหวัดฉะเชิงเทรา เรียงจากมาก ไปหาน๎อย ดังน้ี ๒.๑ ปญ๓ หาเด็กและเยาวชน ( อายุ ๐ - ๒๕ ปี ) คดิ เป็นรอ๎ ยละ ๔๐.๖๙ เดก็ และเยาวชน ท่ีมีพฤติกรรมไมเํ หมาะสมและพบเห็นไดใ๎ นทส่ี าธารณะ ๒.๒ ป๓ญหาแรงงาน คดิ เปน็ ร๎อยละ ๒๗.๔๒ แรงงานไทยที่อพยพมาจากตาํ งถิ่น ๒.๓ ป๓ญหาผู๎สูงอายุ (๖๐ ปีขนึ้ ไป ) คิดเปน็ ร๎อยละ ๑๔.๕๗ ผส๎ู ูงอายุทีย่ ากจนและมภี าระ ต๎องเลย้ี งดูบุตรหลาน ๒.๔ ป๓ญหาครอบครวั คิดเป็นร๎อยละ ๙.๒๔ ครอบครวั หยํารา๎ ง (เลิกกนั /ไมํอยํดู ว๎ ยกันฉันท๑ สามีภรรยา) ๒.๕ ปญ๓ หาสตรี ( อายุ ๒๕ ปขี ึน้ ไป - ๖๐ ปี ) คิดเปน็ รอ๎ ยละ ๕.๗๘ สตรหี มา๎ ยทตี่ ๎องเล้ยี ง ดบู ตุ รเพยี งลา๎ พัง ๒.๖ ป๓ญหาคนพิการ คิดเป็นรอ๎ ยละ ๒.๓๑ คนพกิ ารท่ยี งั ไมํได๎รับความชํวยเหลือ ~ 95 ~

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) ปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้ าหมาย 2.3 5.78 9.24 40.69 ปัญหาเดก็ และเยาวชน 14.57 ปัญหาแรงงาน ปัญหาผ้สู งู อายุ 27.42 ปัญหาครอบครัว ปัญหาสตรี ปัญหาคนพกิ าร สถานการณย์ าเสพติด สถานการณ๑ยาเสพติดในพ้ืนท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรานั้น อยํูในระดับปานกลาง ซึ่งเป็นเส๎นทาง ลาเลียงยาเสพติดจากชายแดนด๎านสระแก๎ว อรัญประเทศ พนมสารคามไปสูํกรุงเทพฯ แตํสถานป๓จจุบันมี แนวโน๎มลดลง เน่ืองจากจังหวัดใช๎มาตรการกดดันผู๎ค๎า ผ๎ูเสพ รํวมกับอาเภอและหนํวยทหารพราน แ ตํก็ยังมี การแพรํระบาดของยาบ๎าและยาไอซ๑ ในพ้ืนที่อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา อาเภอบางปะกง อาเภอพนมสารคาม และอาเภอบางน้าเปร้ียว สาหรับการแก๎ไขป๓ญหาผ๎ูเสพ ผ๎ูติดและการบาบัดฟ้ืนฟู 1 อาเภอ 1 คํายบาบัด ปรับเปล่ียนพฤติกรรม มีท้ังส้ิน 11 อาเภอ 11 คําย มีผ๎ูเข๎ารํวมโครงการแล๎ว 1,957 คน ท้ังน้ี จังหวัดมี มาตรการพิเศษกดดันค๎นหาผู๎เสพ และผ๎ูติดในสถานบริการ สถานบันเทิง สถานประกอบการ และสถานศึกษา และไดจ๎ ัดหาอาชีพใหก๎ ับผู๎ผํานการบาบดั ดว๎ ย สถานการณ๑การแพรํระบาดของยาเสพติด เป็นป๓ญหาท่ีต๎องแก๎ไขโดยเรํงดํวน เพ่ือให๎เกิดผล ในทางปฏิบัติมากท่ีสุด ซ่ึงจะสํงผลการลดระดับความรุนแรงของป๓ญหาและขจัดความเดือดร๎อนของประชาชน เนอื่ งจากปญ๓ หายาเสพตดิ เป็นป๓ญหาท่ีมีความสลบั ซับซ๎อน รวมทั้งสถานการณ๑บ๎านเมือง ป๓ญหาเศรษฐกิจ สังคม โดยเฉพาะกลุํมเยาวชนมีความเสี่ยงสูงตํอการเข๎าไปเก่ียวข๎องกับยาเสพติด และการใช๎ยาเสพติด ยังเป็นป๓ญหา สาคญั ท่ที าลายอนาคตของเยาวชน เนื่องจากสภาพแวดล๎อมของสังคมในป๓จจุบัน เยาวชนตกอยูํทํามกลางพ้ืนที่ อบายมุข บวกกับการใช๎ชีวิตอิสระอยํูหํางไกลครอบครัวทาให๎เยาวชนก๎าวเข๎าสํูชีวิตการเท่ียวกลางคืน ด่ืมสุรา สูบบุหร่ี รวมท้ังใช๎สารเสพติดตํางๆ มากขึ้น จากสภาพดังกลําวทาให๎เกิดป๓ญหาตํอเยาวชนมากมายอาทิ การท่ี เด็กวัยรํุนนิยมดื่มเหล๎า ดื่มเบียร๑ สูบบุหรี่ และเที่ยวกลางคืน นอกจากน้ี สถิติอาชญากรรมท่ีผู๎ต๎องหาเป็น เยาวชนอายุตา่ กวาํ 18 ปกี ็มีสงู ขน้ึ ดว๎ ย ~ 96 ~

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) สถิตการจบั กุมยาเสพติด จาแนกตามชนดิ ยาเสพตดิ ปี พ.ศ. 2555 จงั หวัด ขอ้ มลู กญั ชาแหง้ เมทแอมเฟตามนี ยาไอซ์ พชื กระทอ่ ม ฉะเชิงเทรา 37 จานวนคดี 74 2,065 157 39 จานวนผตู๎ ๎องหา 76 2,149 186 49.59 นา้ หนกั (กก.) 0.86 16.31 0.77 ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ ิน สถิติคดอี าญาท่ีน่าสนใจ จาแนกตามประเภทความผิด พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๑ ปี ๒๕๕๒ ปี ๒๕๕๓ ประเภทความผดิ รับแจง๎ จับได๎ รบั แจง๎ จบั ได๎ รับแจ๎ง จับได๎ (ราย) (ราย) (ราย) (ราย) (ราย) (ราย) คดอี กุ ฉกรรจแ๑ ละสะเทอื นขวญั ๘๙ ๕๔ ๕๗ ๓๖ ๕๗ ๔๓ คดปี ระทษุ รา๎ ยตอํ ชีวติ ราํ งกาย ๓๘๖ ๑๗๔ ๔๑๕ ๒๓๘ ๓๕๘ ๒๕๗ และเพศ คดีประทุษร๎ายตํอทรพั ย๑ ๑,๐๕๕ ๔๗๙ ๙๕๓ ๓๗๒ ๑,๐๖๖ ๔๔๙ คดีทน่ี ําสนใจ ๔๖๓ ๙๗ ๕๘๘ ๑๐๐ ๖๖๒ ๑๘๖ คดีที่รัฐเปน็ ผู๎เสยี หาย ๓,๘๓๖ ๕,๔๑๗ ๕,๙๘๔ ๕,๙๘๔ ๔,๒๔๘ ๕,๖๔๕ ดชั นคี วามกา้ วหนา้ ของคน ดัชนีความก๎าวหน๎าของคน (Human Achievement Index - HAI) พัฒนาข้ึนโดยสานักงานโครงการ พัฒนาแหํงสหประชาชาติ (United Nations Development Programme-UNDP) ประเทศไทย ได๎เสนอ ข๎อมูลด๎านการประเมินสถานภาพการพัฒนาคนเปรียบเทียบระหวํางจังหวัดตํางๆ ของไทย ประกอบด๎วย ดัชนี ยํอย 8 ด๎าน 40 ตัวช้ีวัด ครอบคลุมประเด็นสาคัญของการพัฒนาคน โดยได๎มีการจัดอันดับของจังหวัด ฉะเชงิ เทรา ดงั นี้ ตารางแสดง การจดั ลาดบั การพฒั นาคนของจังหวดั ฉะเชิงเทรา ปี 2557 ดัชนยี อ่ ย HAI ลาดับของประเทศ (76 จังหวัด) 1. สขุ ภาพ 28 2. การศกึ ษา 19 3. ชวี ิตการงาน 20 4. รายได๎ 4 5. ท่อี ยํูอาศัยและสภาพแวดลอ๎ ม 66 6. ชวี ิตครอบครัวและชมุ ชน 67 7. การคมนาคมและการสอ่ื สาร 27 8. การมสี วํ นรวม 39 ดชั นี HAI ในภาพรวม (HAI Value = 0.6409) เปน็ อันดบั ท่ี 26 ของประเทศ ท่มี า : THAILAND HUMAN DEVELOPMENT REPORT 2014 by the UNDP ~ 97 ~

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) 2.3 การวิเคราะห์เพื่อทบทวนปรบั ปรงุ วิสยั ทัศน์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การวิเคราะห๑เพ่ือทบทวนปรับปรุงวิสัยทัศน๑ ประเด็นยุทธศาสตร๑ กลยุทธ๑ ของแผนพัฒนาจังหวัด ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) น้ี จังหวัดฉะเชิงเทราได๎ใช๎แนวทางบนลงลําง (Top - Down approach) และแนวทางลํางสํูบน (Bottom – up Approach) เพื่อให๎เกิดความเช่ือมโยงอยํางสมดุลและสอดประสานกัน ระหวาํ งนโยบายและยทุ ธศาสตร๑ในระดับชาติ กับความต๎องการและศักยภาพของประชาชนในจังหวัด โดยอาจ พจิ ารณารายละเอยี ดได๎ ดังนี้ 2.3.1 แนวทางบนลงลา่ ง (Top - Down approach) การวิเคราะห๑เพื่อทบทวนปรับปรุงวิสัยทัศน๑ ประเด็นยุทธศาสตร๑ กลยุทธ๑ตามแนวทางบนลง ลาํ ง (Top - Down approach) จงั หวดั จะพจิ ารณาถงึ ความเชอื่ มโยงและสอดคล๎องระหวาํ งแผนพัฒนาจังหวัด กบั นโยบายและยทุ ธศาสตร๑ในระดับชาติ ดงั ตอํ ไปน้ี 1) ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี กรอบวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล๎ว ด๎วยการ พัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ความมั่นคง การมีความม่ันคงปลอดภัย จากภัยและการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และป๓จเจกบุคคล และมีความ ม่นั คงในทกุ มิติ ทงั้ มติ ิเศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ๎ ม และการเมอื ง • ประเทศ มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยมีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย๑ที่ เข๎มแข็งเป็นศูนย๑กลางและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองที่ม่ันคงเป็นกลไกท่ีนาไปสํูการ บรหิ ารประเทศท่ตี อํ เน่อื งและโปรงํ ใสตามหลกั ธรรมาภิบาล • สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความเขม๎ แขง็ ครอบครัว มีความอบอุนํ • ประชาชน มคี วามมัน่ คงในชวี ิต มงี านและรายไดท๎ ม่ี ั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีที่อยูํ อาศัยและความปลอดภัยในชวี ิตทรพั ย๑สนิ • ฐานทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ๎ ม ประชาชนมคี วามมัน่ คงของอาหาร พลังงาน และน้า ความมั่งค่ัง • ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจ อยํางตํอเนื่องจนเข๎าสํูกลุํมประเทศรายได๎สูง ความเหลอื่ มลา้ ของการพัฒนาลดลง ประชากรได๎รับผลประโยชนจ๑ ากการพัฒนาอยาํ งเทําเทยี มกันมากข้นึ • เศรษฐกิจมีความสามารถในการแขํงขันสูง สามารถสร๎างรายได๎ท้ังจากภายในและ ภายนอกประเทศ สร๎างฐานเศรษฐกิจและสังคมแหํงอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคท้ัง การคมนาคมขนสํง การผลิต การค๎า การลงทุน และการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาคและระดับ โลก เกิดสายสัมพันธท๑ างเศรษฐกจิ และการค๎าอยาํ งมีพลงั • ความสมบูรณ๑ในทุนที่จะสามารถสร๎าง การพัฒนาตํอเนื่อง ได๎แกํ ทุนมนุษย๑ ทุนทาง ป๓ญญา ทนุ ทางการเงิน ทุนที่เปน็ เคร่อื งมอื เคร่ืองจกั ร ทุนทางสังคม และทนุ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม ความยง่ั ยนื • การพัฒนาท่ีสามารถสร๎างความเจริญ รายได๎ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให๎เพ่ิมข้ึน อยํางตํอเน่ือง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไมํใช๎ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไมํสร๎างมลภาวะตํอ สงิ่ แวดลอ๎ มจนเกนิ ความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนเิ วศ ~ 98 ~

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) • การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล๎อม และสอดคล๎องกับกฎระเบียบของ ประชาคมโลกซง่ึ เปน็ ทย่ี อมรบั รวํ มกัน ความอุดมสมบูรณ๑ขอทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมคี วามรับผดิ ชอบตํอสังคม มีความเอ้อื อาทร เสยี สละเพอื่ ผลประโยชน๑สวํ นรวม • มุํงประโยชน๑สํวนรวมอยํางยั่งยืน ให๎ความสาคัญกับการมีสํวนรํวมของประชาชนทุกภาค สํวน เพือ่ การพัฒนาในทกุ ระดับอยาํ งสมดุล มีเสถยี รภาพ และยั่งยนื • ประชาชนทกุ ภาคสํวนในสังคมยึดถือและปฏบิ ตั ติ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี : กรอบการพัฒนาระยะยาว ๑. ยุทธศาสตรด๑ ๎านความม่ันคง • เสริมสร๎างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท๑ รงเปน็ ประมุข • ปฏิรปู กลไกการบรหิ ารประเทศ • ปอู งกันและแกไ๎ ขการกํอความไมํสงบในจงั หวัดชายแดนภาคใต๎ • บริหารจดั การความม่ันคงชายแดนและชายฝ่๓งทะเล • พัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความรวํ มมือระหวํางประเทศทุกระดับ • พัฒนาเสรมิ สร๎างศักยภาพการผนึกกาลังปูองกนั ประเทศและกองทัพ • พัฒนาระบบการเตรียมพร๎อมแหํงชาติ รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ๎ ม และการปกปูองรกั ษาผลประโยชน๑แหํงชาติทางทะเล รวมทั้งเสริมสร๎างความมั่นคงทางอาหารพลังงาน และน้า • ปรับกระบวนการทางานของกลไกท่ีเก่ยี วข๎องจากแนวดิง่ สูแํ นวระนาบมากขน้ึ ๒. ยุทธศาสตรก๑ ารสร๎างความสามารถในการแขํงขัน • สมรรถนะทางเศรษฐกิจ • สมรรถนะทางเศรษฐกจิ • พฒั นาผูป๎ ระกอบการ/เศรษฐกิจชุมชน • การพฒั นาพน้ื ท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมือง • การลงทนุ พฒั นาโครงสร๎างพื้นฐาน • การเชอื่ มโยงกับภมู ิภาคและเศรษฐกิจโลก ๓. ยุทธศาสตรก๑ ารพัฒนาและเสรมิ สร๎างศกั ยภาพคน • การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชํวงชีวิตให๎สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ โดย พัฒนาเริ่มตง้ั แตใํ นครรภ๑และตอํ เนือ่ งไปตลอดชํวงชีวิต • การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนร๎ใู ห๎ มคี ณุ ภาพ เทาํ เทียมและทวั่ ถงึ • การสรา๎ งเสรมิ ให๎คนมีสุขภาวะทด่ี ี • การสรา๎ งความอยูดํ มี ีสขุ ของครอบครัวไทย ๔. ยุทธศาสตรด๑ า๎ นการสรา๎ งโอกาสความเสมอภาคและเทําเทียมกนั ทางสังคม • การสร๎างความมั่นคงและการลดความเหล่อื มลา้ ทางด๎านเศรษฐกิจและสงั คม • การพฒั นาระบบบริการและระบบบรหิ ารจัดการสขุ ภาพ • การสรา๎ งสภาพแวดล๎อมและนวัตกรรมทเ่ี อื้อตอํ การดารงชีวติ ในสงั คมสงู วยั • การสร๎างความเข๎มแข็งของสถาบันทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมและความเข๎มแข็ง ของชมุ ชน ~ 99 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook