Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 Template ตัวชี้วัดกระทรวง(วัยทำงาน) ปีงบประมาณ 2

1 Template ตัวชี้วัดกระทรวง(วัยทำงาน) ปีงบประมาณ 2

Published by untimate1th, 2022-02-03 03:40:06

Description: 1 Template ตัวชี้วัดกระทรวง(วัยทำงาน) ปีงบประมาณ 2

Search

Read the Text Version

รายละเอียด ตัวชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปง� บประมาณ พ.ศ. 2565 กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

คำนำ กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวง สาธารณสุข ตามกรอบความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป แผนแมบทภายใตแผนยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล การปฏิรูปดาน สาธารณสุข ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนพฒั นาสขุ ภาพแหง ชาติ ฉบับที่ 12 และแผนยทุ ธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) โดยแผนปฏิบัติราชการฉบับนี้ประกอบดวย 4 เรื่อง คือ 1) ดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และคมุ ครอง ผูบรโิ ภคเปนเลศิ (Promotion Prevention and Protection: PP&P Excellence) 2) ดานบริการเปนเลิศ (Service Excellence) 3) ดานบุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) และ 4) ดาน บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) เพื่อถายทอดและสรางความเขาใจรวมกัน ในการดำเนินงานดา นสาธารณสขุ ใหแ กทุกหนว ยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ในการนี้ เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายของกระทรวงสาธารณสุข “ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่ มีความสุข และระบบสุขภาพยั่งยืน” หนวยงานตาง ๆ จึงไดรวมกันจัดทำแผน และรายละเอียดตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ภายใตกรอบ 14 แผนงาน 38 โครงการ และ 65 ตัวชี้วัด เพื่อการกำกับติดตามผลการ ดำเนินงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของใชเปนแนวทางในการดำเนินงานพรอมทั้งจัดเก็บขอมูลตามตัวชี้วัด ดังกลาวใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน และขอขอบคุณกรม กอง และหนวยงานที่เกี่ยวของทุกหนวย ที่ใหความ รว มมือในการจัดทำคูมอื เลม นีเ้ พ่ือใชประโยชนรว มกนั ตอไป กระทรวงสาธารณสขุ กันยายน 2565

สารบัญตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ดั ที่ รายการตัวชว้ี ัด หนา 5 1 อตั ราสวนการตายมารดาไทยตอการเกดิ มีชีพแสนคน 8 15 2 เด็กไทยมีการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการสมวัย 18 21 3 เดก็ ไทยมีระดบั สตปิ ญ ญาเฉล่ยี ไมต ำ่ กวา 100 25 33 4 อตั ราการคลอดมีชพี ในหญิงอายุ 15-19 ป ตอจำนวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ป 1,000 คน 37 5 รอ ยละของผสู งู อายทุ ่ีมีภาวะพ่งึ พิงไดร ับการดแู ลตาม Care Plan 46 55 6 ผูสงู อายมุ ีพฤติกรรมสขุ ภาพท่ีพึงประสงคไดร บั การดูแลท้งั ในสถานบรกิ ารและในชุมชน 61 68 7 รอยละของผูสูงอายุที่ผา นการคัดกรองและพบวาเปน Geriatric Syndromes ไดร ับการ 71 ดูแลรกั ษาในคลนิ ิกผูสูงอายุ 74 8 จำนวนคนมคี วามรอบรูส ุขภาพ 91 9 รอ ยละของอำเภอผา นเกณฑการประเมนิ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่มี ีคุณภาพ 95 10 ระดบั ความสำเรจ็ ในการจดั การภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุขของหนว ยงานระดับจงั หวัด 100 105 11 รอ ยละการตรวจตดิ ตามยืนยนั วนิ ิจฉัยกลมุ สงสยั ปวยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหติ สงู 111 12 รอ ยละของจงั หวัดที่ผา นการประเมนิ ระบบเฝาระวังโรคและภัยสขุ ภาพจากการประกอบ 114 อาชีพและส่ิงแวดลอม 117 13 รอยละของจังหวดั ที่สามารถควบคุมสถานการณโ รคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 119 ใหส งบได ภายใน 21 – 28 วัน 14 ระดับความสำเรจ็ ในการเตรยี มพรอมและตอบโตการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 15 จำนวนผลิตภัณฑสุขภาพกลุม เปา หมายทเ่ี กดิ จากการสงเสริมผูประกอบการใหสามารถ ไดร บั การอนญุ าต 16 จงั หวัดมีการขับเคลื่อนการดำเนนิ งานอาหารปลอดภยั ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ 17 รอ ยละของโรงพยาบาลที่พฒั นาอนามยั ส่ิงแวดลอมไดตามเกณฑ GREEN & CLEAN Hospital 18 รอ ยละของจังหวดั จดั การปจ จัยเส่ียงดา นสง่ิ แวดลอ มท่สี ง ผลตอการลดลงของอัตราปว ย ดวยโรคทเ่ี กยี่ วขอ งกบั สขุ อนามัย และมลพิษสิ่งแวดลอม 19 จำนวนการจัดตง้ั หนว ยบรกิ ารปฐมภูมแิ ละเครือขา ยหนวยบรกิ ารปฐมภูมิตามพระราชบญั ญัติ ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ พ.ศ. 2562 20 จำนวนประชาชนทมี่ ีรายช่ืออยูใ นหนว ยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนว ยบริการปฐมภูมิ ไดร บั การดูแลโดยแพทยเวชศาสตรค รอบครวั หรือแพทยท ีผ่ านการอบรมและคณะผู ใหบ รกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ 21 รอยละของผูป วยกลมุ เปาหมายท่ีไดรับการดแู ลจาก อสม. หมอประจำบาน มคี ุณภาพ ชีวิตทดี่ ี 22 อัตราตายของผูป ว ยโรคหลอดเลือดสมอง และไดร บั การรักษาใน Stroke Unit

หมวด 1. ดานสง เสรมิ สุขภาพ ปองกนั โรค และคมุ ครองผบู รโิ ภคเปน เลิศ (PP&P Excellence) แผนที่ 1. การพัฒนาคุณภาพชีวติ คนไทยทกุ กลุมวัย (ดานสุขภาพ) โครงการที่ 2. โครงการพฒั นาความรอบรดู านสุขภาพของประชากร ระดบั การแสดงผล ศูนยอ นามัย และประเทศ ชือ่ ตวั ชวี้ ดั 8. จำนวนคนมคี วามรอบรูสุขภาพ คำนิยาม 1. การดำเนินการความรอบรูสขุ ภาพ สำหรบั ป 2565 ทำในขอบเขตของนโยบายกระทรวง สาธารณสุข “สขุ ภาพดวี ถิ ใี หม 3อ.” 2. ความรอบรูดานสุขภาพ หมายถึง Digital Health literacy ซึ่งเปนการบริหารจัดการ ความรอบรูดานสุขภาพ ดวยเทคโนโลยีดิจทิ ัล โดยบุคคลรอบรูหมายถึงบุคคลจะตองมี 3 องคป ระกอบ ดงั นี้ 2.1 เขาถงึ ดวยการ register เขา สู Health book online เพอ่ื เขาถงึ องคความรูท่ีกระทรวง สาธารณสขุ ไดจ ัดการความรไู วเ ปนอยางดีแลว 2.2 เขาใจ ดวยการ screening & assessment จากเครื่องมือคัดกรองและรายงานผลใน ระบบออนไลน เชน BMI, CVD risk score, BSE, H4U, แบบประเมินความเครยี ด ฯลฯ 2.3 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใชเครื่องมือ Adjust Behavior บนออนไลน เชน การออก กำลังกายดวยกาวทาใจ การควบคุมแคลลอรี่ดวยโปรแกรมประเมินอาหาร การลด ความเครยี ดโดยเครอื่ งมือของกรมสขุ ภาพจิต 3. 1 คนรอบรู = register + screening & assessment + Adjust Behavior 4. คน หมายถึง ผลู งทะเบียนเขา สรู ะบบลงทะเบยี นระบบ Application กา วทา ใจ โดยเชือ่ ม platform health book ไวแลว ภายใน platform health book ยงั ประกอบดวย Application 10 Packages (โปรแกรมการตรวจสุขภาพ), Application BSE, Application H4U, สาวไทยแกมแดง, ไอโอดนี , Food4Health ฯลฯ 5. บญั ชี หมายถึง ขอ มูลการลงทะเบยี นผานระบบ Application เกณฑเ ปา หมาย : ปงบประมาณ 63 ปง บประมาณ 64 ปง บประมาณ 65 ปง บประมาณ 66 - 5,000,000 10,000,000 คน 10,000,000 คน ครอบครวั วัตถุประสงค 1. เพ่อื สรา งความรอบรดู ว ย Digital Health literacy ใหป ระชาชนสขุ ภาพดีดวย 3อ. ประชากร ดว ยตนเองหรอื คนในครอบครัวทส่ี ามารถใชเคร่ืองมือออนไลนเปน กลมุ เปา หมาย 2. เพอ่ื ลดภาระงานของเจา หนาทจ่ี ากการใหบ ริการสรา งความรอบรแู บบเดิม รวมถงึ การลดภาระเรอ่ื งการรายงาน เนื่องจาก platform สามารถออกรายงานจำนวนคน รอบรเู ปนอัตโนมัตริ ายจังหวัดและอำเภอ 3. เพอื่ ปองกนั และแกไขปญ หา NCDs ซง่ึ เปน ปญหาระดบั ประเทศท่ตี องไดร บั การ แกไข โดยเฉพาะกลุมวัยทำงานท่ียงั ไมมีรปู แบบการจัดการสขุ ภาพทชี่ ดั เจนและ เขา ถงึ ไดงายไมเปน อปุ สรรคตอการทำงาน 4. เพอื่ ลดคาใชจา ยในระบบประกนั สุขภาพท้ัง 3 กองทนุ ในระยะยาว ประชากรไทยทุกคน โดยตั้งคาเปา หมายป 2565 จำนวน 10 ลานคน โดยเนน 3 setting ตอไปน้ี 1. ผปู ฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ รายละเอยี ดตวั ชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า :: 37

วธิ กี ารจัดเก็บขอมูล 2. ประชาชนในชมุ ชนเมอื งหรือชนบทผา นการสมัครโดยตรง หรอื อสม. 3. นักเรยี น/นกั ศึกษาในสถานศึกษา การดำเนนิ การ 1. การรับสมคั รใหเ ขา มา register ผาน Application ซึง่ จะมกี ารเกบ็ ขอมูลโดยอัตโนมัติ 1.1 ชุมชน ดำเนินการผาน อสม รพ.สต. หรือโรงพยาบาล เชิญชวนประชาชนเขาสมัคร platform รอบรูส ุขภาพผาน Application 1.2 โรงงาน/สถานประกอบการ รพ.สต. หรือโรงพยาบาลประสานงานกับสำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดหรือหนว ยงานทเี่ กย่ี วของ ในการดำเนินงานตามบนั ทึกขอตกลง (MOU) 7 หนวยงาน ที่รวมดำเนินการ 10 packages โดยมีรูปแบบการดำเนินงานในสถาน ประกอบการ ดงั ตอ ไปนี้ - การจัดกิจกรรม kick off ระดับจังหวัด โดยศูนยอนามัยและ สสจ บูรณาการรวมกับ แผนของสำนักงานประกันสังคมจังหวัด เพื่อเปนตนแบบให สสอ ทุกอำเภอไดศึกษานำไป ขยายตอในทุกอำเภอตอ ไป - กรมอนามัยสนับสนุนรายการตอไปน้ีที่สามารถดาวนโหลดในระบบออนไลน ประกอบดวย แบบหนังสือแจงผูประกอบการท่ีลงนามโดยหนวยงานในพื้นที่ แบบโปสเตอรสมัครสถาน ประกอบการสงเสริมสุขภาพขั้นพื้นฐาน และใบรับรองสถานประกอบการสงเสริมสุขภาพ โดยแบงระดบั ดงั น้ี - ใบรับรองสถานประกอบการสงเสริมสุขภาพพื้นฐาน หมายถึง เจาของสถาน ประกอบการหรือแกนนำสุขภาพในสถานประกอบการ เชิญชวนสมาชิกสมัครใน Application กาวทาใจ ไมน อยกวา รอ ยละ 50 ดำเนินการตามบนระบบออนไลน - ใบรับรองสถานประกอบการสงเสริมสุขภาพมาตรฐาน หมายถึง ผานมาตรฐาน สถานประกอบการสงเสริมสุขภาพพื้นฐาน และไดดำเนินงานการ 10 packages อยางนอย 3 packages - ใบรับรองสถานประกอบการสงเสริมสุขภาพดีเดน หมายถึง ผานสถาน ประกอบการสง เสรมิ สขุ ภาพมาตรฐาน และมกี ารขยายเครือขาย 1.3 โรงเรยี น ประสานผา นครูอนามยั งานอนามยั โรงเรียน ทั้งนี้สามารถใชขอมูล Dash board เพื่อรายงานการลงทะเบียนรายหนวยงานได เพราะ ในการลงทะเบยี นสามารถระบุกลมุ โรงเรยี น สถานประกอบการได โดยเชญิ ชวนใหสมคั รและ เขาถึงความรอบรใู นแอพกา วทา ใจ การลงทะเบียนสรางเสริมความรอบรูด ีวิถีใหม 3อ. ขอมูลจะถูกจัดเก็บอัตโนมัติใน Application กาวทาใจ และกรมอนามัยจะประมวลผลเพื่อจัดทำเปน Dash board โดย สามารถระบุไดต ามศนู ยอนามยั เขต รายจังหวัดและรายอำเภอ มขี น้ั ตอนการใช Application ดังน้ี Application กาวทาใจ (โครงการ 10 ลา นครอบครัวไทย ออกกำลงั กายเพื่อสุขภาพ) ข้ันตอนดังนี้ 1. เขา https://activefam.anamai.moph.go.th/ หรอื https://www.kaotajai.com/login เลอื ก ลงทะเบียน รายละเอยี ดตัวช้ีวดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า :: 38

2. ลงทะเบยี น ผา น LINE กาวทา ใจ โดยคนหา @thnvr หรือ สแกน QR Code ติดตอ/ประสานงานการใชง าน Application กาวทา ใจ ชื่อ-นามสกุล : น.ส.สุพชิ ชา วงคจันทร กองกิจกรรมทางกายเพื่อสขุ ภาพ โทรศพั ทท ่ที ำงาน 02-590-4413 โทรศัพทมือถือ 08 9459 4451 Application 10 Packages ประกอบดวย 3 โปรแกรม ดังนี้ โปรแกรมการคัดกรองขอมลู สขุ ภาพ ขั้นตอนดงั น้ี 1. เขา doh.hpc.go.th/screen/index.php 2. สมัครสมาชิกหัวขอ “login” 3. เขาสรู ะบบดวย Username และ Password ท่ีต้ังไวเ พ่ือเขาสรู ะบบ โปรแกรมการกรอกขอมูลสขุ ภาพ ขั้นตอนดังน้ี 1. เขา http://apps.hpc.go.th/checkup 2. สมคั รสมาชกิ หวั ขอ “สถานประกอบการสมัครสมาชกิ ” 3. เขาสรู ะบบดว ย Username และ Password ทตี่ ั้งไวใ นหัวขอ “เขาสูระบบสถาน ประกอบการ” 4. เขาสูห ัวขอ “ตรวจสุขภาพ” แลว เลือกหัวขอ “ลงทะเบียนบุคคล” 5. กรอกขอมลู ตามแบบฟอรม แลว บันทึกขอมูล หมายเหตุ สามารถจัดการขอมูลรายละเอียดไดตามหวั ขอ ด,ู แบง ปน , แกไ ข, ลบขอมลู โปรแกรมเฝา ระวังสุขภาพตนเอง (Self-monitoring) ข้ันตอนดังนี้ 1. เขา hpc.go.th/hpd/hp/diet/index.php 2. สมัครสมาชกิ หัวขอ “สมัครสมาชิก” 3. เขาสรู ะบบดว ย Username และ Password ทีต่ ั้งไวใ นหวั ขอ “Login เขาสูระบบ” 4. เขา สูระบบเพ่ือเขาใชโปรแกรม โปรแกรม Thai Fit Stop Fat ข้ันตอนดงั น้ี 1. เขาโปรแกรม Line คน หาเพื่อนโดยพมิ พ @thaifitstopfat 2. คลกิ ปมุ ลงทะเบียน 3. กรอกขอมลู ทัว่ ไป 4. บันทกึ ขอมูลน้ำหนัก สวนสูง รอบเอว ทุกสปั ดาห 5. กดปมุ ประวัตกิ ารบันทึกเพอ่ื ดูขอ มูลการวเิ คราะหเบ้อื งตน 6. หรอื แสกน QR Code เขาโปรแกรม รายละเอียดตวั ชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หนา้ :: 39

ติดตอ/ประสานงานการใชง าน Application 10 Packages ชอ่ื -นามสกุล : นางสาวกมลนิตย มาลยั สำนักสงเสริมสุขภาพ โทรศัพทท่ที ำงาน 0 2590 4521 โทรศพั ทมอื ถือ 08 7074 8549 Application BSE การบนั ทกึ การตรวจเตา นมดว ยตนเอง (สำหรบั สตรีอายุ 20 ปขน้ึ ไป) ขน้ั ตอนดังน้ี 1. เขา http://doh.hpc.go.th/bseApp/ 2. เขา หัวขอ ที่ 1 ขน้ั ตอนในการใชโ ปรแกรม มหี ัวขอใหเลือกตามสถานะดงั น้ี 1 ตรวจสอบรายชือ่ วา อยูในฐานขอมูลหรือไม 2 ถา ไมพบ ใหท ำการลงทะเบียนสมัครสมาชิกใหม 3 Login เขาระบบ 1. Username = “เลข 13 หลัก” หรือจะใช “ชือ่ นามสกลุ ” ก็ได 2. Password = วนั เดือนปเกดิ เชน เกดิ วันท่ี 1 ก.พ. 2512 = 01022512 หรอื จะใชเบอรโ ทรศัพทก็ได (กรณี ที่ไดเ พ่ิมเบอรโ ทรศัพทเ ขาไปแลว) 4 ทำรายการตรวจเตานมประจำเดือน 5 ดูบันทกึ การตรวจเตา นม 3. หรอื เขา QR Code เพือ่ เขาสขู ้นั ตอนการสมัคร ติดตอ/ประสานงานการใชง าน Application BSE สำนกั สงเสรมิ สขุ ภาพ ช่ือ-นามสกุล : นางสาวศิรินทรา พินจิ กุล โทรศัพทท่ที ำงาน 0 2590 4522 โทรศพั ทม ือถือ 09 71376 927 Application H4U Plus (การเฝา ระวังพฤติกรรมสขุ ภาพ ความรอบรแู ละปจ จัยแวดลอ มที่ สง ผลตอสขุ ภาพวัยทำงาน) ข้นั ตอนดังน้ี 1. ดาวนโ หลด Application H4U Plus ไดทง้ั ระบบ IOS และ Android 2. เขา สู Application H4U plus เลือกหัวขอ แบบสอบถามเพื่อเขาสูขอคำถาม พฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรูและปจจัยแวดลอ มทีส่ งผลตอ สขุ ภาพวัยทำงาน ติดตอ/ประสานงานการใชง าน Application H4U Plus ชอ่ื -นามสกลุ : ทันตแพทยหญงิ นันทมนสั แยมบุตร สำนกั ทันตสาธารณสุข โทรศัพทท ่ีทำงาน 0 2590 4215 โทรศพั ทม ือถือ 08 1485 0402 รายละเอยี ดตวั ชว้ี ัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หนา้ :: 40

Googleform สาวไทยแกม แดง 1. แสกน QR Code 2. กรอกขอมลู ตามแบบสอบถาม 3. ยืนยันการสงขอมูล ตดิ ตอ/ประสานงานการใชงาน Googleform สาวไทยแกม แดง ชอื่ -นามสกลุ : นางสาวอารียา กรุดเงนิ สำนักโภชนาการ โทรศพั ททที่ ำงาน 0 2590 4334 โทรศพั ทม ือถือ 09 6661 3663 Application ดูแลจิตใจ Mental Health Check in 1. เขา https://checkin.dmh.go.th/index.php 2. เลอื กโปรแกรมท่ีตองการประเมนิ ติดตอ /ประสานงานการใชงาน Application ดแู ลจติ ใจ Mental Health Check in ชอ่ื -นามสกลุ : นายปองพล ชษุ ณะโชติ กองสง เสรมิ และพัฒนาสขุ ภาพจติ โทรศัพทท ีท่ ำงาน - โทรศัพทม ือถือ 08 9635 4828 การรายงานผลการลงทะเบียนในระบบฐานขอมูลโครงการเสริมสรางความรอบรูวัยทำงาน สขุ ภาพดีในสถานประกอบการ แตล ะ Application ดังน้ี Application กา วทา ใจ (โครงการ 10 ลานครอบครวั ไทย ออกกำลงั กายเพ่ือสุขภาพ) มขี ้ันตอนดังนี้ 1. เขา https://activefam.anamai.moph.go.th/ หรือ https://www.kaotajai.com/login เลอื ก ลงทะเบียน 2. ลงทะเบียน ผา น LINE กาวทา ใจ โดยคนหา @thnvr หรอื สแกน QR Code Application 10 Packages (โปรแกรมการคัดกรองขอมูลสุขภาพ โปรแกรมการกรอกขอมูลสุขภาพ โปรแกรมเฝา ระวงั สขุ ภาพตนเอง (Self-monitoring) และโปรแกรม Thai Fit Stop Fat) 1. เขาสูระบบ doh.hpc.go.th/screen/registerSum_region.php 2. ขอมลู App คอื กลุมทขี่ ึ้นทะเบียนผา นโปรแกรม Application BSE การบันทึกการตรวจเตานมดวยตนเอง (สำหรับเจาหนา ที่) รายละเอยี ดตัวชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า :: 41

ขนั้ ตอนดังนี้ 1. Log in ดวยรหัสสถานพยาบาล 2. เปดดขู อ มูล BSE ท่ผี ดิ ปกติของประชาชนในพ้นื ทีใ่ นพ้นื ทรี่ ับผดิ ชอบ 3. ตดิ ตามเพอ่ื ใหมาตรวจยืนยัน 4. ถา CBE แลว ผิดปกติ สง ตอ 5. ใสผลการดำเนินงานผาน Application มาได ** สามารถดู 1. รายช่อื ผูท ำรายการผา น BSE Application ได 2. สรปุ BSE รายเขต/จงั หวัด/อำเภอ/ตำบลได 6. หรือเขา QR Code เขา สูข ั้นตอนการประมวลผลจำนวนคนทต่ี รวจเตา นมดว ย ตนเองผา น Application Googleform สาวไทยแกมแดง สำนักโภชนาการจะดำเนินการรวบรวมและตรวจสอบขอ มูล Application ดูแลจิตใจ Mental Health Check in กองสง เสริมและพฒั นาสขุ ภาพจติ จะดำเนินการรวบรวมและตรวจสอบขอมลู แพลตฟอรม ไอโอดีน 1. เขา http://203.157.71.149/hl/iodine/menu 2. เลอื กหวั ขอ สำหรบั ประชาชน หรอื สำหรบั เจา หนาที่ 3. เลือกหัวขอตาง ๆ ตามตองการ เชน หาไอโอดีนไดจากที่ไหน แผนที่ไอโอดีน ความรเู ร่อื งไอโอดีน ฯลฯ ตดิ ตอ/ประสานงานการใชง าน แพลตฟอรมไอโอดีน ช่ือ-นามสกุล : นางสาววิภาศรี สุวรรณผล สำนกั โภชนาการ โทรศัพทท่ที ำงาน 0 2590 4335 โทรศพั ทมอื ถือ 09 8263 9591 Application Food4Health (สอื่ เมนชู สู ขุ ภาพและการรับรองเมนูชสู ขุ ภาพออนไลน) โครงการจัดการสภาพแวดลอมและการสรางความรอบรูดานสุขภาพ เพื่อการเตรียม ความพรอมวยั ทำงานสูวัยสูงอายุที่มสี ขุ ภาพดี web application ใชงานผานมอื ถอื 1. เขา https://f4h.anamai.moph.go.th หรอื สแกน QR Code 2. ลงทะเบียนเขา ใชง าน กรอกขอมูลช่อื นามสกุล หมายเลขประจำตัวประชาชน หรือหมายเลขโทรศัพท นำ้ หนัก และสว นสงู ทีอ่ ยู ระดับการใชพลงั งาน และ ขอ มลู อ่ืน ๆ ใหครบถวน (ถา ไมไดประกอบอาชีพขายอาหาร ไมต อ งใสช่ือรา น) กดลงทะเบียน รายละเอียดตวั ช้ีวัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า :: 42

3. กดท่ปี มุ เพือ่ ตรวจสอบผลการประเมนิ ภาวะโภชนาการ ผอม ปกติ (หนุ ดี) นำ้ หนักเกิน อว น อวนอนั ตราย 4. กดท่ีปมุ รูปจาน เพ่ือบนั ทึกการกนิ อาหารแตล ะม้ือ 5. กดปมุ เพือ่ เรียกดูเมนูอาหาร จะมปี ระเภทอาหารใหเลือก เลอื ก อาหารท่ีกนิ แตล ะมอ้ื และปริมาณที่กนิ กดบนั ทกึ ทำจนครบทุกมื้อ 6. กดทป่ี มุ เพ่อื ดคู ำแนะนำการกนิ อาหาร พลังงานที่ควรไดรบั ปรมิ าณอาหารทคี่ วรไดรับ ผลการกินอาหารเทียบกบั ปริมาณท่คี วรไดร ับ และเมนูชูสุขภาพท่ีผานการรับรองจากกรมอนามัย กดเพ่ือดูทอ่ี ยูรานและอนื่ ๆ 7. กดปุม จะนำไปสูเ มนูการตั้งคา/เปลย่ี นแผลงขอมูลสวนบคุ คล ดู คะแนน Health Point สง ขอเสนอแนะตาง ๆ ประเมนิ ความพึงพอใจ และแผน ที่เมนชู ูสขุ ภาพ 8. สำหรบั รา นอาหาร 8.1 สามารถใชง านเพิ่มเติมไดในสวนของการพฒั นาเมนูชสู ขุ ภาพ และการ รบั รองเมนชู สู ขุ ภาพออนไลน โดยกดปุม กรอกขอมูลประเภท อาหาร ชือ่ เมนู จำนวนคนตอสตู ร ราคา 8.2 บันทึกสว นประกอบและปริมาณ กดวเิ คราะหผ ลการประเมิน บันทึกสตู ร อาหาร และภาพถาย 8.3 กดปุม เพอ่ื พมิ พใ บรบั รองเมนชู สู ุขภาพออนไลน บันทึก ใบรบั รองและสั่งพิมพไดตามตองการ ติดตอ/ประสานงานการใชง าน Food/Health ชอ่ื -นามสกลุ : นางสาวบงั เอิญ ทองมอญ สำนกั โภชนาการ โทรศพั ทท่ที ำงาน 0 2590 4307 โทรศัพทม ือถือ 08 9775 5990 Application FunD เพ่อื เสริมสรา งความรอบรูการดูแลสุขภาพชอ งปาก และสนับสนุนให ผูใชง านประเมินสภาวะชอ งปากของตนเอง สามารถใชง านไดท้ังระบบ IOS และ Android ติดตอ/ประสานงานการใชง าน Application FunDสำนักทันตสาธารณสขุ ชอ่ื -นามสกุล : นางสาวอริศรา พัตตาสงิ ห โทรศัพทท่ีทำงาน 0 2590 4489 โทรศัพทมือถือ 06 6162 4682 รายละเอยี ดตวั ชี้วดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า :: 43

หมายเหตุ 1. รวบรวมผลการดำเนินการแตละ Application กอนนำสงขอมูลไปยังศูนยอนามัยเขต ตอไป 2. มกี ารเพ่มิ เตมิ Application ที่เกย่ี วของกบั ความรอบรใู นภายหลงั รายการขอมูล 1 A = จำนวนคนทลี่ งทะเบียน รายการขอมูล 2 - สตู รคำนวณตวั ชวี้ ดั A ระยะเวลาประเมนิ ผล ทุกไตรมาส เกณฑการประเมนิ : ป 2563: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน - - -- ป 2564: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1,250,000 ครอบครัว 2,500,000 ครอบครัว 3,750,000 ครอบครวั 5,000,000 ครอบครวั ป 2565: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น 2,500,000 คน 5,000,000 คน 7,500,000 คน 10,000,000 คน ป 2566: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน - - - 10,000,000 คน เปาหมายจำนวน 2565 จำนวนประชากร (คน) เปาหมายป 2565 (คน) ลำดับที่ ศูนยอนามัยที่ 5,876,353 887,845 1 ศนู ยอ นามยั ท่ี 1 3,538,314 534,596 2 ศนู ยอนามัยที่ 2 2,935,081 443,455 3 ศนู ยอนามัยที่ 3 5,401,564 816,110 4 ศนู ยอ นามยั ท่ี 4 5,331,768 805,565 5 ศูนยอ นามยั ท่ี 5 6,199,296 936,637 6 ศูนยอนามัยท่ี 6 5,024,006 759,065 7 ศูนยอ นามัยท่ี 7 5,519,803 833,974 8 ศนู ยอ นามัยที่ 8 6,717,536 1,014,937 9 ศูนยอนามัยที่ 9 4,586,883 693,022 10 ศูนยอ นามัยที่ 10 4,482,497 677,250 11 ศนู ยอ นามยั ท่ี 11 4,985,404 753,233 12 ศนู ยอ นามัยที่ 12 5,588,222 844,311 13 สสม. 66,186,727 รวมท้ังหมด 10,000,000 (*อางอิงจากขอ มูล สถิติประชากรทางทะเบยี นราษฎร เดอื นธนั วาคม 2563: สืบคน เมื่อวนั ที่ 12 มกราคม 2564) รายละเอยี ดตวั ชี้วัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า :: 44

วิธีการประเมนิ ผล : รายงานผลการลงทะเบียนจากแบบรายงานศนู ยอ นามยั ที่ 1-12 และ สสม. เอกสารสนบั สนนุ : 1. คมู อื แนวทางการใชง าน Application 10 Packages รายละเอียดขอ มลู 2. คมู อื แนวทางการใชง าน Application BSE พ้ืนฐาน 3. คูมอื แนวทางการใชงาน Application H4U ผใู หขอมลู ทาง ผลการดำเนนิ งานในรอบปงบประมาณ พ.ศ. วิชาการ / Baseline data หนวยวัด 2562 2563 2564 ผปู ระสานงานตัวชี้วัด หนว ยงานประมวลผล - ครอบครัว - - 4,414,887 และจดั ทำขอ มูล (ขอ มูลวนั ท่ี (ระดับสวนกลาง) 30 ม.ิ ย. 64) นางพรเลขา บรรหารศุภวาท นายแพทยเชี่ยวชาญ ผูรบั ผิดชอบการ โทรศัพททที่ ำงาน : - โทรศัพทมอื ถอื : 08 1870 0012 รายงานผลการ E-mail : ponlakha.b@anamai.mail.go.th ดำเนนิ งาน สถานทท่ี ำงาน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข การรายผลใน 1. น.ส.กมลนิตย มาลยั พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ HealthKPI โทรศัพททที่ ำงาน : 0 2590 4521 โทรศัพทมอื ถอื : 08 7074 854 E-mail: kamolnit.m@anamai.mail.go.th 2. นายกชธนาณัฏฐ โพธิมา นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศพั ททท่ี ำงาน : 0 2590 4662 โทรศพั ทมอื ถอื : 08 7211 3219 E-mail: kotthananat.p@anamai.mail.go.th 3. น.ส.ศิรินทรา พนิ ิจกุล นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ โทรศพั ททีท่ ำงาน : 0 2590 4522 โทรศัพทม ือถือ : 09 7137 6927 E-mail: sirintra.p@anamai.mail.go.th สถานท่ที ำงาน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ นายเอกชัย เพยี รศรวี ัชรา ผูอ ำนวยการสำนกั สงเสริมสุขภาพ โทรศพั ทท ท่ี ำงาน : 0 2590 4740 โทรศพั ทมือถอื : 09 1890 4608 E-mail : ekkachai.c@anamai.mail.go.th นางพรเลขา บรรหารศุภวาท นายแพทยเชยี่ วชาญ โทรศัพทท ีท่ ำงาน : - โทรศพั ทมอื ถือ : 08 1870 0012 E-mail : ponlakha.b@anamai.mail.go.th สถานทที่ ำงาน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ  หนวยงานสวนกลาง สำนักสงเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย นายกชธนาณฏั ฐ โพธมิ า นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ โทรศัพทท่ีทำงาน : 0 2590 4662 โทรศพั ทมือถือ : 08 7211 3219 E-mail : kotthananat.p@anamai.mail.go.th รายละเอยี ดตัวชี้วดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หนา้ :: 45

งานข้อมูลขา่ วสารสุขภาพ 2 กลุ่มขอ้ มูลขา่ วสารสุขภาพ 02 590 2388 spd.data2.kpi@gmail.com กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข