Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Remote Sensing

Remote Sensing

Published by 952ed00001, 2020-06-04 06:49:31

Description: Remote Sensing

Search

Read the Text Version

4.5 สี (Color) มนุษย์รับรู้สีต่างๆ มาจากสัดส่วนของแสงสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน เมื่อรวมกันในสัดส่วนต่างๆ สามารถใหส้ ีที่หลากหลายเรียกว่า แม่สีบวก สีบนจอภาพถูกสรา้ งขึ้นโดยผลรวมของสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน ซง่ึ แตล่ ะองคป์ ระกอบจะแทนดว้ ยคา่ 8 บติ จะไดข้ อ้ มลู 24 บติ เพ่อื สรา้ งสซี ่งึ เกดิ จากสีทง้ั สามแผงสี ถูกควบคุม โดยระบบหน้าต่าง ถ้ามีการแสดงผลระดับ 8 บิต หมายความว่าสีจานวน 256 สี สามารถแสดงพร้อมกันบน จอภาพ ถ้ามีการแสดงผลระดับ 24 บิต จะมีเซลล์สีสาหรับแต่ละสีซึ่งให้สีจานวน 16,777,216 สี (256 x 256 x 256) จะพจิ ารณาข้อมลู ทีละช่วงคลื่นความละเอียดของขอ้ มูลเฉพาะตามคุณสมบัติของชว่ งคลื่นน้ันตามระดับ คา่ สเี ทา่ ถ้าต้องการความละเอยี ดข้อมูลหลายด้านพร้อมกัน ต้องนาข้อมลู แต่ละช่วงคลน่ื มาเปรียบเทียบกัน ซ่ึง แต่ละชว่ งคลื่นทมี่ ีความละเอยี ดของขอ้ มูลแตกต่างกันมาผสมกันตามแม่สีของแสงจะได้รับภาพสีผสมทีช่ ่วยเน้น ความละเอยี ดของข้อมูลทไ่ี ดม้ ากกวา่ การแสดงทลี ะช่วงคลน่ื โดยใชแ้ ม่สีของแสงสีน้าเงิน สีเขียว และสแี ดง การ ทาภาพสีผสม เช่น ภาพดาวเทียม SMMS ผสมสีจริง (แบนด์ 3 2 1) ผสมสีเท็จ ( 4 3 2 ) เป็นต้น ทาได้ 3 รูปแบบ คือ 4.5.1 สีผสมเชิงบวก สผี สมเชิงบวก คอื การผสมสนี ้าเงิน สเี ขียว และสแี ดง ในความเข้มสูงสุดและสัดสว่ นเทา่ กันทีละคู่ จะ ได้ “แม่สีลบ” คือ สีเหลือง สีม่วงแดง และสีฟ้า เม่ือนาแม่สีทั้งหมดมาผสมรวมกันในความเข้มสูงสุดและ สัดส่วนเท่ากันจะได้สีขาว การผสมสีลักษณะนี้เกิดข้ึนตามการรับรู้ของสายตามนุษย์ ใช้ในระบบการให้สีของ จอโทรทศั น์ จอคอมพิวเตอร์ โดยการยิงลาแสงของแม่สีทงั้ สามไปยังจอภาพพร้อมกัน แตล่ ะจุดภาพบนจอภาพ กจ็ ะปรากฏเปน็ สตี า่ งๆ ในด้านการรับรู้ระยะไกลจะใชห้ ลกั การผสมสเี ชน่ น้ี รปู ที่ 55 แสดงการผสมเชงิ บวก

4.5.2 สผี สมเชิงลบ สีผสมเชิงลบ คือ การผสมสีเหลือง สีม่วงแดง และสีฟ้า มาผสมกันในความเข้มสูงสุดและสัดส่วน เท่ากันทีละคู่ จะไดแ้ มส่ กี ับไปเปน็ “แม่สบี วก” คือ สีน้าเงนิ สีเขยี ว และสีแดง เมื่อนาแม่สลี บท้ังหมดมารวมกัน ในความเข้มสงู สดุ และสดั สว่ นเทา่ กนั จะไดส้ ีดา รปู ท่ี 56 แสดงการผสมสเี ชงิ ลบ 4.5.3 การแสดงผลแบบสเี ทียม การเน้นความละเอียดขอ้ มูลด้วยวิธีน้ี จะแตกต่างจากการผสมสีเชิงบวก และเชิงลบ โดยการผสมสีทั้ง เชงิ บวกและเชิงลบ ใช้ชว่ งคลน่ื 3 ชว่ งคลน่ื ผสมสตี ามแมส่ ี 3 สี แต่การแสดงผลแบบสีเทยี มจะใช้ชว่ งคล่ืนเพยี ง 1 ช่วงคลื่น แล้วให้สีตามลาดับ คือ สีน้าเงิน สีเขียว สีเขียวเหลือง สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีม่วงแดง ค่าการ สะท้อนของข้อมูลถูกแสดงออกตามช่วงสีจากค่าต่าไปหาค่าสูง โดยช่วงระดับสีเทาของช่วงคล่ืนน้ันถูกแบ่งเป็น ช่วงคลนื่ ย่อยๆ ทีน่ ามากาหนดให้สแี ต่ละช่วงปรากฏเป็นสีต่างๆ ตามลาดับช่วงคล่ืนที่ตามองเห็น การกาหนดสี ในลักษณะนี้ เรียกว่า การแสดงผลแบบสีเทียม ซ่ึงสามารถแสดงวัตถุต่างๆ ได้ดีโดยเฉพาะกับวัตถุท่ีมีลักษณะ ต่อเน่ือง เช่น ระดับอุณหภูมิจากคลื่นอินฟราเรดความร้อนและช่วยให้แยกแยะวัตถุต่างๆ ออกจากกันได้โดย การนาสีเข้าไปแทนระดบั สีเทา 4.6 คุณลกั ษณะข้อมลู จากดาวเทียม

ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมสารวจทรัพยากรที่บันทึกด้วยระบบกล้องหลายช่วงคลื่น มีคุณสมบัติพิเศษ แตกตา่ งจากกล้องถ่ายภาพธรรมดา คือ เป็นข้อมูลเชิงเลข การบันทึกขอ้ มลู เปน็ บริเวณกว้าง การบันทึกภาพได้ หลายช่วงคลื่น การบันทึกภาพซ้าบริเวณเดิม และความละเอียดของจุดภาพ (สามารถศึกษารายละเอียดได้ใน บทเรียนการแยกแยะวตั ถุจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม) บทที่ 5 การแปลตีความและการประมวลผลข้อมูลจากดาวเทยี ม การแปลตคี วามและการประมวลผลขอ้ มูลจากดาวเทยี ม แบ่งได้ 2 วธิ ี คอื การแปลตคี วามดว้ ยสายตา และการประมวลผลด้วยคอมพวิ เตอร์ 5.1 การแปลตีความข้อมลู ภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตา การแปลตีความข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตา เป็นวิธีการแปลความหมายจากข้อมูลภาพโดย ไม่ใช่คอมพิวเตอร์เพ่ือให้ได้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ การจาแนกข้อมูลด้วยวิธีน้ี จะประมวลและตีความข้อมูลท่ี ได้จากภาพ ถ่ายทางอากาศหรือข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเข้ากับข้อมูลอ่ืนๆ เช่น ข้อมูลท่ีได้จากการสารวจ ภาคสนาม แผนท่ีการใช้ประโยชน์ที่ดิน เปน็ ต้น โดยขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียมประกอบด้วยจดุ ภาพเลก็ ๆ (Pixel) ต่อเรียงกันเป็นเส้นหรือบรรทัด บรรทัดหน่ึงๆ จะมีจุดภาพเท่าใด ข้ึนอยู่กับว่าข้อมูลได้มาจากดาวเทียมหรือ ระบบการบันทึกภาพดาวเทียมแบบใด โดยทั่วไปการแปลตีความข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจะมุ่งเน้นที่การ ตีความหมายจากจุดภาพที่รวมกันอยู่ ซึ่งอาจแสดงรูปร่างที่มีขนาดแตกต่างกัน ตลอดจนความแตกต่างกันใน เร่ืองระดับความเข้มของสีหรือสี ลักษณะของเน้ือภาพ รูปแบบการจัดเรียงตัวของวัตถุ และความแน่นทึบท่ี ต่างกัน ดังน้ันการแปลตีความข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตาจึงมีความจาเป็นที่จะต้องพิจารณาถึง องค์ประกอบและคุณสมบัติท่ีเหมาะสม เพ่ือให้การแปลตีความข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วยสายตามีความ ถกู ตอ้ งแม่นยามากท่สี ดุ ซง่ึ รายละเอยี ดสามารถศกึ ษาไดใ้ นบทเรยี นการแยกแยะวตั ถจุ ากภาพถ่ายดาวเทยี ม 5.2 การประมวลผลภาพด้วยคอมพิวเตอร์ การจาแนกข้อมูลภาพด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นการกาหนดกระบวนการในการคานวณเพ่ือใช้ในการ ตดั สนิ ใจให้กับคอมพิวเตอร์ โดยมีวัตถุประสงค์ ลดกระบวนการและขน้ั ตอนการทางานของผู้แปล จะเห็นได้ว่า การจาแนกชนิดของวัตถุด้วยสายตาจะต้องอาศัยความสามารถและสมาธิในการทางานอย่างต่อเน่ือง จึงจะได้

ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ ดังน้ันการจาแนกข้อมูลภาพด้วยคอมพิวเตอร์จึงทาการกาหนดเงื่อนไขเพ่ือใช้ในการ ตัดสินใจแทนมนษุ ยน์ น้ั เอง ซึง่ รายละเอยี ดสามารถศกึ ษาไดใ้ นบทเรยี นการแยกแยะวัตถจุ ากภาพถ่ายดาวเทียม บทท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้ข้อมูลจากดาวเทยี ม ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมสารวจทรัพยากรถูกนาไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง โดยเริ่มแรกเป็นการ แปลตีความดว้ ยสายตา และปัจจุบันจะมกี ารวิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ยคอมพวิ เตอรท์ ที่ ันสมัยและการบนั ทึกภาพตาม เวลาการโคจรที่กาหนด ทาให้ได้รับข้อมูลท่ีทนั สมัยตามช่วงเวลา สามารถท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ผสมผสานกับ ข้อมูลอ่ืนๆ เพ่ือการบริหาร และ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนา แบบยั่งยนื และสามารถสรปุ การประยุกตใ์ ช้ข้อมลู ภาพถ่ายดาวเทยี มในด้านต่างๆ ไดด้ งั นี้ 6.1 ดา้ นปา่ ไม้ ด้านป่าไม้ใช้ในการศึกษาจาแนกชนิดป่าไม้ทั้งพื้นท่ีป่าบกและป่าชายเลน นอกจากน้ียังนาไปใช้ ประโยชน์ในการสารวจพน้ื ที่ปลกู สร้างสวนปา่ และการประเมินหาพน้ื ที่เสียหายทเี่ กดิ จากไฟป่า ตวั อยา่ งการใช้ประโยชน์ด้านปา่ ไม้

รปู ท่ี 57 ภาพแสดงการเกดิ ไฟปา่ จากขอ้ มลู ภาพดาวเทยี ม SMMS ผสมสจี รงิ วนั ที่ 29 มนี าคม 2557 บรเิ วณอาเภอ อมกอ๋ ย จงั หวดั เชยี งใหม่ 6.2 ดา้ นการเกษตร ภาพถ่ายจากดาวเทียมใช้สารวจบริเวณพ้ืนที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น พ้ืนที่ปลูกข้าว ปาล์มน้ามัน ยางพารา สับปะรด อ้อย ข้าวโพด เป็นตน้ ตวั อย่างการใชป้ ระโยชนด์ ้านการเกษตร

1 23 1 1 รปู ท่ี 58 ภาพพน้ื ทเ่ี พาะปลกู พชื ออ้ ยและมนั สาปะหลงั บรเิ วณอาเภอพฒั นานคิ ม จงั หวดั ลพบรุ ี โดยพน้ื ทห่ี มายเลข 1 และ 2 คอื ไรอ่ อ้ ย พน้ื ทหี่ มายเลข 3 คือ ไรม่ นั สาปะหลงั รปู ท่ี 59 ขอ้ มลู จากดาวเทยี ม SMMS (HJ-1A) แสดงพน้ื ทเี พาะปลกู พืชเศรษฐกจิ 4 ชนดิ ( )ยางพารา( )ออ้ ย ( )มนั สาปะหลงั ( ) สบั ปะรด 6.3 ด้านการใช้ทีด่ นิ ขอ้ มูลจากดาวเทยี มสารวจทรพั ยากร เป็นข้อมลู ท่ที ันสมัยสามารถนาไปจัดทาแผนท่ีการใช้ท่ีดนิ และสิ่ง ปกคลุมดินท่ีทันสมัยเป็นปัจจุบันและมีข้อมูลอย่างต่อเนื่องตามรอบวงโคจรของดาวเทียมแต่ละดวงเนื่องจาก

การขยายตวั ทางด้านเศรษฐกจิ และสงั คมเป็นไปอย่างรวดเร็วสง่ ผลให้การใช้ทดี่ ินเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วด้วย ข้อมูลทีจ่ าเป็นทีส่ ามารถใชใ้ นการวางแผนการจดั การการใช้ที่ดนิ อยา่ งเหมาะสมในอนาคต รปู ท่ี 60 แสดงแผนทเ่ี ปรยี บเทยี บการเพาะปลกู ขา้ ว จังหวดั ปทมุ ธานี ปี 2553 และปี 2554 6.4 ด้านภยั ธรรมชาติ ข้อมูลจากดาวเทียมถูกนามาใช้ในการศึกษาประเมินความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และวางแผนลด ความสญู เสยี จากภยั พิบัตติ า่ งๆ เช่น นา้ ท่วม แผ่นดนิ ถลม่ และไฟป่า เป็นตน้  ภยั น้าท่วม floods สามารถนาข้อมูลดาวเทียมวิเคราะห์พ้ืนท่ีน้าท่วม และติดตามสถานการณ์น้าท่วม เพ่ือนาไปใช้ในการประกอบการพิจารณาประเมินความเสียหาย และใช้ในการวางแผนช่วยเหลือผู้ ประสบอุทกภยั ในพื้นท่ตี า่ งๆ

รปู ที่ 61 ภาพถา่ ยดาวเทยี ม SMMS (HJ-1A) พนื้ ทนี่ า้ ทว่ ม จ.ชยั ภมู ิ  ภัยดินถล่ม (Landslide) ใช้จัดทาฐานข้อมูลพื้นท่ีเส่ียงภัยดินถล่ม ติดตามเฝ้าระวังในฤดูเส่ียงภัย ใน การเตือนภัยดินถล่มเมื่อพบว่าสภาพดินอยู่ในภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดภัย ท้ังน้ียังช่วยในการ ว า ง แ ผ น เ ข้ า ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ ฟื้ น ฟู ป ร ะ ช า ช น ใ น บ ริ เ ว ณ ที่ เ กิ ด เ ห ตุ ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว แ ล ะ มี ประสิทธิภาพ

รปู ที่ 62 แสดงสภาพภมู ปิ ระเทศของบรเิ วณทเี่ กดิ ดนิ ถลม่ (บนซา้ ย)และขอ้ มลู HSI จากดาวเทยี ม SMMS บรเิ วณพน้ื ทจ่ี งั หวดั อดุ รธานี ซึ่งสามารถใชต้ รวจสอบความช้ืนของนา้ บนพนื้ ดนิ เพ่อื ใชป้ ระเมนิ โอกาสการเกดิ ดนิ ถลม่ (ลา่ งซา้ ย) และพนื้ ทเ่ี ฝา้ ระวงั ดนิ ถลม่ ทวั่ ประเทศ(ขวา) ทส่ี ามารถวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งไดจ้ ากขอ้ มลู HSI/CCD ของดาวเทยี ม SMMS 6.5 ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมสามารถใช้ในการติดตามการบุกรุกพื้นท่ีป่าไม้ การกัดเซาะชายฝ่ัง การ กระจายของน้าเสีย และ การตดิ ตามการเกดิ มลพิษ เป็นตน้

รปู ท่ี 63 ขอ้ มลู จากดาวเทยี ม SMMS ความละเอยี ด 30 เมตร แสดงการตดิ ตามการบกุ รกุ พนื้ ทปี่ า่ ไม้ 6.6 ด้านทรพั ยากรนา้ ข้อมลู จากดาวเทียมมบี ทบาทสาคญั ในการให้ขอ้ มูลเก่ยี วกับคลองชลประทาน แม่นา้ ลาคลอง อา่ งเก็บ น้า และเขื่อน การศึกษาการแพร่กระจายของตะกอนในอ่างเก็บน้าเพ่ือการบารุงรักษาเข่ือน การทาแผนที่น้า ท่วมเพ่ือประเมินความเสียหายจากอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ในการวางแผนป้องกันน้าท่วมในฤดูน้า หลาก และบรรเทาช่วยเหลือราษฎรท่ีประสบภัยน้าท่วม ติดตามการเปล่ียนเส้นทางของแม่น้า รวมท้ังศึกษา คุณภาพของน้าที่ใช้ในการประเมินวิเคราะห์พ้ืนท่ีประสบภัยแล้ง รวมท้ังการวางแผนการสร้างแหล่งเก็บกักน้า เชน่ เขอ่ื น อ่างเก็บน้า เปน็ ตน้ รปู ที่ 64 ขอ้ มลู ภาพดาวเทยี ม SMMS ความละเอยี ด 30 เมตร แสดงการตดิ ตามสถานการณแ์ หลง่ นา้ ใน เขอื่ นปา่ สกั ชลสทิ ธิ์ จงั หวดั ลพบรุ ี

เอกสารอา้ งองิ  การสารวจระยะไกล : ภาควชิ าภมู ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์  Environmental Remote Sensing : University College London  Fundamentals of Remote Sensing : Canada Centre for Remote Sensing  Watching Over Our Planet From Space : Canada Centre for Remote Sensing  Role Of Remote Sensing in Disaster Management : University of Western Ontario  Wikipedia  National Aeronautics and Space Administration (NASA)  International Atomic Energy Agency - Nuclear Data Section


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook