รปู ที่ 54 แสดงมมุ ภาคทศิ กลบั 3.6.4 แผนผังมุมเยือ้ ง (Declination Diagram) แผนผังมุมเย้ือง ตามปกติจะปรากฏอยู่ที่กึ่งกลางของขอบระวางแผนท่ีด้านล่าง โดยบอกความสัมพันธ์ ระหว่างทิศเหนือจริง ทิศเหนือแม่เหล็ก และทศิ เหนอื กริด ท่ีแตกตา่ งกนั เพ่ือนามาใช้แก้ในการหาจุดที่อยู่บนแผนที่ โดยมุมท่ีแตกต่างกันระหว่างมุมภาคทิศเหนือทั้งสามน้ัน เราเรียกว่า “มุมเยื้อง” แผนผังมุมเยื้องประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ มุมเยื้องกริดแม่เหล็ก หมายถึง ง่ามมุมท่ีเกิดข้ึนระหว่างทิศเหนือกริดกับทิศเหนือแม่เหล็ก ค่าของ มุมเยื้องกริดแม่เหล็กน้ีจะมีค่าง่ามมุมไม่คงท่ีเน่ืองจากขั้วแม่เหล็กโลกมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยตามช่วง ระยะเวลาจึงทาใหท้ ศิ เหนือแม่เหลก็ มคี า่ เบย่ี งเบนตามขว้ั แมเ่ หล็กโลกด้วย ทิศทางของเส้นกริด แสดงดว้ ยเสน้ โคง้ ปะ เชือ่ มต่อระหวา่ งทศิ เหนอื จรงิ และทศิ เหนือกริด บันทึกการแปลงมุม จะแนะนาการแปลงค่ามุมจากทิศเหนือแม่เหล็กเป็นมุมภาคทิศเหนือกริด และการ แปลงค่ามุมภาคทิศเหนอื กริดเป็นมุมภาคทิศเหนือแม่เหลก็
รปู ที่ 55 แสดงแผนผงั มมุ เยอื้ ง 3.7 ความสูงและทรวดทรง ลักษณะรายละเอียดต่างๆ ท่ีปรากฏบนแผนท่ีภูมปิ ระเทศน้ัน จะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวกับข้อมูล พนื้ ทท่ี างภูมิศาสตร์ ทาให้สามารถวิเคราะห์รายละเอยี ดที่เปน็ ส่วนประกอบของภูมิทัศน์ของแบบตา่ งๆ หรือพื้นท่ีท่ี เป็นลกั ษณะเฉพาะไดเ้ ป็นอย่างดี ดังน้ันแผนที่ภูมิประเทศจึงเป็นแหล่งข้อมูลรวมในการประเมินลักษณะภูมิประเทศ ส่วนรายละเอียดจะมี มากน้อยข้ึนอยกู่ ับวัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนท่ี มาตราสว่ นของแผนที่ และรายละเอียดต่างๆ ที่แสดง โดยผูใ้ ช้ จะสามารถแปลความหมายได้จะต้องอาศัยวิธีวิเคราะห์รายละเอียดของสัญลักษณ์ท่ีแสดง และลักษณะรูปร่างที่ ปรากฏบนแผนท่ี เช่น ความสูงต่าของลักษณะภูมิประเทศ (Relief) แม่น้าและลาธาร (Riversand Streams) หุบเขา (Valleys) และลักษณะชายฝั่งทะเล (Coast Line) ลักษณะความสูงต่าของผิวภูมิประเทศท่ีแสดงไว้ใน แผนท่ภี มู ปิ ระเทศนั้น 3.7.1 เส้นชั้นความสูง (Contour Lines) คอื เส้นสมมุติบนพืน้ ผิวพิภพท่ลี ากไปตามจุดต่างๆ ที่มีความสงู เท่ากัน เสน้ ช้ันความสูงจะแสดงใหท้ ราบถึง ระยะในทางดิง่ ที่อยูส่ ูงหรือต่ากว่าพืน้ หลกั ฐาน ตามปกติแล้วจะเริ่มจากระดับน้าทะเลปานกลางซ่ึงถอื ว่าเป็นเส้นชั้น ความสูงทีม่ ีค่าเป็นศูนย์ และเส้นช้ันความสูงแต่ละเสน้ จะแสดงความสูงเหนือระดับน้าทะเลปานกลางข้ึนไป แผนที่ สว่ นมากจะพิมพ์เส้นชนั้ ความสงู ไว้ดว้ ยสีน้าตาล
3.7.2 ช่วงช้นั ความสงู (Contour Interval) คือ ระยะในทางดิ่งระหว่างเส้นชั้นความสูงสองเส้นท่ีอยู่ติดกัน ตามปกติค่าช้ันความสูงจะแสดงไว้ท่ี รายละเอยี ดของขอบระวางแผนท่ี 3.7.3 จุดระดับความสูง (Spot Height) คือ จุดท่ีบอกคา่ ระดับความสูง ณ ตาแหนง่ นั้นๆ รปู ที่ 56 เสน้ ชน้ั ความสงู ชว่ งชนั้ ความสงู จดุ ระดบั ความสงู 3.7.4 ชนดิ เส้นช้ันความสงู เส้นชั้นความสูงหลัก (Index Contour) คือเส้นช้ันความสูงเริ่มต้นที่ค่าระดับ 0 เมตร หรือระดับน้าทะเล ปานกลางโดยเส้นชน้ั ความสงู ทกุ เส้นที่ห้าจะเปน็ เสน้ ช้นั ความสูงหลักและมลี ักษณะเด่นชัดด้วยการใช้ความ หนาหรือสีที่แตกต่างจากเส้นชั้นความสูงปกติ พร้อมท้ังกากับด้วยค่าระดับความสูงบนเส้นที่ระยะห่างกัน อยา่ งสมา่ เสมอ
เส้นชั้นความสูงรอง (Intermediate Contour Line) คือเสน้ ชั้นความสูงที่อยู่ระหว่างเส้นชั้นความสูงหลัก จะมีจานวน 4 เส้น โดยจะเขียนด้วยเส้นท่ีบางกว่าหรือใช้สีที่อ่อนกว่าเส้นช้ันความสูงหลักและไม่มีตัวเลข คา่ ระดับความสูงกากบั ไว้ เส้นชั้นความสูงแทรก (Supplementary Contour Line) คือเส้นชั้นความสูงท่ีเขียนแทรกเพ่ิมเติม ระหวา่ งเสน้ ชั้นความสูงหลกั กับเส้นชน้ั ความสูงรอง โดยปกตแิ ล้วมกั จะเขียนแทนด้วยเสน้ ประ รปู ท่ี 57 ชนดิ ของเสน้ ชน้ั ความสงู เส้นชั้นความสูงดีเพรสชัน่ (Depression Contours Line) คือเสน้ ชั้นความสูงทแี่ สดงลักษณะของพื้นที่ท่ีมี ความสูงน้อยกว่าภูมิประเทศท่ีอยู่โดยรอบ เช่น แอ่ง บ่อ เหว เส้นชั้นความสูงชนิดน้ีจะเขียนขีดส้ันๆ เพ่ิม ลงท่ีเสน้ ช้ันความสงู ด้านใน โดยหนั ปลายขีดไปทางลาดลง
Depression Contours Line รปู ท่ี 58 แสดงเสน้ ชนั้ ความสงู ดเี พชนั่ เส้นชั้นความสูงโดยประมาณ (Approximate Contours Line) คือเป็นเส้นช้ันความสูงที่เขียนด้วย เส้นประต่อจากเส้นช้ันความสูงอ่ืนๆ หรือเขียนด้วยเส้นประทั้งหมด จะเขียนแสดงไว้บริเวณภูมิประเทศท่ี ไม่มีรายละเอียดเก่ียวกับความสูงท่ีแน่นอน ปกติมักจะเกิดจากการถ่ายภาพทางอากาศเพื่อทาแผนท่ีแล้ว ได้ภาพถา่ ยท่ีคุณภาพไม่ดี Approximate Contours Line รปู ท่ี 59 แสดงเสน้ ชน้ั ความสงู โดยประมาณ 3.7.5 ทรวดทรง การเปล่ียนแปลงในทางความสูง และรูปร่างลักษณะของภูมิประเทศ สามารถสรุปลักษณะภูมิประเทศ ออกมาได้เป็น 5 ลกั ษณะใหญ่ๆ คือ ยอดเขา สันเขา หุบเขา คอเขา และท่ตี ่า
ยอดเขา ยอดเขา รปู ที่ 60 แสดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเี่ ปน็ ยอดเขา สันเขา จมกู เขา (สนั เขาย่อย) สนั เขา จมกู เขา (สนั เขาย่อย) รปู ท่ี 61 แสดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปน็ สนั เขา
หุบเขา ซอกเขา รปู ท่ี 62 แสดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปน็ หบุ เขา คอเขา คอเขา รปู ที่ 63 แสดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปน็ คอเขา
ทีต่ ่า (กน้ บ่อ) ที่ตา่ (กน้ บอ่ ) รปู ท่ี 64 แสดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเี่ ปน็ ทตี่ า่ 3.8 ลาด 3.8.1 ลาด คือ พน้ื เอียงของพภิ พทีท่ ามมุ กับพื้นระดบั โดยสามารถพจิ ารณาจากเสน้ ชน้ั ความสงู ลาดได้ดังน้ี ลาดเสมอ (Uniform slope) คอื ลาดที่มีเส้นชัน้ ความสูงโดยจะมรี ะยะหา่ งเทา่ ๆ กัน ลาดเว้า (Concave) คือ ลาดแบบนี้จะแอ่นลง โดยเส้นชั้นความสูงจะอยู่ชิดกันในตอนบนและห่างกันใน ตอนล่างของลาด ลาดนูน (Convex) คือ ลาดแบบน้ีจะนูนขึ้นในตอนบนของลาด โดยเส้นช้ันความสูงจะห่างกันในตอนบน และชิดกนั ในตอนล่างของลาด 3.8.2 ความลาด คอื อัตราสว่ นของระยะทางตามแนวยนื ต่อระยะทางตามแนวนอน
รปู ที่ 65 แสดงความลาด ความลาด = ระยะตามแนวยืน / ระยะตามแนวนอน 3.8.3 การบอกค่าความลาด สามารถบอกได้ 3 วธิ ีดว้ ยกนั คอื ความลาดคิดเปน็ เปอร์เซ็นต์ เป็นวธิ ที ่ีงา่ ยและดีท่สี ดุ ในการพิจารณาหาค่าของลาด ตัวอย่าง การหาค่าของลาดเป็นเปอร์เซ็นต์ เช่น ลาด 1 เปอร์เซ็นต์คือลาดที่สูงขึ้นหรือต่าลง 1 หน่วยต่อระยะตาม แนวนอน 100 หน่วย หรือลาด 10 เปอร์เซ็นต์ คือ ลาดท่ีสูงขึ้นหรือต่าลง 10 หน่วยต่อระยะตามแนวนอน 100 หน่วย สูตร คา่ ของลาดเป็นเปอร์เซ็นต์ = (ระยะตามแนวยนื / ระยะตามแนวนอน) x 100 ความลาดคิดเปน็ มิลเลยี ม ตัวอย่าง การหาค่าของความลาดจากพื้นราบกับพ้ืนเอียง ลาด 1 มิลเลียมคือลาดที่สูงขึ้นหรือต่าลง 1 หน่วยต่อ ระยะตามแนวนอน 1,000 หน่วย (โดยที่การคิดค่าของลาดเป็นมิลเลียมจะต้องมีมุมไม่เกิน 350 มิลเลียม ถึงจะ สามารถใชส้ ตู รการคิดความลาดเป็นมลิ เลียมน้ไี ด)้
สูตร คา่ ของลาดเป็นมิลเลียม = (ระยะตามแนวยนื / ระยะตามแนวนอน) x 1,000 ความลาดคิดเปน็ องศา ตัวอย่าง การหาค่าของลาดจากพื้นราบกับพ้ืนเอียงเช่นเดียวกับลาดคิดเป็นมิลเลียม โดยลาด 1 องศา คือลาดท่ี ระยะตามแนวยืนสูงขึ้นหรือต่าลง 1 หน่วยต่อระยะตามแนวนอน 57.3 หน่วย (โดยท่ีการคิดค่าลาดเป็นองศา จะตอ้ งมีมมุ ไม่เกนิ 20 องศา ถึงจะสามารถใชส้ ูตรการคดิ ความลาดเปน็ องศานี้ได้) สตู ร ค่าของลาดเป็นองศา = (ระยะตามแนวยืน / ระยะตามแนวนอน) x 57.3
บทที่ 4 ประโยชน์ของแผนที่ 4.1 ดา้ นการเมืองการปกครอง เพื่อใช้ในการออกแบบ วางแผน กาหนดขอบเขต และบริหารงานในด้านต่างๆ รวมท้ังเป็นข้อมูลที่สาคัญ สาหรับรักษาความมั่นคงของประเทศชาติ เพราะสามารถนามาใช้ในการวางแผน หรือแก้ไขสถานการณ์ที่อาจ เกิดขึ้นได้ เช่น บริเวณตามแนวพรมแดนระหว่างประเทศ เป็นต้น โดยจาเป็นต้องอาศัยแผนท่ีในการวางแผน ดาเนนิ การเพอ่ื เตรียมรับมือหรอื แก้ไขสถานการณท์ ่ีอาจเกิดข้ึนได้อย่างถูกต้อง 2 34 1 1. ราชอาณาจักรไทย 2. สาธารณรัฐแหง่ สหภาพพมา่ 5 3. สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 4. สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม 5. ราชอาณาจักรกมั พูชา รปู ท่ี 66 ขอบเขตประเทศไทยกบั ประเทศเพอื่ นบา้ น 4.2 ด้านการทหาร การดาเนินงานและพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของทหาร จาเป็นต้องมีข้อมูลสภาพ ภูมิศาสตร์ ประกอบด้วย ข้อมูลตาแหน่งของส่ิงแวดล้อมต่างๆ ข้อมูลเส้นทาง ระยะทาง ความสูง เพื่อนามาใช้ใน การอา้ งอิง และสามารถนามาใช้วางแผนงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
รปู ที่ 67 แผนท่ี L7018 บรเิ วณเขตชายแดน (อา้ งองิ จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=688949) 4.3 ด้านเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจเป็นหนึ่งในปัจจัยในการพัฒนาประเทศ รวมท้ังส่งผลต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ดังน้ัน ทุกประเทศจึงมีการวางแผนและพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง สาหรับการดาเนนิ งานเพ่อื พัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละ ภูมิภาคหนึ่งในข้อมูลท่ีสาคัญ คือ แผนที่ โดยแผนที่จะถูกนามาใช้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เป็น ข้อมูลพ้ืนฐานเพ่ือให้ทราบตาแหน่งของพ้ืนท่ี สภาพทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และแผนท่ียังช่วยให้เข้าใจ เก่ยี วกับภาพรวมและความสมั พันธร์ ะหวา่ งพ้ืนท่ไี ด้มากขนึ้ ทาใหว้ างแผนและพัฒนาเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
รปู ท่ี 68 พน้ื ทคี่ วามเหมาะสมตอ่ การปลกู ขา้ วของจงั หวดั พษิ ณโุ ลก (อา้ งองิ จาก สานกั วจิ ยั และพฒั นาขา้ ว กรมการขา้ ว) 4.4 ดา้ นสังคม สภาพแวดล้อมทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ สิ่งท่ีเห็นชัดได้อย่างชัดเจน คือ สภาพแวดล้อมทาง ภูมิศาสตร์ซึ่งทาให้สภาพแวดล้อมทางสังคมเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการศึกษาสภาพการเปล่ียนแปลงต้องอาศัย แผนที่เป็นเครอ่ื งมอื ในการวางแผนพัฒนาสังคมเพอ่ื ให้เป็นไปในแนวทางท่ีเหมาะสมและถกู ต้อง
รปู ที่ 69 ผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร (อา้ งอิงจาก สานกั ผงั เมอื ง กรงุ เทพมหานคร และ land.co.th) 4.5 ด้านทรัพยากรนา้ การนาแผนท่ีมาใช้เพ่ือทาให้รู้ถึงข้อมูลเกี่ยวกับแม่น้าและการไหลของน้า อ่างเก็บน้า ระบบการ ชลประทาน เพื่อที่จะสามารถนาเอาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์และจัดการทรัพยากรน้าได้อย่างเป็นระบบและเกิด ประโยชนส์ ูงสุด
รปู ท่ี 70 แผนทป่ี รมิ าณนา้ ฝน ภายใตโ้ ครงการกาหนดคา่ ดชั นคี วามชมุ่ ชน้ื ของดนิ เพอ่ื สนบั สนนุ การเตอื นภยั ลว่ งหนา้ นา้ ทว่ ม ฉบั พลนั – แผน่ ดนิ ถลม่ (อา้ งองิ จาก http://sigmahydro.com/)
4.6 ดา้ นทรัพยากรปา่ ไม้ ทาให้รู้ถึงข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของป่าไม้และการเปล่ียนแปลงพ้ืนที่ของป่าไม้เพื่อที่จะสามารถนา ข้อมลู มาทาการวางแผนในการจัดการทรพั ยากรดา้ นป่าไม้รวมทั้งการอนุรักษท์ รัพยากรป่าไม้ได้อย่างมีแบบแผน รปู ท่ี 71 แผนทจ่ี าแนกเขตการใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรและทด่ี นิ ปา่ ไมใ้ นเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ (อา้ งองิ จาก สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร)
4.7 ด้านทรัพยากรแร่ เพ่ือให้ทราบถึงแหล่งทรัพยากรที่มีอยู่และสามารถวางแผนในการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้ อยา่ งมรี ะบบและนามาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ไดส้ ูงสุด รปู ที่ 72 แผนทตี่ าแหน่งพบแรข่ องประเทศไทย (อา้ งอิงจาก กรมทรพั ยากรธรณี และ mne.eng.psu.ac.th)
4.8 ดา้ นการท่องเที่ยว แผนท่ีมีความจาเป็นต่อนักท่องเท่ียวเพอื่ ทจ่ี ะเปน็ การบอกให้รจู้ ักสถานท่ีท่องเที่ยวในแหลง่ ๆ นนั้ ได้งา่ ยข้ึน และยงั เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการเดินทางหรือเลือกสถานทีท่ ่องเท่ยี วได้ตามความต้องการ รปู ท่ี 73 แผนทท่ี อ่ งเทยี่ วจงั หวดั นครราชสมี า (อา้ งองิ จาก paiduaykan.com)
เอกสารอา้ งองิ โครงการประยุกต์ใชป้ ระโยชน์จากดาวเทียมอเนกประสงค์ขนาดเล็ก (2554) วชิ าแผนที่ - กรมแผนทีท่ หาร แผนท่ภี ูมปิ ระเทศชดุ L7018 ระวาง 5134I - กรมแผนทที่ หาร คมู่ ือ “ภูมิสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรแ์ ละโปรแกรมทางภูมศิ าสตร์เบอื้ งต้น” - กรมทรัพยากรนา้ แผนท่ีและหลักการอา่ นแผนที่ - สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) แผนทแี่ ละความเขา้ ใจเก่ยี วกับแผนท่ี, ทวี ทองสว่าง – สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์ เสน้ ชน้ั ความสงู (Contour Lines), ร.ศ. วชิ ัย เย่ยี งวีรชน การออกแบบสารสนเทศบนแผนท่สี ัมผัสสาหรับเด็กบกพร่องทางสายตาโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ , มานิต เปนะนาม กรมแผนทท่ี หาร ศนู ย์กรรมวิธีขอ้ มูล สว่ นวิชาทหาร โรงเรียนนายรอ้ ยพระจุลจอมเกลา้ Wikipedia
Search