Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นพลักษณ์ 9 ลักษณ์ 9 นิสัยคน

นพลักษณ์ 9 ลักษณ์ 9 นิสัยคน

Published by จิณณะ สอนอุ่น, 2022-08-26 15:05:06

Description: นพลักษณ์ 9 ลักษณ์ 9 นิสัยคน

Search

Read the Text Version

นพลักษณ์ (Enneagram) คอื อะไร? คนแตล่ ะลกั ษณม์ ีลักษณะอย่างไร? Highlights • นพลักษณ์หรอื เอ็นเนียแกรม (Enneagram) คอื ศาสตร์เกย่ี วกบั การเขา้ ใจผคู้ นและบุคลิกภาพซงึ่ จะแบง่ คนออกเป็น 9 ประเภท โดยทแี่ ตล่ ะประเภทนั้นจะมีพฤตกิ รรม แรงจูงใจในการใชช้ ีวติ หรือมมุ มองทม่ี ีตอ่ โลกแตกต่างกนั ออกไป • นพลกั ษณ์เป็นศาสตร์ที่มตี น้ กำเนิดจากศาสนาซูฟตี งั้ แต่โบราณและเปน็ ท่รี ู้จักในโลกตะวนั ตกเมือ่ ศตวรรษท่ี 20 จนเป็น ทแ่ี พรห่ ลายในทุกวนั น้ี • นพลกั ษณ์ช่วยทำใหผ้ ู้คนได้ตระหนักรู้เก่ยี วกบั ตนเองไดอ้ ยา่ งลึกซึ้ง จงึ ไดร้ บั ความนยิ มให้เปน็ เครอ่ื งมอื สำหรบั การ พฒั นาบุคลากรในองค์กร การพัฒนาภาวะผนู้ ำ และการสรา้ งทมี เวิร์ค เนอ้ื หาในบทความ 1. นพลกั ษณ์ (Enneagram) คอื อะไร? 2. ประวัตทิ ี่มาของนพลักษณ์

3. รายละเอยี ดเบ้ืองตน้ ของลักษณ์ทัง้ 9 ลกั ษณ์ 4. โครงสร้างและการทำงานของนพลักษณ์ 5. ปญั ญา 3 ฐาน (The 3 Centers) 6. สภาวะปกี (Wing) 7. สภาวะลกู ศร (Arrow) 8. ลักษณ์ย่อย (Subtypes) 9. นพลักษณ์สำหรบั พฒั นาองคก์ ร 10. การพัฒนาศกั ยภาพผูน้ ำ 11. การสรา้ งทมี เวิร์ค 12. การพฒั นาตนเอง นพลักษณ์ (Enneagram) คอื อะไร? นพลกั ษณ์ (Enneagram) คือ ศาสตร์ทใ่ี ช้ในการทำความเขา้ ใจผคู้ นจากลักษณะบคุ ลกิ ภาพ ความตอ้ งการ และกลไกทาง จิตใจ โดยแบ่งลกั ษณะบุคลิกภาพของมนษุ ยแ์ บง่ ออกเปน็ 9 กลมุ่ หรอื เรียกวา่ 9 ลักษณ์ ซง่ึ จะช่วยทำใหเ้ ราเขา้ ใจตัวเองและคน อื่น เพือ่ นำไปส่กู ารพัฒนาและมีชีวติ ท่ดี ขี น้ึ แผนภาพทีแ่ สดงถงึ นพลกั ษณ์ (Enneagram) จะเป็นแผนภาพของวงกลมทีม่ ีจดุ อยทู่ ั้งหมด 9 จดุ และมีลูกศรหรือเสน้ ท่เี ชือ่ มโยง กันระหวา่ งจดุ ซ่งึ • จุดทอ่ี ยู่บนวงกลมทง้ั 9 จุด แสดงถึง ลักษณ์ (Enneagram type) ทงั้ 9 ลกั ษณห์ รอื บคุ ลกิ ภาพ 9 แบบ • ลูกศรหรอื เสน้ ท่เี ชอ่ื มโยงกันระหว่างจดุ แสดงถึง ทศิ ทางของสภาวะลูกศร (arrow) ซึง่ เปน็ พลวตั (type dynamic) ของคนแต่ละลักษณ์ โดยระบบของนพลกั ษณ์จะสามารถแสดงความแตกตา่ งของผู้คนไดม้ ากกวา่ 27 รปู แบบ และมีการเปลี่ยนแปลงพลวตั ของ ลกั ษณท์ แ่ี สดงออกในสถานการณ์ท่แี ตกต่างกนั ไป

ปจั จุบนั นพลกั ษณ์เป็นที่นยิ มในการศึกษาของศาสตรส์ มยั ใหมแ่ ละถูกใช้อยา่ งแพร่หลายท่วั โลกทั้งในดา้ นจติ วทิ ยาการปรกึ ษา การเข้าใจตนเอง ธุรกจิ และการศกึ ษา ประวัตทิ ีม่ าของนพลักษณ์ นพลักษณ์ (Enneagram) มีท่มี าจากคำสอนโบราณของกลมุ่ อสิ ลามนกิ ายซูฟีซง่ึ มมี าอยา่ งยาวนานกว่าพันปี แต่เดมิ ถกู ถา่ ยทอดผ่านการเลา่ แบบปากตอ่ ปาก ซ่ึงจะช่วยทำให้คนแต่ละคน สามารถถ่ายทอดบุคลกิ ภาพของตวั เองออกมาได้ เหมือนทีห่ ลายๆ คนได้มปี ระสบการณ์ตรงในเวริ ค์ ช็อปนพลักษณ์ ที่เร่มิ แรกอาจเหน็ ว่าแตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งมาก แต่เมอื่ พวกเขาไดผ้ า่ นกระบวนการ ในเวริ ์คชอ็ ป พวกเขากลับค่อยๆ เข้าใจตัวเองชัดเจนขึ้น ร้จู กั ความ เหมอื นและความแตกต่างของผ้คู นมากข้ึน นพลกั ษณ์ (Enneagram) เปน็ ท่ีแพร่หลายในโลกตะวันตกมากขึ้นโดย G.I. Gurdjieff ซงึ่ นำองค์ ความรู้เร่ืองนพลักษณ์มาใชใ้ นการสอนในประเทศรสั เซียและแถบยุโรปในชว่ งต้นของศตวรรษที่ 20 หลงั จากน้นั Oscar Ichazo ไดน้ ำองคค์ วามรู้เกีย่ วกบั นพลกั ษณม์ าศึกษาในดา้ นจิตวทิ ยา ทำให้ นพลักษณเ์ ปน็ ทแ่ี พร่หลายมากข้นึ ในด้านจติ วิทยา แต่การศกึ ษาและการสอนของเขากย็ ังไม่ แพร่หลายมากนกั จนกระทง่ั Claudio Naranjo สรา้ งกลมุ่ ท่ีนำการเรยี นร้ทู างด้านจติ วิทยาและ จิตวญิ ญาณขน้ึ มาจนนำมาสู่หนังสือทเ่ี ก่ียวข้องกบั นพลักษณ์เล่มแรก และไดท้ ำให้นพลักษณ์ แพร่หลายถงึ ทกุ วันนี้

รายละเอียดเบอื้ งตน้ ของลักษณท์ ัง้ 9 ลกั ษณ์ • ลกั ษณ์ 1 ผูแ้ สวงหาความสมบรู ณ์แบบ เปน็ ลกั ษณ์ท่ตี ้องการ ความสมบูรณ์แบบ มักจะมกี ฎระเบียบ มาตรฐาน ใหก้ ับสง่ิ ตา่ งๆ อยูเ่ สมอ มักคิดว่าส่ิงใดควรทำสิง่ ใดไมค่ วรทำ ชอบ วิจารณส์ งิ่ ตา่ งๆ อย่างตรงไปตรงมา • ลักษณ์ 2 ผใู้ ห้ เปน็ ลักษณ์ทีช่ อบชว่ ยเหลือคนอน่ื ต้องการเป็น คนสำคญั ของคนอืน่ ให้ความสำคญั กับความสัมพันธ์ มักจะให้ ความสำคัญกบั ความตอ้ งการของคนพเิ ศษมากกว่าความ ต้องการของตัวเอง • ลกั ษณ์ 3 นักแสดง เป็นลักษณ์ท่ตี ้องการประสบความสำเร็จ จรงิ จังกับการไปให้ถึงเป้าหมาย ชอบการแขง่ ขนั ให้ความสำคัญ กับภาพลกั ษณ์ของตัวเอง สามารถปรบั เปลยี่ นตัวเองเพื่อทำให้ ตวั เองไปสูเ่ ปา้ หมายได้ • ลกั ษณ์ 4 ผ้โู ศกซ้งึ เป็นลักษณท์ ่ีมีอารมณล์ มุ่ ลึกหลากหลายโดยเฉพาะอารมณเ์ ศรา้ โหยหาสิ่งทต่ี นเองไม่มี ไมค่ อ่ ย พอใจในสง่ิ ท่ีมแี ลว้ อารมณ์แปรปรวน เปลีย่ นแปลงงา่ ย • ลักษณ์ 5 นกั สังเกตการณ์ เปน็ ลกั ษณท์ ต่ี ้องการความเปน็ ส่วนตวั สงู ตอ้ งการมี ระยะห่างระหว่างตวั เองกับคนอน่ื มกั จะแยกตวั เองออกจากอารมณ์ รูส้ ึก หมดพลังได้ง่ายเมือ่ อยกู่ ับคนอ่นื ต้องการเวลาสว่ นตวั สงู • ลักษณ์ 6 นักปจุ ฉา เป็นลักษณ์ทีม่ ีคำถามกบั ส่ิงรอบตัว คาดการณเ์ หตกุ ารณเ์ ลวรา้ ยทอี่ าจเกดิ ข้นึ มีความสงสยั ตลอดเวลา หรืออาจเปน็ คนกล้าได้กลา้ เสีย เตรียมตวั เองให้พรอ้ ม ทจ่ี ะรบั มือหรือปะทะกับส่ิงทีอ่ าจมาคกุ คามได้ตลอดเวลา • ลักษณ์ 7 ผูเ้ สพสุข เป็นลักษณ์ทม่ี องโลกในแงด่ ี ร่าเริง สนุกสนาน ชอบประสบการณ์ใหมๆ่ ไม่ชอบการผกู มัด มักมีวธิ ีทจ่ี ะทำให้ตัวเองมี ความสขุ อารมณ์ดีไดอ้ ยู่เสมอ ชอบทำสิ่งท่ีแปลกใหม่ไม่เหมือนใครตลอดเวลา • ลักษณ์ 8 เจ้านาย เปน็ ลกั ษณท์ ่ีใหค้ วามสำคญั กับการควบคุมและอำนาจ ใชช้ ีวิตเกนิ พอดี โกรธงา่ ยหายเร็ว แสดงออก ความโกรธอย่างตรงไปตรงมา ตอ้ งการปกป้องผ้อู อ่ นแอ ผูท้ ี่ถูกรงั แก เพ่อื ปกป้องความยตุ ธิ รรม

• ลกั ษณ์ 9 ผปู้ ระสานไมตรี เป็นลักษณ์ที่ชอบความสงบ สามัคคี บรรยากาศท่เี ปน็ มติ รสบายๆ ชอบช่วยเหลือคนอ่ืน รู้สึกลำบากใจมากเมือ่ ตอ้ งเผชิญกบั ความขัดแย้ง มักมองเหน็ และเข้าใจผคู้ นในมมุ มองตา่ งๆ ชอบทำตามคนอ่ืนและ หลงลมื ความต้องการของตวั เอง โครงสร้างและการทำงานของนพลกั ษณ์ ศาสตร์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับบคุ ลิกภาพสว่ นใหญม่ ักจะกำหนดตัวตนของ ผคู้ นผา่ นบุคลิกภาพ แต่นพลกั ษณ์ (Enneagram) ไม่ไดก้ ำหนด วา่ ตวั ตนของเราเปน็ ไปตามลักษณ์เพียงอยา่ งเดียว แต่ตวั ตน ของเรานั้นเกดิ ข้นึ จากความเปน็ ลักษณท์ ี่เราสรา้ งขน้ึ เพ่ือ รบั มือกับโลกภายนอก จนทำใหเ้ กิด กลไกต่างๆ ทใ่ี ชร้ ับมอื โลกภายนอกตามแต่ละลกั ษณ์ และกอ็ าจทำใหเ้ กิดปญั หาขน้ึ จากการยดึ ตดิ กับการใชก้ ลไกเหล่านั้น ความ เมือ่ เราเข้าใจเก่ยี วกบั นพลักษณ์แลว้ เราจะสามารถตระหนักรู้ไดถ้ งึ ภายนอกมากย่งิ ข้นึ เป็นไปไดใ้ นแบบอน่ื ๆ และมอี ิสระในการเลือกการตอบสนองตอ่ โลก นพลกั ษณ์ (Enneagram) มีโครงสร้างและการทำงานทอ่ี าจซับซ้อนมากกว่าระบบบคุ ลิกภาพแบบอน่ื แตค่ วามซับซ้อนเหลา่ น้ี จะสามารถอธบิ ายความคิด การแสดงออก หรือบคุ ลิกภาพทแ่ี ต่ละคนมีได้เป็นอย่างดี ซงึ่ โดยหลักๆ แลว้ โครงสร้างของนพ ลกั ษณม์ รี ะบบดงั น้ี • ปัญญา 3 ฐาน (The 3 Centers) • สภาวะปกี (Wing) • สภาวะลูกศร (Arrow) • ลักษณย์ ่อย (Subtypes)

ปัญญา 3 ฐาน (The 3 Centers) นพลักษณแ์ บง่ ผู้คนในลักษณ์ตา่ งๆ ผ่านปญั ญา 3 ฐาน ซ่ึงมกั จะบง่ บอกวา่ คนแตล่ ะลักษณ์ใหค้ วามสำคญั เก่ยี วกบั เร่ืองอะไร มกั จะใชก้ ระบวนการ อะไร และมีการแสดงออกอยา่ งไร โดย • ฐานกายหรอื ศนู ย์กาย (body) คือ ลกั ษณท์ ม่ี ีความถนดั ในการ แสดงออกผ่านสญั ชาตญาณ การเคล่อื นไหว การลงมือทำ และ ความตระหนกั รู้ทางร่างกาย ได้แก่ ลกั ษณ์ 8 ลักษณ์ 9 และ ลกั ษณ์ 1 • ฐานใจหรอื ศนู ยใ์ จ (heart) คือ ลักษณท์ ีม่ ีความถนัดในการใช้ อารมณค์ วามรู้สึก มีประสบการณ์เกย่ี วกบั ความรู้สกึ อยา่ งล่มุ ลกึ และเช่ือมโยงกับผ้คู น ได้แก่ ลกั ษณ์ 2 ลักษณ์ 3 และลักษณ์ 4 • ฐานหวั หรือศนู ย์หัว (head) คือ ลกั ษณ์ทมี่ คี วามถนดั ในการใช้ ความคิด มกั จะแสดงออกผ่านความคิด การวิเคราะห์ และการให้ เหตุผล ไดแ้ ก่ ลักษณ์ 5 ลกั ษณ์ 6 และลักษณ์ 7 อา่ นเพ่มิ เติมเกีย่ วกับปญั ญา 3 ฐานไดท้ ี่ ปญั ญา 3 ฐาน - Head Heart Hand

สภาวะปีก (Wing) สภาวะปีก (wing) คือ ลักษณท์ ั้ง 2 ลกั ษณ์ ทีอ่ ยเู่ คียงข้างลกั ษณห์ ลัก ซ่งึ จะทำให้ แตล่ ะคนมีการแสดงออกท่แี ตกตา่ งกันออกไปตามอิทธิพลของลักษณท์ อ่ี ยู่เคยี ง ข้างลักษณ์นัน้ ซง่ึ คนแตล่ ะคนจะมีสภาวะปีกที่แตกต่างกนั หรือไมจ่ ำเปน็ ที่ จะต้องมีสภาวะปีกอยใู่ นคนๆ นั้นกไ็ ด้ ยกตัวอย่างเชน่ ลักษณ์ 2 สามารถมีสภาวะปกี ได้ 2 รปู แบบ คอื ปีก 1 หรอื ปีก 3 ซ่ึงเป็นลักษณ์ท่ีอยเู่ คยี งข้างลักษณ์ 2 หากคนลกั ษณ์ 2 มีปกี 1 พวกเขาก็ได้รับ อทิ ธพิ ลการแสดงออกและลักษณะบุคลิกภาพของคนลักษณ์ 1 ดว้ ย สภาวะปกี เป็นสภาวะที่อาจมีการเปลีย่ นแปลงไดต้ ามสภาพแวดลอ้ ม ปมปญั หาทพ่ี บ และการเรียนรู้ ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงของ สภาวะปกี ทีเ่ กิดข้ึนกอ็ าศัยระยะเวลายาวนาน นอกจากนน้ั สำหรับผ้ทู ี่เรยี นนพลกั ษณแ์ ล้วการนำคณุ ลกั ษณะทด่ี ขี องสภาวะปีก ของตวั เองทงั้ 2 ข้างมาใช้ก็เปน็ วธิ ีที่จะชว่ ยทำให้เกดิ การพัฒนาตวั เองตามลักษณ์ได้ด้วย สภาวะลกู ศร (Arrow) สภาวะลูกศร (arrow) คอื สภาวะท่แี ตล่ ะคนมีพฤตกิ รรมและการ แสดงออกเปลยี่ นแปลงไป ซง่ึ ความเปลยี่ นแปลงของพฤตกิ รรมและ การแสดงออกของคนแต่ละลักษณ์น้ันจะเปลย่ี นไปตามสภาวะทม่ี ั่นคง และสภาวะที่ไม่ม่ันคง ในนพลักษณแ์ ต่ละคนจะมีบุคลกิ ภาพใน 3 สภาวะ คอื • สภาวะปกติ คอื สภาวะตอนทเี่ ราใช้ชวี ิตตามปกติ ไม่ได้รสู้ ึกเครยี ดหรอื มั่นคงมากนกั • สภาวะทีไ่ ม่มั่นคง คอื สภาวะที่เรารู้สึกเครียด กดดัน อยู่ในสถานการณ์ที่ แปลกออกไปจากความเคยชนิ กำลงั จะต้องเผชญิ หน้ากบั สงิ่ ทหี่ ลกี เลยี่ ง • สภาวะท่ีมน่ั คง คือ สภาวะท่ีเรารู้สกึ ว่าสามารถควบคมุ ส่ิงตา่ งๆ ได้ เหน็ วา่ ส่ิงต่างๆ กำลงั เปน็ ไปตามที่ต้องการ หรอื ชว่ งเวลาที่มีความม่นั คงในชวี ิต

เมอื่ เราอยใู่ นสภาวะทไ่ี ม่มนั่ คง ลกั ษณข์ องเราจะมกี ารแสดงออกและไดร้ ับอิทธพิ ลตามลกั ษณอ์ ื่นที่อยู่ในทศิ ทางตามลกู ศรเช่น ลกั ษณ์ 1 จะมกี ารแสดงออกและได้รบั อิทธพิ ลของลกั ษณ์ 7 เมือ่ เราอยใู่ นสภาวะทมี่ ัน่ คง ลักษณข์ องเราจะมีการแสดงออกและได้รบั อิทธิพลตามลกั ษณ์อน่ื ที่อยใู่ นทิศทางทวนลกู ศรเช่น ลักษณ์ 1 จะมกี าร แสดงออกและได้รับอิทธพิ ลของลกั ษณ์ 5 นอกจากนนั้ สำหรบั ผทู้ ่ีเรียนนพลักษณแ์ ลว้ การนำคณุ ลักษณะท่ดี ีของ สภาวะลูกศรทั้ง 2 สภาวะมาใชก้ ็เป็นวธิ ีทีจ่ ะชว่ ยทำใหเ้ กดิ การพฒั นา ตัวเองและดูแลตวั เองตามลักษณ์ไดด้ ว้ ย ลักษณ์ย่อย (Subtypes) ลักษณ์ยอ่ ย (subtypes) คือ ลักษณะความใสใ่ จของคนในแต่ละลักษณ์ทีแ่ สดงออกตามสัญชาตญาณพื้นฐานซ่งึ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท จนทำใหค้ นแต่ละลกั ษณม์ กี ารแสดงออกทแี่ ตกต่างกนั เปน็ 27 แบบ โดยท่ีลกั ษณย์ อ่ ยท้ัง 3 ประเภทคอื • ลกั ษณ์ยอ่ ยแบบผดงุ ตน (self-preservation) คือ ลกั ษณย์ ่อยทีใ่ ห้ความสำคญั กบั การเอาชวี ิตรอด สง่ิ ของวัตถุ หรือ ส่งิ ของทางกายภาพเพอื่ ที่จะสรา้ งความมน่ั คงปลอดภยั ให้กับชีวิตของตวั เอง โดยที่พลงั ของคนทอ่ี ยใู่ นลกั ษณย์ อ่ ยกลุ่มน้ี จะถูกใชไ้ ปกับการสรา้ งความม่ันคง ปลอดภยั ให้กับตัวเองตามลกั ษณะของคนแต่ละลักษณ์ • ลักษณ์ย่อยแบบความสมั พนั ธ์ (one-to-one, sexual) คือ ลกั ษณย์ อ่ ยท่ีให้ความสำคัญกับความสัมพนั ธก์ ับคนใด คนหนึ่ง ซึง่ ความสัมพันธ์เหล่านัน้ อาจเปน็ ความสมั พันธ์กบั คนในครอบครวั ความสมั พนั ธแ์ บบโรแมนตกิ เพือ่ น หรอื สัตวเ์ ลย้ี งกไ็ ด้ โดยพลังของคนท่อี ยู่ในลกั ษณ์ยอ่ ยกลุ่มนจี้ ะถูกใชไ้ ปกบั การสร้างความสมั พันธก์ ับคนอีกคนหนึ่งตาม ลกั ษณะของคนแต่ละลกั ษณ์ • ลกั ษณ์ย่อยแบบสังคม (social) คือ ลักษณ์ย่อยท่ีใหค้ วามสำคญั กบั การเปน็ สว่ นหนึง่ การไดร้ ับความเคารพ การเป็น คนที่จดจำ หรอื มคี วามสัมพันธก์ บั กลมุ่ โดยกลุ่มนี้หมายถึงครอบครวั ชุมชน กลมุ่ เพื่อน ท่ีทำงาน หรอื สงั คมก็ได้ โดย พลงั ของคนท่อี ยู่ในลักษณ์ย่อยกลุ่มน้จี ะถกู ใชไ้ ปกับการเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกลุ่มนัน้ ตามลักษณะของคนแต่ละลักษณ์

ลักษณ์ยอ่ ยของคนแตล่ ะลักษณส์ ามารถเปล่ียนแปลงไดต้ ามสภาพแวดลอ้ ม ปมปัญหาทพ่ี บ และการเรยี นรู้ แตพ่ วกเขาก็ยงั มี ลกั ษณ์ยอ่ ยทเี่ ดน่ ที่สุดอยู่ และมักจะมลี กั ษณ์ย่อยที่ละเลยไปจนอาจเกดิ เป็นความทา้ ทายของชวี ติ นอกจากน้ันสำหรับผทู้ เ่ี รียนนพลักษณแ์ ล้วการนำคุณลักษณะทีด่ ีของลักษณ์ยอ่ ยท้งั 3 ลักษณ์ย่อยมาใช้ก็เป็นวิธีทีจ่ ะช่วยทำให้ เกดิ การพฒั นาตวั เองและดูแลตัวเองตามลักษณไ์ ด้ด้วย ประโยชน์ของนพลกั ษณส์ ำหรับพฒั นาองค์กร นพลักษณ์ไดร้ บั ความนิยมในวงการธุรกิจเพราะเปน็ เครื่องมอื ท่ีชว่ ยทำใหบ้ คุ ลากรในองคก์ รได้ร้แู นวทางใน การพัฒนาตวั เองทไี่ ม่เหมือนศาสตร์ไหน ไดเ้ ข้าใจความ แตกตา่ งของแตล่ ะคน รจู้ ุดออ่ นจุดแขง็ ของตวั เอง ช่วยทำ ให้เกดิ การทำงานร่วมกันเปน็ ทมี และพัฒนาศักยภาพของ ผู้นำได้ การพฒั นาศักยภาพผนู้ ำ การสรา้ งภาวะผนู้ ำ (leadership) ในยคุ สมยั ใหม่ ต่างไปจากเดิม เพราะผนู้ ำในยุคใหมไ่ มใ่ ชแ่ ค่คนท่ีมี หนา้ ทีค่ วบคมุ งาน แต่มกั จะเกย่ี วขอ้ งกบั วธิ ีการ บรหิ ารคน ทำให้พวกเขาจำเป็นที่จะต้องรู้จัก ตวั เอง เห็นตัวเองอย่างรอบดา้ น รวู้ ิธีส่ือสารกบั คนท่ีแตกต่างกัน และเขา้ ใจความอ่อนไหวของคน แตล่ ะคน การเรยี นรเู้ ร่อื งนพลกั ษณส์ ำหรับหวั หนา้ ผู้บรหิ ารหรอื ผู้นำในองค์กร จะช่วยทำให้ผู้นำได้เหน็ จุดแขง็ และจดุ ออ่ นของตวั เอง เทา่ ทันปญั หาที่อาจเกิดขนึ้ จากความเป็นลกั ษณ์ เหน็ สไตลค์ วามตอ้ งการท่แี ตกตา่ งกนั ในตวั คน และเรียนรวู้ ธิ กี ารสอ่ื สารท่ี เหมาะสมกับคนแต่ละลักษณ์

การสร้างทีมเวิรค์ ทมี ทด่ี เี ริม่ ตน้ ท่ีการเขา้ ใจกนั ซึ่งการเรยี นรู้เรือ่ งนพลกั ษณจ์ ะช่วยทำให้ สมาชกิ ในทีมเข้าใจความแตกต่างของคนแต่ละลักษณ์ สิ่งทคี่ นแต่ละ ลกั ษณใ์ ห้ความสำคัญ แนวโนม้ ปญั หาท่ีอาจเกิดข้ึนจากการแสดงออก ของคนในทีม วิธกี ารแสดงออกของคนแตล่ ะลกั ษณ์ และแนวทางในการ ทำงานกบั คนลักษณ์ต่างๆ เพอื่ ทำให้เกิดทมี เวิรค์ การพัฒนาตนเอง นพลักษณ์เปน็ เครื่องมือทน่ี ่าท่ึงมากสำหรบั การเรียนรู้และ การพัฒนาตัวเองในระยะยาว เพราะนพลักษณจ์ ะช่วยชี้ให้ แตล่ ะคนได้เหน็ ถงึ กลไกที่คนแต่ละลกั ษณม์ ักจะใช้ไปโดยไม่ รตู้ วั ซ่ึงการใช้กลไกเหล่านก้ี น็ ำมาซ่งึ ปญั หาในชวี ิตดว้ ย เช่นกนั การตระหนักรู้ในลกั ษณ์ของตวั เองเพื่อท่จี ะเห็นปญั หาจากความเป็นลักษณเ์ ป็นวธิ ีที่จะชว่ ยทำให้แต่ละคนสามารถกา้ วพน้ ข้อจำกดั ของตัวเอง เรียนรู้วธิ กี ารปรับตวั และมที างเลอื กอนื่ ๆ ทส่ี ามารถทำได้เพื่อที่จะพฒั นาตวั เองเพ่อื ให้ชวี ิตมีความสมดุล มากยิ่งขนึ้ แหล่งอ้างองิ และข้อมลู เพ่ิมเตมิ • Chestnut, Beatrice. 2013. The complete Enneagram. Berkeley: She Writes Press. • Palmer, Helen. 1991. The Enneagram: Understanding Yourself and the Others In Your Life. • Wagele, Elizabeth, and Renee Baron. 1995. Are You My Type, Am I Yours? : Relationships Made Easy Through The Enneagram.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook