1
สารจากคณบดี บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรมมีเป้าหมายเพื่อเป็น หน่วยงานที่จัดการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการ ทางด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยี นวัตกรรมและทางด้านการ บริหารธุรกิจเฉพาะทางที่ตรงต่อความต้องการของภาครัฐ และเอกชน ในปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาที่มุ่งมั่นใน การรังสรรค์ผู้นำมืออาชีพ ที่มีทักษะการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ มี แนวคิดการทำงานร่วมกับผู้อื่น แนวคิดเชิงนวัตกรรม มีความเป็นผู้นำ และความเป็นผู้ประกอบการ นอกจากนั้นยังมุ่งเน้นให้บัณฑิตที่จบ ออกไปมีคุณสมบัติเป็นผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงในสังคม ซึ่งในปี การศึกษา 2564 จะมีการปรับใช้ 3 หลักสูตรที่ปรับปรุงใหม่เพื่อสร้าง ความแตกตา่ ง และเชอื่ มโยงกบั ความเปน็ School of Innovation คณะฯ มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการการเรียนการ สอนโดยดำเนินบนกรอบมาตรฐานของ Association to Advance Collegiate Schools of Business (AACSB) และจะเข้ารับการตรวจ ประเมินในรูปแบบของ Virtual visit ตน้ ปี 2565 ทีจ่ ะถึงนี้ มิติทางด้านงานบริการวิชาการทางคณะฯ นั้นมีการดำเนินงาน มาอยา่ งต่อเน่อื ง ไมว่ า่ จะเปน็ งานฝึกอบรม งานวิจัยเชงิ ประยกุ ต์หรือการ ให้คำปรึกษาให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ การร่วมมือกับภาคธุรกิจเพื่อสร้าง ความร่วมมอื ทางวิชาการในการสนบั สนนุ องคค์ วามรู้และพฒั นาบุคลากร ในวงกว้าง การร่วมกับภาครัฐและภาคสังคมในการดำเนินงานพัฒนา ชมุ ชน รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ได้รวบรวมผล การดำเนินงานตามเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัย โดยจักเห็นว่าบัณฑิต วทิ ยาลัยมกี ารดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตามพันธกิจทีต่ ั้งไว้ตลอดท้ังปี ผศ.ดร.วรพจน์ องั กสิทธ์ิ คณบดี บัณฑิตวทิ ยาลยั การจดั การและนวตั กรรม 2
บทสรุปผูบ้ ริหาร 3
สารบญั 05 ข้อมลู พื้นฐาน GMI 06 ประวตั ิความเปน็ มา 09 วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ คา่ นยิ มองค์กร 08 อาคารและสถานท่ี 10 แผนยทุ ธศาสตร์ 15 Organization Chart 14 รายนามคณะกรรมการ 13 รายนามทีมบริหาร 12 บุคลากรของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม 11 หลกั สูตรของบณั ฑติ วทิ ยาลัยการจดั การและนวตั กรรม 21 ผลการดาเนินงานตามแผนยทุ ธศาสตร์ 21 เปา้ หมายท่ี 1 ผลิตบณั ฑิตทมี่ คี ุณภาพสกู่ ารเปน็ 33 เปา้ หมายที่ 2 สร้างความเป็นเลศิ ทางการวจิ ัย งานสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม 39 เปา้ หมายท่ี 3 พฒั นา มจธ.สคู่ วามเปน็ สากล 44 เป้าหมายที่ 4 พัฒนาสมรรถนะองค์กรเพือ่ ใหบ้ รกิ ารอย่างมคี ุณภาพ 46 เปา้ หมายที่ 5 สง่ เสริมการพัฒนาท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม 47 Financial Report 48 ขอ้ มลู งบประมาณประจำปี 2564 49 ร้อยละของรายได้ – รายจา่ ยจริง ปีงบประมาณ 2564 50 ผลงานเดน่ ประจาปี 2564 51 ผลงานของนักศกึ ษา 53 ผลงานของอาจารย์ 4
01 ข้อมูลพืน้ ฐาน บณั ฑิตวิทยาลยั การจัดการและนวตั กรรม 5
ประวัติความเป็นมา บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (Graduate School of Management and Innovation) หรือที่รู้จักในชื่อ GMI นั้น ก่อตั้งขึ้น ในปี พ.ศ. 2545 จากแนวคิดของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในขณะนั้น ท่ี ต้องการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการในการพัฒนาระบบการบริหารของมหาวิทยาลัยให้มีความแข็งแกร่ง มากยิ่งขึ้น โดยมีการผลักดันให้เกิดการสร้างความแข็งแกร่งด้านการบริหารจัดการ ( Management Strengthening) โดยให้เป็นหนึ่งในเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยหรือโครงการ 6+1 Flagships ในขณะนั้น โดยเริ่มต้นจากทรัพยากรบุคคลและเครือข่ายที่มหาวิทยาลัยมีอยู่บนฐานของศาสตร์ที่เป็นจุดแข็ง ของมหาวิทยาลัย นั่นคือวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีปณิธานในการสร้างสรรค์ ทรัพยากรบุคคลท่ีพร่ังพร้อมดว้ ยทกั ษะของการเป็นนกั บริหารจัดการสมัยใหม่ พร้อมสำหรบั การแข่งขันสำหรับ ในสงั คมการทำงาน บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม จึงมีพันธกิจสำคัญในการให้บริการองค์ความรู้ทางด้าน บรหิ ารจดั การผ่านการเรยี นการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ แกผ่ สู้ นใจเรียนในระดบั ปรญิ ญาโท และ บุคคลหรือองค์กรทั้งภายในและภายนอกอื่นๆ ที่ต้องการคำปรึกษา และความช่วยเหลือในด้านบริหารจัดการ ในมิติต่างๆรวมถึงวิสัยทัศน์ของคณะในการเป็นผู้นำที่มีนวัตกรรมในการบริหารจัดการ ทางผู้บริหาร มหาวิทยาลัยต้องการสร้างหลักสูตรด้านบริหารจัดการที่มีความแตกต่างจากสถาบันอื่นที่มีหลักสูตรด้าน บริหารธุรกิจ ทั้งยังเล็งเห็นแนวโน้มของการพัฒนาประเทศที่ต้องอาศัยการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐา น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการขนส่งสนิ คา้ ในระบบโลจิสตกิ ส์ 2545 บณั ฑติ วทิ ยาลยั การจัดการและนวัตกรรมได้กอ่ ตั้งเมอ่ื ปี พ.ศ. 2545 เปิดเฉพาะหลักสูตร วทิ ยาศาสตรม์ หาบณั ฑิต 3 สาขา คอื สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ สาขาวชิ าการบรหิ าร โครงการ และสาขาวิชาการจดั การเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม คณะได้ทำการเปิดสอนในหลักสูตร บรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ อกี 2 สาขา คอื สาขาวชิ าการ 2547 จัดการโทรคมนาคมและบรอดคาสตง้ิ และสาขาวิชาการจดั การสำหรบั เปน็ ผู้ประกอบการ 2553 คณะไดท้ ำการปรับปรุงหลกั สตู รโดยมีการบูรณาการเขา้ กับศาสตร์ดา้ นบรหิ ารจดั การ ทำให้มี การปรบั ปรุงพัฒนาหลักสตู รใหมเ่ ปน็ 4 หลกั สูตรคอื 1. หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ 2. หลกั สตู รบริหารธุรกิจมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การสำหรบั การเป็นผ้ปู ระกอบการ 3. หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการ 4. หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การ 6
2554 คณะไดเ้ ร่มิ ใชห้ ลักสูตรที่ปรบั ปรุงใหมท่ ัง้ 4 หลกั สตู ร โดยยงั คงม่งุ เน้นกลุ่มผสู้ นใจเรียนหลักท่ี 2558 เปน็ วิศวกร แลว้ น้นั ทางคณะยังเลง็ เห็นกลมุ่ ผู้ที่ทำงานในภาคการผลติ ซงึ่ จบจากทาง สาย วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือผู้ท่ีมคี วามสนใจซึ่งจบทางดา้ นมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 2562 2564 คณะไดส้ มคั รเขา้ สู่การรับรองมาตรฐานจากสถาบนั The Association to Advance 2555 Collegiate Schools of Business (AACSB) เพือ่ เปน็ การพฒั นาใหม้ มี าตรฐานในการ จดั การเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจและการจัดการในระดบั สากล และมีกระบวนการประกนั ผลการเรียนร้ขู องนักศึกษา คณะไดม้ กี ารปรับปรงุ หลักสตู รในวาระครบรอบหลักสตู ร 5 ปี ทง้ั ยงั มีการปรับช่ือบาง หลกั สูตร และบางสาขาใหส้ อดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อมทางธุรกิจใน ปัจจบุ นั และอนาคต โดยหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ได้ ปรบั ชอ่ื ใหมเ่ ปน็ หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการโลจิสติกสแ์ ละซพั พลาย เชน และสาขาวชิ าการจดั การโทรคมนาคมและบรอดคาสติง้ ปรับชื่อใหมเ่ ป็น สาขาวชิ าการ จัดการธรุ กิจดิจิทลั การปรับหลักสูตรและเปล่ยี นชอ่ื หลักสูตรจาก การจดั การสำหรบั การเป็นผ้ปู ระกอบการ เป็น หลกั สูตรการจดั การสำหรับการเปน็ ผ้ปู ระกอบการเชิงนวตั กรรม ซึ่งมงุ่ เนน้ การพัฒนา 2561 ผูป้ ระกอบการใหม้ ีความเปน็ มอื อาชีพ ด้วยการบรู ณาการศาสตรด์ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีเขา้ กับการจดั การ ไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงคร้ังสำคัญคือการปรับเปล่ยี นรปู ลกั ษณ์แบรนดใ์ หมใ่ หม้ ีความทนั สมยั มากขนึ้ งา่ ยตอ่ การจดจำมากขน้ึ ทั้งยงั ใหค้ วามหมายในแงข่ องการจดั การและนวัตกรรมท่ี ชดั เจนขนึ้ คณะไดม้ กี ารปรบั ปรงุ หลักสตู รในวาระครบรอบหลักสตู ร 5 ปี ไดแ้ ก่ หลักสตู รวทิ ยาศาสตร 2563 มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การโลจิสติกส์ หลักสตู รบริหารธรุ กจิ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จดั การ และหลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการ บณั ฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวตั กรรมน้ีไดม้ ีการดำเนินงานมาแลว้ เป็นระยะเวลา 19 ปี นบั ต้งั แต่ พ.ศ. 2545 เปน็ ต้นมาจนถงึ ปัจจบุ นั GMI ผลติ มหาบณั ฑิตไปแล้ว 3,193 คน และ ปจั จุบันมนี กั ศกึ ษารวมท้งั 2 ช้ันปจี ำนวน 196 คน 7
วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ ค่านิยมองค์กร วิสัยทัศน์ (GMI VISION) “ผ้นู ำท่มี ีนวัตกรรม มีมโนธรรม และโลกยอมรบั ” (GMI will be recognized as a Global recognition, Moral integrity, Innovation leader Management School.) พันธกจิ (GMI MISSION) “รงั สรรคผ์ นู้ ำมืออาชพี พรอ้ มสร้างความกา้ วหน้าในการศึกษาด้านบรหิ ารจัดการดว้ ยการเรียนการสอนเชิงนวัตกรรม การวิจยั ที่เกยี่ วเนื่อง และการบริการวชิ าการแก่สังคมทย่ี ่ังยืน” (To craft professional leaders and advance management education through innovation-driven teaching, relevant research, and sustainable social services.) ค่านยิ มองค์กร (GMI VALUE) บัณฑิตวิทยาลยั การจัดการและนวตั กรรม มีปณิธานในการผลติ บัณฑิตทมี่ ีความรอบรแู้ ละ กระตอื รือรน้ ในการสรา้ งสรรค์พัฒนาตนเองและองคก์ ร ใหส้ ามารถดำเนนิ ธุรกรรมไดใ้ นเวทีการค้าท่กี ารแขง่ ขัน ตดั สนิ กนั ด้วยความรวดเรว็ ความเปน็ เลิศทางการใหบ้ รกิ าร เทคโนโลยีทล่ี ำ้ หน้า และพรอ้ มตอ่ การเปลย่ี นแปลง ด้วยแนวคิดที่จะผลิตบัณฑิตใหม้ ีคณุ คา่ ทั้ง 4 มิติ คอื มิติด้านความร่วมมือ (Collaboration Dimension) เน้นให้มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะ การเจราและต่อรอง ซงึ่ ถอื เปน็ ประโยชนร์ ว่ มกันของทงั้ สองฝา่ ย (Win-Win) มิติด้านนวัตกรรม (Innovative Dimension) มีความสามารถในการเรียนรู้ ความสามารถในการ ปฏิบัติ ความสามารถในการนำเสนอทางเลือกใหม่แก่ผู้บริโภคและสังคม และความคิดสร้างสรรค์ในการ แปลงโอกาสไปส่แู นวความคิดใหม่และทำใหส้ ิ่งนนั้ สามารถท่ีจะปฏิบัตใิ นเชงิ สังคมและพาณิชย์ไดจ้ ริงโดย มีแนวคดิ 9 ชนิดคอื แรงบนั ดาลใจ ใจใฝ่รู้ รอบรขู้ า่ วสาร เจา้ ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ปฏสิ ัมพันธ์ มสี ่วน ร่วม กระตนุ้ ส่งเสรมิ และบูรณาการ ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ คือ ผู้ที่สามารถสร้างนวัตกรรมทางองค์กรและนำไปปฏิบัติได้จริง คือ นักปฏิวัติทาง องคก์ ร (Organizational Revolutionist) ซ่งึ กลา้ ตัดสินใจอย่างมหี ลักการ และมอี งค์ประกอบทั้ง 9 ของ กระบวนการทางนวัตกรรม มิติของการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Dimension) เป็นผู้มีแนวคิดทางด้านธุรกิจและ เศรษฐศาสตร์ มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงกรอบความคิดของนวัตกรรมซึ่งนับว่า เป็นสูตรสำเร็จที่นำมาซ่ึงศกั ยภาพในการแขง่ ขันที่ได้เปรียบและยั่งยืน เป็นผู้นำทางด้านการเปลี่ยนแปลง 8 Change Agent และผปู้ ระกอบการทีอ่ ยู่บนฐานนวตั กรรม (Innopreneur) 8
ตราสัญลักษณ์ + อาคารและสถานที่ บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัย เปา้ หมายท่ี 4 พฒั นาสมรรถนะองคเ์กทรคเโพนโอื่ ลใยหีพบ้ รระจกิ อามรเอกยล่า้าธงนมบี ุรี คณุ ภาพ High Performตaั้งอnยcู่ทeี่ อOาคrgารaเnรียizนaรtวiมon5 (S11) ชั้น 8 เลขที่ 126 ถนน การพัฒนาสมรรถนะองคก์ รใหปเ้ ประ็นชทาย่ี ออุทมศิ รับแขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพ 10140 9
แผนยทุ ธศ์ าสตร์ 01 เปา้ หมายที่ 1 ผลิตบัณฑติ ท่ีมีคุณภาพสูก่ ารเปน็ 02 Social Change Agent 03 สนับสนุนกิจกรรมท่มี กี ารเรียนการสอนเชงิ รุก (Active Learning) เป้าหมายท่ี 2 การสร้างความเป็นเลศิ ทางการวจิ ัย งานสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม Research and Innovation ส่งเสริมการทำงานวจิ ยั เพื่อตีพมิ พแ์ ละการมสี ่วนร่วมของงานบรกิ ารวิชาการ แก่สงั คม เปา้ หมายที่ 3 พัฒนา มจธ.สู่ความเปน็ สากล Internationalization สนบั สนุนและส่งเสริมความเป็นสากลในองค์กร 04 เปา้ หมายที่ 4 พัฒนาสมรรถนะองคก์ รเพอื่ ให้บรกิ ารอย่างมี คณุ ภาพ High Performance Organization การพฒั นาสมรรถนะองคก์ รให้เป็นทย่ี อมรบั 05 เปา้ หมายที่ 5 ส่งเสริมการพัฒนาท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม Green Heart การส่งเสรมิ ความเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม 10 10
Organization Chart 11
รายนามคณะกรรมการ ผศ.ดร.วรพจน์ อังกสทิ ธ์ิ ศ.ดร.ภมู ิ คำเอม ดร.การณั ย์ องั อบุ ลกุล ดร.ภทั ราภรณ์ สนุ ทรสัจ รศ.ดร.ชมุ พล มณฑาทพิ ยก์ ลุ ผศ.ดร.กนกพร กงั วาลสงค์ ผศ.ดร.ปฏิภาณ แซห่ ลิ่ม 12
รายนามทีมบรหิ าร 1 4 2 3 56 MANAGEMENT TEAM 1. ผศ. ดร.วรพจน์ องั กสิทธ์ิ ตำแหน่ง คณบดี 2. รศ. ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ ตำแหน่ง รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการ 3. ผศ. ดร.จริ ศิลป์ จยาวรรณ ตำแหนง่ รองคณบดฝี า่ ยบรหิ าร 4. ผศ. ดร.ปฏภิ าณ แซ่หล่มิ ตำแหน่ง รองคณบดฝี า่ ยแผนและประกันคณุ ภาพ 5. นางสาวศุภลกั ษณ์ รักธรรม ตำแหนง่ ผ้ชู ว่ ยคณบดฝี ่ายบรหิ าร 6. นางสาวศริ พิ ร เป็นสูงเนิน ตำแหน่ง รกั ษาการเลขานกุ ารฯ 13
บคุ ลากร GMI จำนวนบุคลากร จำแนกประเภท ปงี บประมาณ 2564 ประเภทบคุ ลากร พนักงาน ลูกจ้างมหาวทิ ยาลยั ลกู จ้างโครงการ รวม สายวชิ าการ 21 5 26 สายสนับสนุน 9 41 14 30 91 40 รวม สายสนับสนนุ , 14, 35% สายวชิ าการ, 26, 65% สายวชิ าการ สายสนับสนนุ ร้อยละของอาจารยท์ ี่มตี าแหนง่ ทางวิชาการ 13 14 7 1 10 2 2563 2564 รองศาสตราจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ อาจารย์ 14
หลักสตู รของบณั ฑติ วทิ ยาลัยการจัดการและนวตั กรรม หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการนวตั กรรมเชงิ บรู ณาการ Master of Science in Integrated Innovation Management หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ติกสแ์ ละซัพพลายเชน Master of Science Program in Logistics and Supply Chain Management หลกั สตู รบริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการสำหรบั การเปน็ ผู้ประกอบการ เชิงนวตั กรรม Master of Business Administration Program in Innovative Entrepreneurship Management หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการ Master of Business Administration Program in Management สาขาวชิ าการบริหารโครงการ (Project Management) สาขาวชิ าจัดการเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม (Technology and Innovation) Management) สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจดิจทิ ัล (Digital Business Management) สาขาวิชาการจดั การอสังหารมิ ทรพั ย์ (Real Estate Management) สาขาวิชาการบริหารจัดการองค์กร (Organization Management) 15
หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการนวตั กรรมเชิงบูรณาการ Master of Science in Integrated Innovation Management หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมเชิง บูรณาการ มีการออกแบบที่เน้นการบูรณาการศาสตร์ด้านบริหารจัดการและการ จัดการนวัตกรรมเขา้ ไว้ด้วยกนั โดยร่วมมือกบั หลักสูตรอ่ืนๆในมหาวทิ ยาลัย นำมาสู่ การเปลี่ยนชื่อสาขาวิชาจาก วท.ม. สาขาวิชาการจัดการ เป็น วท.ม. สาขาวิชาการ จัดการนวัตกรรมเชิงบูรณาการ โดยหัวข้อการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 โมดูลหลัก ได้แก่ • โมดูลการจัดการนวัตกรรม (Innovation Management) เน้นในเรื่องของการปลูกฝังทัศนคติ (Mindset) ของความเป็น ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) และความเป็นผูน้ า (Leadership) ทีก่ ลา้ คิด กลา้ ทำ กล้าเสีย่ ง กลา้ ล้มเหลว และกลา้ ลุกขนึ้ ใหม่ ได้ และเขา้ ใจกระบวนการจดั การนวัตกรรม • โมดูลการบริหารธุรกิจ (Business Management) เพื่อเตรียมการให้มหาบัณฑิตมีคุณลักษณะของความเป็นผู้นำองค์ความรู้และ ศาสตร์ด้านการบริหารที่จำเป็นได้แก่ การบริหารกลยุทธ์ การเงิน การบริหารความเสี่ยง การวิเคราะห์ต้นทุน ตลอดจนการเข้าใจ ระบบโซค่ ุณค่าเพือ่ นำไปสู่การพัฒนาทยี่ ั่งยนื • โมดูลวิชาเฉพาะทาง (Application) เป็นความรู้เชิงลึกหรือเฉพาะทาง หรือความเชี่ยวชาญจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาอื่นๆท่ี เปิดสอนในมหาวทิ ยาลัย เชน่ - หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมอาหาร - หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา้ และสารสนเทศ - สถาบนั นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (STIPI) - สำหรับวิชาเสริมพื้นฐานที่เพิ่มขึ้นเป็น 5 หน่วยกิต มาจากการเน้นให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ของกระบวนการสร้างนวัตกรรม (Innovation Workshop) ซึ่งจะจัดในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ก่อนเริ่มเรียน การเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการวิจัยและ นำเสนอด้วยข้อมูล (Storytelling with Data) โดยจะจัดก่อนเปิดเรียนในภาคเรียนที่สอง และการปลูกฝังคุณสมบัติของความ เปน็ ผู้ประกอบการและผูน้ ำ MII 16
หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการโลจิสตกิ สแ์ ละซพั พลายเชน Master of Science Program in Logistics and Supply Chain Management หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เป็นการบรู ณาการระหว่างศาสตร์ ทางด้านการบริหารจัดการและศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เพื่อแก้ไขปั ญหาโลจิ สติกส์และซัพพลายเชนภายใตบ้ ริบทเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาคอาเซียน และภูมิภาคอื่นทั่วโลก รวมทั้งสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนโดยบัณฑิตสามารถนำ ความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพทั้งในภาครัฐบาลที่มุ่งเน้นการกำหนด นโยบายโลจิสติกส์และซัพพลายเชนภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจที่มุ่งเน้น การบริหารจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเช่นผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายขนส่ง ฝ่ายผลิต ฝ่าย วิเคราะห์และวางแผนฝ่ายนำเขา้ ส่งออก เปน็ ต้น LGM 17
หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการสำหรบั การเปน็ ผปู้ ระกอบการ เชงิ นวัตกรรม Master of Business Administration Program in Innovative Entrepreneurship Management หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสำหรับการเป็น ผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม เป็นหลักสูตรที่พัฒนาความรู้ ทักษะ และแนวคิดสำหรับ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาจากคณาจารย์ที่ มีประสบการณ์ในภาคอุตสาหกรรม บ่มเพาะนักศึกษาสร้างโอกาสทางธุรกิจและประเมิน ความเสี่ยงที่เกิดจากโอกาสนั้น บูรณาการนวัตกรรมเข้าสู่ตัวแบบทางธุรกิจ เพื่อสร้างความ ได้เปรียบทางการแข่งขัน อีกทั้งบริหารจัดการธุรกิจโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ตลอดจน สามารถวเิ คราะห์ผลกระทบจากการดำเนินกิจกรรมทางธรุ กจิ ตอ่ สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม เนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วยองค์ความรู้เชิงลึกและกว้าง ครอบคลุมตั้งแต่ กระบวนการคิด และการคิดเชิงออกแบบ การจัดการเชิงพาณิชย์และกลยุทธ์นวัตกรรม แผนธุรกิจสำหรับ ผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม กลยุทธ์การจัดการตลาด การเงินสำหรับการเป็น ผู้ประกอบการเป็นต้น ทั้งนี้เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาเป็นผู้ประกอบการที่มีนวัตกรรมทันต่อ การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม เทคโนโลยอี ันรวดเร็วของโลก EPM 18
หลกั สูตรบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การ Master of Business Administration Program in Management หลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การ มจี ุดเดน่ ของการกำหนดผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ที่ชดั เจนต่อผเู้ รยี นด้าน ความร้ทู จ่ี ะไดร้ ับ โดยแบ่งเปน็ ความรู้ในศาสตร์ดา้ นบรหิ ารจัดการในภาพกวา้ ง )Broad-Based Knowledge) และในศาสตร์ บรหิ ารจัดการเฉพาะทาง )Specific Knowledge) ซ่ึงเปน็ การช่วยให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาทักษะเฉพาะอยา่ งไดอ้ ยา่ งแท้จริง ตามสาขาวชิ าแกนทีด่ ำเนนิ การจัดการเรยี นการสอนโดยคณะ ได้แก่ การบริหารโครงการ การจดั การเทคโนโลยีและนวัตกรรม การจดั การธุรกจิ ดิจทิ ลั การจัดการอสงั หาริมทรพั ย์ และการบริหารจัดการองคก์ ร ภายใตภ้ าพใหญ่ของหลักสตู รบรหิ ารธุรกิจ มหาบัณฑติ (สาขาการจดั การ) นอกจากนี้ยงั ช่วยใหก้ ารบรหิ ารจัดการหลกั สตู รมคี วามคลอ่ งตวั ในการจดั การเรยี นการสอน และการบรหิ ารทรพั ยากรของคณะ PJMสาขาวิชาการบริหารโครงการ TIM รวบรวมองค์ความรู้และทักษะด้านการ บริหารโครงการที่เป็นมาตรฐานสากล มา สาขาวชิ าจดั การเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ที่ ประกอบด้วยการบรรยาย กรณีศึกษา การ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ฝึกปฏิบัติ การสื่อสารและการนำเสนอใน จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงได้ถูก รปู แบบตา่ ง เพอ่ื พฒั นาแนวคิด องค์ความรู้ ออกแบบมาเพื่อพัฒนาบุคลากรที่จะเป็นผู้ และทักษะในการบริหารโครงการ ที่เป็น กำหนดบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้ ประโยชน์สำหรับการบริหารโครงการที่มี เหมาะสมกับองค์กรต่างๆ ทั้งในระดับนโยบาย ความซับซ้อนมีความเสี่ยง และเร่งด่วนเพ่อื กลยุทธ์ และการปฏิบัติงานและเป็นผู้ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของตลาดทั้งใน สร้างสรรค์นวัตกรรมที่จำเป็นต่อการแข่งขันได้ ด้านระยะเวลา ต้นทุนและคุณภาพของ อยา่ งต่อเน่ืองและยงั่ ยนื สนิ คา้ และบริการ 19
REM DBMสาขาวิชาการจดั การธรุ กิจดจิ ทิ ัล สาขาวชิ าการจัดการอสังหาริมทรัพย์ เน้นการเรียนการสอนและการวิจัยด้านการจัดการ ธุรกิจยุคใหม่ สู่ยุคดิจิทัลเปลี่ยนโลก ( Digital สาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรพั ย์ Disruption) เพื่อตอบสนองความตอ้ งการบุคลากรดา้ น เนน้ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดการดิจิทัลอีโคโนมี (Digital Economy) ของ องค์ความรู้ในด้านต่างๆท่ีเก่ียวข้อง ประเทศ องค์ความรู้รวมถึงการจัดการโทรคมนาคม โ ด ย มี ก า ร ใ ห้ค ว า ม รู้พื้น ฐ า น ทั้ง การจัดการบรอดคาสติ้ง การจัดการไอซีทีสมัยใหม่ ซ่ึง ทางด้านการเงิน การบัญชี กลยุทธ์ ต้องการนำเครื่องมือและนวัตกรรมการจัดการใหม่ๆ การตลาด นโยบายและกฎหมายท่ี ด้านดิจิทัลมาสร้างการเติบโตและความยั่งยืนของธุรกิจ เก่ียวข้อง การศึกษาความเป็นไปได้ โดยเริ่มจากการปรับพื้นฐานนักศึกษาให้เข้าใจ ของโครงการ แนวทางการพัฒนา เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะในศตวรรษที่ 21 รวมถึง อสังหาริมทรพั ย์ รวมไปถึงนวัตกรรม ภาษาอังกฤษ และองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการบริหาร ต่างๆ โดยผู้เรียนสามารถนาไป จดั การ ประยกุ ตใ์ ชก้ ับกรณีศึกษาต่างๆ และมี การนาเสนอผลงาน เพ่ือแลกเปล่ียน OGMสาขาวชิ าการบริหารจดั การองค์กร ความคิดเห็น และประสบการณต์ ่างๆ ภายในชนั้ เรยี น และนอกสถานท่ี โดยมี สาขาวชิ าการบริหารจัดการองคก์ ร (Organization Management) ผูท้ รงคุณวุฒิ และผูเ้ ช่ียวชาญในภาค จะติดอาวุธทางปัญญา และเสริมสร้างสมรรถนะในหลากหลายมิติ ธุรกิจอสงั หารมิ ทรพั ยม์ าแนะนาและให้ เช่นมิติภาวะผู้นำการจัดการการเปลี่ยนแปลงและการสื่อสาร มิติ แนวทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ การพัฒนาองค์กรและทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ มิติการจัดการความ ตา่ งๆ ท่ีเป็นประโยชน์ เสี่ยงในองค์กร และมิติการจัดการสมรรถนะองค์กร เพื่อสร้างความ มั่นใจให้แก่ผู้ที่จะก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บริหารระดับต้นในการช่วย ขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวหน้า และเป็นที่ไว้ใจของผู้บริหาร ระดับกลางและระดับสูง เพราะเราเชื่อมั่นว่า ผู้บริหารหรือผู้นำท่ี เก่งและดีเปรียบเสมือนคนคุมหางเสือเรือที่คอยกำหนดทิศทางของ เรือไปสู่จุดหมายปลายทางที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล เราจึงพร้อมที่จะรังสรรค์คุณให้เป็นผู้บริหารองค์กรมือ อาชพี 20
02 ผตลากมายรทุ ดธำศเนาสนิ ตงารน์ 21
เปา้ หมายที่ จ1ำนผวลนติ นบักัณศฑึกษติ าทป่มี จั คี จุณบุ ภันาแพลตะานมักคศุณึกษลกัาจษบณะทพ่ี งึ ประสงค์ ❖ จำนวนนักศกึ ษาปัจจบุ ัน หลักสตู ร ชั้นปที ี่ 1 ชนั้ ปที ่ี 2 รวม 2 ชน้ั ปี 14 15 29 หลักสูตรบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจัดการ สำหรับการเปน็ ผู้ประกอบการ 16 13 29 หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การ 7 9 16 - สาขาวิชาการบริหารโครงการ 16 18 34 - สาขาวชิ าจัดการเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม 8 10 18 - สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจดิจิทลั 8 13 21 - สาขาวิชาการจดั การอสงั หาริมทรพั ย์ 18 - สาขาวชิ าการบรหิ ารจดั การองค์กร 27 45 4 หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การโลจิ 91 04 สติกสแ์ ละซัพพลายเชน 105 196 หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจดั การ นวตั กรรมเชิงบรู ณาการ รวม ข้อมลู ณ วันท่ี 6 ตลุ าคม 2564 22
❖ จำนวนนักศึกษาท่ีสำเร็จการศึกษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2561 2562 2563 ตารางแสดงจำนวนนักศกึ ษาท่สี ำเร็จการศกึ ษา 3 ปี 29 28 22 หลกั สูตร 14 8 11 17 3 หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 13 10 สำหรับการเปน็ ผปู้ ระกอบการเชงิ นวัตกรรม 17 22 หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการ 20 17 - สาขาวชิ าการบริหารโครงการ 19 27 13 1 - สาขาวิชาจดั การเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม 15 135 113 - สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ ดจิ ทิ ัล 22 - สาขาวิชาการจดั การอสังหารมิ ทรพั ย์ 10 - สาขาวชิ าการบรหิ ารจดั การองค์กร 19 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการ 20 จัดการโลจิสตกิ ส์และซัพพลายเชน 20 หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการ* 149 รวม ข้อมลู ณ วนั ท่ี 6 ตุลาคม 2564 23
❖ การสนับสนนุ ทนุ การศึกษา 1. ทุนการศึกษาของมหาวทิ ยาลัย (ทุนการศกึ ษาเพชรพระจอมฯ) ลำดบั รายชอ่ื ผูไ้ ด้รับทนุ การศกึ ษา สาขา ปกี ารศกึ ษา 1 นางสาวสกุ ฤตา สงิ หโ์ ต การจัดการสาหรับการเป็นผ้ปู ระกอบการเชิงนวตั กรรม 1/2564 1/2564 2 นางสาวเมรินทร์ กลิน่ รนื่ การจดั การสาหรับการเป็นผูป้ ระกอบการเชงิ นวัตกรรม 1/2564 1/2564 3 นางสาวอรโุ ณทยั สาริกาขำ การจัดการโลจสิ ติกส์และซพั พลายเชน 1/2564 4 นางสาวณหทัย บุญแท้ การจัดการ (การจัดการอสังหารมิ ทรพั ย)์ 5 นางสาวพัทธมน สวุ รรณโชติ การจดั การ (การจัดการธรุ กจิ ดิจิทลั ) 2. ทุนการศกึ ษาของบณั ฑติ วิทยาลยั การจัดการและนวตั กรรม (ทนุ เผยแพร่ผลงาน) ลำดับ รายชอ่ื ชอ่ื บทความวจิ ยั สาขา ระดับ 1 นางสาวดวงกมล ลิลติ กานต์พจน์ การวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยนื ยัน การจัดการสำหรับ ระดับชาติ สำหรับการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ขนมสำหรับ การเป็น เด็กทม่ี ีอาการแพ้นมววั ช่วงอายไุ มเ่ กิน ผปู้ ระกอบการ 10 ปี 2 นางสาวสรติ า การีเวท แบบจำลองทางคณติ ศาสตรส์ ำหรับการ การจดั การโลจิ หาทำเลทตี่ ้ังศูนยก์ ระจายสนิ ค้าหลาย สติกสแ์ ละซัพพลาย ระดับชาติ แหง่ กรณศี กึ ษา ผู้ผลิตและจดั จำหนา่ ย เชน เฟอร์นเิ จอรแ์ หง่ หนึง่ ในประเทศไทย การใช้พอดแคสต์เพ่อื ส่งเสรมิ การพฒั นา การจดั การสำหรับ 3 นางสาวจิตตมิ า คงรตั นประเสรฐิ ทักษะพนักงานในอตุ สาหกรรมโลจิ การเปน็ ระดบั ชาติ สติกส์ชว่ งสถานการณ์ Covid-19 ผู้ประกอบการ 4 นางสาวฐิติรตั น์ เรอื นศิรเิ ลิศ Operating Room Scheduling under การจัดการโลจิ ระดบั ชาติ Limited ICU Beds สติกสแ์ ละซพั พลาย เชน 5 นางสาวนนั ทยิ า ฝา่ ยลยุ “การเปรยี บเทียบแพลตฟอร์มขนสง่ ด้วย การจดั การสำหรับ ระดับชาติ รถบรรทุก : งานวิจยั เชงิ คณุ ภาพ” การเป็น ผู้ประกอบการ 24
ลำดบั รายชอ่ื ชื่อบทความวจิ ัย สาขา ระดบั 6 นางสาวระวีวรรณ พรประเสรฐิ ปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ ความตง้ั ใจใช้แอปพลเิ ค การจัดการสำหรับ ระดบั ชาติ ชนั สำหรับเพิม่ และพัฒนาทกั ษะของ การเปน็ พนักงานในอตุ สาหกรรมอาหารช่วง ผปู้ ระกอบการ วกิ ฤต โควดิ -19 แนวทางการลดปริมาณอาหารเหลือท้งิ การจัดการโลจิ 7 นางสาวศิรมิ าพร เจริญในวงศเ์ ผา่ จากการบรโิ ภคภายในมหาวทิ ยาลัย สติกส์และซัพพลาย ระดับชาติ เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี เชน การศกึ ษารูปแบบการพฒั นาทกั ษะ การจัดการสำหรับ สำหรบั ผูป้ ระกอบการในยุคดจิ ทิ ลั 8 นางสาวสรยี า ทองเอ่ียม การเปน็ ระดับชาติ ผู้ประกอบการ 9 นางสาววิสิฏฐา ชนุ สทิ ธิ์ การออกแบบแชทบอทให้บรกิ ารลูกค้า การจัดการสำหรับ ระดับชาติ เพอื่ รองรับการขยายตลาดดว้ ยการตลาด การเปน็ ดิจทิ ลั กรณศี ึกษา บรษิ ัท ฟอรม์ ูลา ทีเค ผู้ประกอบการ ดี จำกดั การปรับปรงุ การจัดวางตำแหนง่ สินค้า การจดั การโลจิ 10 นางสาวสนุ นั ทา อนันต์ชยั ทรัพย์ ภายในคลงั สนิ ค้า กรณีศึกษา บริษทั ศรี สตกิ สแ์ ละซัพพลาย ระดบั ชาติ ไทยซปุ เปอร์แวร์ โคราช จำกดั เชน 11 นายณฐั วฒุ ิ ฉตั รเฉลิมวทิ ย์ ปจั จัยทีม่ ีอิทธพิ ลต่อการตดั สนิ ใจรบั ชม การจัดการสำหรับ ระดับชาติ ภาพยนตรแ์ ละซือ้ ของเล่นจาก การเป็น ภาพยนตร์โทคุซัทสแึ นวคาเมนไรเดอรใ์ น ผู้ประกอบการ ประเทศไทย 12 นายธรรศ ตนั เสถียร การศกึ ษาความต้องการเชงิ ลึกของ การจัดการสำหรบั ระดับชาติ ผบู้ รโิ ภครา้ นสเตก๊ เฮา้ สเ์ พื่อการออกแบบ การเป็น ประสบการณล์ ูกคา้ ดว้ ยกระบวนการคิด ผู้ประกอบการ เชงิ ออกแบบ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2564 25
❖ กิจกรรมเพ่อื พฒั นานักศึกษา การสมั มนา DBM FORUM ครง้ั ท่ี 2 หวั ขอ้ \"D-COURT : การเปลยี่ นแปลงสูด่ จิ ทิ ลั ของศาลยตุ ธิ รรม\" การสัมมนา DBM FORUM ครั้งที่ 2 หัวข้อ \"D-COURT : การ เปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัลของศาลยุติธรรม\" โดย คุณสราวุธ เบญจกุล ตำแหน่งเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อให้นักศึกษาเเละผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ประสบการณ์ จริงจากผู้ที่เปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัล ( Digital Transformation) จริง ในวันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. วิชา GMI690 ครั้งที่ 2 ณ ห้องจำรัส ฉายะพงศ์ อาคารเรียนรวม 2 ชั้น 2 จำนวนผเู้ ข้าร่วม 30 คน 26
โครงการศกึ ษาดงู านโครงการของ มจธ. ในพน้ื ท่ี จงั หวัดเชยี งใหม่ โครงการพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม พื้นที่จังหวัด เชียงใหม่ วันที่ 17 – 19 ธันวาคม 2563 จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ เข้าใจ การทำงานของมหาวิทยาลัยเพื่อชุมชนและสังคม ในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร เพื่อให้ นักศึกษาและคณาจารย์ในหลักสูตรได้มีโอกาสศึกษาดูงานในพื้นที่ Social lab ของมหาวิทยาลัย ในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ และเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วัฒนธรรม อาชีพท้องถิ่น วิถีชีวิตของชุมชน และสิ่งแวดล้อม จ.เชียงใหม่ อีกทั้งเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา ระหว่างสาขาวิชา โดยมีนักศึกษาที่เข้าร่วม โครงการ 13 คน Social lab CHIANG MAI 27
GMI Open House 2021 วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม จัดงาน GMI Open House 2021 ณ Auditorium Room (ช้นั 7) อาคาร KX Knowledge Exchange โดยบรรยากาศภายในงาน มีการชมวีดิทัศน์แนะนำคณะและสาขา จากนั้นอาจารย์ ศิษย์ เก่า และนกั ศกึ ษาปัจจบุ นั ของแตล่ ะสาขา ได้มาเผยแพรข่ อ้ มูล หลักสูตร และเล่าถึงประสบการณ์การเรียนและกิจกรรมต่างๆ ภายในคณะ หลังจากนั้นได้เปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อ ได้ สอบถามข้อมูลอย่างละเอียดตามบูธของแต่ละสาขาที่สนใจ เเต่เนื่องด้วยกับสถานการณโ์ รคระบาด Covid-19 GMI จึงเพิม่ ช่องทางในการจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ โดยการ ถ่ายทอดสดผ่าน Facebook live อีกทั้งในส่วนของการจัด กิจกรรมในห้องประชุมได้ดำเนินการเฝ้าระวังตามมาตรการ ควบคมุ ในการจดั กิจกรรมของมหาวทิ ยาลยั และของอาคาร KX Knowledge Exchange OPEN HOUSE 28
กิจกรรมปฐมนิเทศ เมื่อวันเสาร์ ที่ 7 สิงหาคม 2564 บัณฑิต วิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม ได้จัดกิจกรรม ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2564 ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom โดยมี รศ. ดร.สุวิทย์ เเซ่เตีย อธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ให้เกียรติเป็น ประธานกล่าวเปิดงานเเละกล่าวต้อนรับนักศึกษา ใหม่ พรอ้ มด้วยคณาจารย์ เเละเจ้าหน้าท่ซี งึ่ กจิ กรรม ดังกล่าวจัดขึ้นเพือ่ ให้นักศึกษาใหม่ทุกคนได้ทราบกฎระเบียบ หลักสูตร ระบบการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใช้ ในการเรียน การประกันคุณภาพ การเเนะนำอาจารย์เเละเจ้าหนา้ ที่ และมีการบรรยายถึงความเป็นนักศึกษาที่ สอดคล้องกับแนวทางของมหาวิทยาลัย รวมถึงการบรรยายเกี่ยวกับการเรียนรูน้ อกหอ้ งเรียน ตลอดระยะเวลา 2 ปี ที่ศึกษาใน GMI จากคณบดีและรองคณบดีฝ่ายต่างๆ เพื่อสร้างคุณธรรมจริยธรรมในหมู่นักศึกษา ให้ นักศกึ ษามีความรัก ความภาคภมู ใิ จในความเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลยั นอกจากนร้ี ุ่นพีเ่ เละอาจารย์ประจำ สาขาวิชายังให้การต้อนรับด้วยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ในห้องย่อย บรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่นและ สนกุ สนานผา่ นการเลน่ เกมเพ่ือให้ร้จู ัก GMI KMUTT มากย่งิ ข้นึ 29
กจิ กรรมปัจฉิมนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (GMI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จัดพิธี ปัจฉิมนิเทศให้กับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ประจำปกี ารศกึ ษา 2562 ณ อาคารเรยี นรวม 5 ชั้น 8 ในวันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน 2563 ทั้งนี้ คณาจารย์ ของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม ได้ กล่าวแสดงความยินดีและให้โอวาทแก่ผู้สำเร็จ การศึกษา บรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ท่ามกลางความยินดีของคณาจารย์ และรุ่นพี่รุ่นน้อง ของมหาบณั ฑิต GMI 30
โครงการบัณฑิตพนั ธใ์ หม่ ภายใตโ้ ครงการบัณฑิตพนั ธใ์ุ หม่และกำลังคนท่ีมีสมรรถนะประเภท ประกาศนียบตั ร (Non-Degree) กลมุ่ อุตสาหกรรมดิจิทลั ➢ หลกั สูตร Digital Logistics หัวหน้าโครงการฯ : ผศ.ดร.กานดา บญุ โสธรสถติ ย์ หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน (LGM) และศูนย์วิจัย ล็อกอิน (Logistics Innovation: LOGIN) บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (GMI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี (KMUTT) ร่วมมือกับบริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) (ผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋อง และปลากระปอ๋ ง Super C-Chef) และบริษทั รวมถาวรขนส่ง จำกดั (ผ้ใู หบ้ รกิ ารด้านโลจิสติกส์) ในการพัฒนา กำลงั คนดา้ น Digital Logistics ที่สามารถตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ และตรงต่อความตอ้ งการของกล่มุ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะเพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิต ตามนโยบายการปฏริ ปู การอุดมศึกษาไทย ประเภทประกาศนียบตั ร (Non-Degree) ผศ.ดร.กานดา บุญโสธรสถิตย์ ประธานหลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ( LGM) หัวหน้าศูนย์วิจัยล็อกอิน (Logistics Innovation: LOGIN) และหัวหน้าโครงการฯ กล่าวว่า “หลักสูตร Digital Logistics รุ่นที่ 2 เป็นอีกหนึ่งของความสำเร็จในการพัฒนากำลังคน ร่วมกับบริษัทที่มีวิสัยทัศน์และเล็งเห็น ความสำคัญของบุคลากร อย่างเช่น ยูนิคอร์ด และรวมถาวรขนส่ง ด้วยการยกระดับองค์ความรู้ด้านการเพิ่ม สมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านโลจิสติกส์ที่เอื้อต่อการ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล และการเลอื กใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลที่เหมาะสมสำหรับการเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานด้านโลจิสติกส์ จากเดิมที่ไม่มีองค์ความรู้เลย จนกระทั่งสามารถประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ วิเคราะห์ ประเมิน/ตัดสินใจ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ได้ๆ กอปรกับการยกระดับทักษะที่มากขึ้นทั้งด้านการ สอ่ื สาร ปรับตวั /ยืดหยุน่ คิดวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา คิดเปน็ ระบบ และคดิ สรา้ งสรรค”์ 31
➢ หลักสตู ร Augmented Reality (AR) Application and Business Development หวั หน้าโครงการโดยฯ : ดร.ปารเมศ วรเศยานนท์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั การจดั การและนวัตกรรม (Graduate school of Management and Innovation : GMI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) การพัฒนาบุคลากร ด้าน Augmented Reality หรือ AR ภายใต้หลักสูตร Augmented Reality (AR) Application and Business Development โดยเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ และกำลังคนท่มี สี มรรถนะ เพอ่ื ตอบโจทยภ์ าคการผลติ ตามนโยบายการปฏิรปู การอดุ มศกึ ษาไทย โดยในวันพฤหัสบดี ที่ 13 พฤษภาคม 2564 ก้าวแรกของโครงการอบรม โดยมี ดร.ปารเมศ วรเศยานนท์ หัวหน้าโครงการ กล่าวถึงวัตถุประสงค์โครงการและรายละเอียดของหลักสูตร ด้วยความมุ่งหมายในการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้รับความรู้ด้าน (Knowledge) การพัฒนาธุรกิจ/แนวคิดธุรกิจ ด้วย เทคโนโลยี AR เริ่มจากการเรียนรู้เทคโนโลยี AR ในระดับเริ่มต้น (Introduction) จนผ่านสู่ระดับชำนาญ (Advanced) โดยจะมีการออกแบบสร้างโครงงานในระดับเริ่มต้น และมุ่งสู่ต้นแบบ (Prototype) เพื่อใช้งาน (Application) ที่ใชง้ านไดจ้ ริงจากโจทยผ์ ู้ประกอบการ นอกจากนนั้ ผู้เรียนจะเรียนรฝู้ กึ ทกั ษะการนำโครงงาน/ ตน้ แบบไปสธู่ ุรกจิ Technology Commercialization นอกจากนั้นผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาเจตคติ (Attribute) เชิงบวกต่อการเปลี่ยนแปลง หลักสูตรนี้ พัฒนาขึ้นตามกรอบการพัฒนาความรู้ และทักษะ (Rubrics) ของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 25 คน 32
เป้าหมายท่ี 2 สร้างความเปน็ เลศิ ทางการวิจยั งานสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม จำนวนโครงการและมลู คา่ ตามสญั ญา บริการวชิ าการ/วิจยั ปีงบประมาณ 2562 - 2564 20 11.27 11 12.24 9.01 9 2562 2563 2564 จานวนโครงการ 20 11 9 มูลค่าโครงการ (ลา้ นบาท) 11.27 9.01 12.24 ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2564 ผลงานวิจยั และวิชาการของอาจารย์ ข้อมูล ณ วันท่ี 14 ตลุ าคม 2564 33
หลกั สตู รกา้ วสู่นักพัฒนาอสังหารมิ ทรัพยย์ ุคใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยสาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรัพย์ บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม ร่วมกับ บริษัทโนว์เลดจ์ คาสเซิล เทรนนิ่ง จำกัด จึงได้จัดทำ \"หลักสูตรก้าวสู่นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ยุค ใหม่\" REAL ESTATE DEVELOPMENT PROGRAM WHAT’s NEW - WHAT’S NEXT เพื่อถ่ายทอด องคค์ วามรู้ และแชรป์ ระสบการณ์ในการพัฒนาอสงั หารมิ ทรพั ยร์ ่วมกบั นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิ ในภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในการทำธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในยุคที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วในทุกวันนี้ ผู้ที่จะก้าวเข้าสู่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมคี วามรอบรู้ในแต่ ละด้านของอสังหาริมทรัพย์ และที่สำคัญต้องมีกระบวนการคิดวิเคราะห์รวมถึงการบูรณาการองค์ ความรู้ได้อย่างเป็นระบบ เพื่อก้าวเข้าสู่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการจัดอบรมจะจัด ทุกวันเสาร์ เริ่มวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2564 จนถึงวันที่ 17 เมษายน2564 จำนวน 8 ครั้ง ซึ่งรูปแบบ การจัดอบรมจะมที งั้ การบรรยาย การทำ Workshop การศึกษาดงู าน และการนำเสนองาน เสวนา Inventory talk หวั ข้อ \"คลงั ลน้ เงนิ จม บรหิ าร Stock ยงั ไงให้มปี ระสทิ ธภิ าพ\" เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม 2564 นำโดย รศ. ดร.ชุมพล มณฑาทิพย์กุล อาจารย์ประจำ หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลาย เชน บัณฑิตวิทยาลยั การจดั การและนวตั กรรม ได้เสวนาใน \"Inventory talk หัวข้อ \"คลังล้น เงินจม บริหาร Stock ยังไงให้มีประสิทธภิ าพ\" โดยร่วมพูดคุยเกี่ยวกับ Stock ยิ่งมีเยอะ เท่าไหร่ เงินก็จมมากเท่านั้นทั้งเรื่อง Leadtime ในการสั่งซื้อ การกำหนด Safety Stock หลายๆ บรษิ ัท ปญั หาเหล่านี้ลว้ นมที าง แกร้ ว่ มกนั ผา่ นชอ่ งทาง Microsoft Team 34
เสวนาหวั ขอ้ \"บริหารตน้ ทนุ ได้ดกี ว่าใคร ถา้ วธิ คี ดิ ถกู จรติ กบั โรงงาน\" เมื่อวนั ศุกรท์ ่ี 12 มนี าคม 2564 นำโดย ผศ. ดร.กนกพรกังวาลสงค์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการ จัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน บัณฑิตวิทยาลัย การจัดการและนวัตกรรม และคุณนัธทวัฒน์ ศรีเลิศ รักษ์ GM ศูนย์กระจายสินค้า AIIZ ได้เสวนาใน หวั ขอ้ \"บรหิ ารต้นทุนไดด้ ีกว่าใคร ถ้าวธิ ีคิดถูกจริตกับ โรงงาน\" โดยร่วมพูดคุยเกี่ยวกับต้นทุนของสินค้า โดยใช้ปริมาณการผลิตทำให้ไม่สะท้อนถึงต้นทุนที่ แท้จริง เพราะในกระบวนการมีการใช้ทรัพยากร ร่วมกัน การคิดต้นทุนฐานกิจกรรมหรือ Activity- Based-Costingเป็นเทคนิคจัดสรรต้นทุนช่วยให้ \"บริหารตน้ ทุนการผลิตได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ\" ผ่าน ชอ่ งทาง Microsoft Team เสวนาหัวขอ้ “บกุ ธุรกิจ e-commerce จะร่งุ ต้องร้อู ะไร” เมื่อวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2564 นำโดย ผศ. ดร.กนกพร กังวาลสงค์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพ พลายเชน บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม และคุณ นรเรษฐ์ ไชยวงศ์ E-Commerce Manager บรษิ ทั เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด ได้เสวนาในหัวข้อ“บุกธุรกิจ e-commerce จะรุ่ง ต้องรู้ อะไร” โดยร่วมพูดคุยเกี่ยวกับ e-commerce มอบโอกาสทาง ธุรกิจมากมายแก่องค์กรที่ 'จับทางถูก' ผู้บริหารต้องติดอาวุธอะไร ให้กับธุรกิจบ้าง ระบบการบริหารจัดการ demand & supply แต่งต่างจากธุรกิจ Offline อย่างไร ผ่านช่องทาง Microsoft Team 35
โครงการทนุ ฝกึ อบรมเพอ่ื สนับสนนุ ยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั สำหรบั กระทรวงคมนาคม บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการเเละนวัตกรรม เเละ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน ได้จัดทำโครงการทุนฝึกอบรมเพ่ือ สนับสนุนยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ (Strategy-based) ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันสำหรับ กระทรวงคมนาคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดย มี ดร.ปารเมศ วรเศยานนท์ เป็นหัวหน้าโครงการ เพื่อ สร้างความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพข้าราชการไทย ให้มีองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ในการทำงานที่ เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน โดยมีกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายน – 30 มิถุนายน 2564 ณ อาคาร KX - Knowledge Exchange for Innovation (KMUTT) 36
โครงการทุนฝึกอบรมเพือ่ สนบั สนุนยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาประเทศ (Strategy-based) ด้านการสรา้ ง ความสามารถในการแขง่ ขันสำหรบั กระทรวงยตุ ธิ รรม บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการเเละนวัตกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับสำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ได้จัดทำโครงการทุน ฝึกอบรมเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ (Strategy-based) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมี ดร.ปารเมศ วรเศยานนท์ เป็นหัวหน้า โครงการ เเละในวันพฤหัสบดี ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 นับเป็นก้าวแรกของโครงการฝึกอบรม โดยมี ผศ.ดร. วรพจน์ อังกสิทธิ์ คณบดี บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ. กล่าวเปิดการฝึกอบรม เเละในวัน ดังกลา่ วไดม้ ีการบรรยายในหวั ขอ้ \"Digital Transformation\" โดย ดร.อานนท์ ทับเที่ยง ประธานสาขาวชิ าการ จัดการธรุ กิจดิจทิ ลั GMI เเละยังมีหวั ข้อการปรบั และเสรมิ สร้างความรู้พน้ื ฐาน (Knowledge-Based Building) อีกมากมายโดยบรรยายให้กับข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และเครือข่ายการทำงานให้กับข้าราชการพลเรือนสามัญภายใต้กระทรวงยุติธรรมที่ปฏิบัติงาน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ อีกทั้งเพื่อให้ เกิดนโนบายที่สนับสนุนให้กระทรวงได้ร่วมให้เกิด ความเท่าเทียมทางสังคมเเละขยายโอกาสด้านการ เข้าถึงทรัพยากรเพื่อใช้ในการเเข่งขันทั้งใน ระดับประเทศเเละระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น โดยมี ระยะเวลาเริ่มตั้งแต่วันที 1 เมษายน ถึง 31 กรกฎาคม 2564 37
เสวนาใน หัวข้อ “นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารบริหารโครงการก่อสรา้ งในช่วงสถานการณ์ Covid-19” In house Training รูปแบบ Online ของ โครงการวิศวกรอาสา มลู นธิ ิเพื่อการพฒั นา มจธ. ให้กับ การเคหะแห่งชาติ วันที่ 20 สิงหาคม 2564 โดยมีการจัดเสวนาใน หัวข้อ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีการ บริหารโครงการก่อสร้างในช่วงสถานการณ์ Covid-19” ดำเนินรายการโดย ดร.มงคล อัศวดิลกฤทธิ์ ประธานสาขาการจัดการอสังหาริมทรัพย์ บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้เกียรติร่วมเสวนาคือ คุณกฤช โกญจนาท ผู้ช่วยผู้ว่าการ การเคหะแห่งชาติ, คุณจิระศักดิ์ ประจักษ์วินัยบดี กรรมการบริหาร บจก.เอเชีย เมเนจเมนท์ แอนด์ดีไซด์ , อาจารย์ณัฐนนท์ รัตนไชย ประธานหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี , ผศ.ดร.ไพจิตร ผาวัน หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัย ศรีปทมุ คลังเวชภัณฑ์อัจฉรยิ ะแบบครบวงจร” แกป้ ัญหาเวชภัณฑ์ทีจ่ ำเป็นตอ่ การรักษาผู้ปว่ ยโควิด-19 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จับมือ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ ลุยพัฒนา “คลัง เวชภัณฑ์อัจฉรยิ ะแบบครบวงจร” นำโดยผศ.กานดา บุญโสธรสถิตย์ หัวหน้าศูนยน์ วัตกรรมโลจิสติกส์ บัณฑิต วิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ. แก้ปัญหาเวชภัณฑ์ที่จำเป็น ต่อการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 เช่น ชุด PPE ,หน้ากาก N95 ขาดสต๊อก ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน สูญหาย โดยนำนวัตกรรมโลจิสติกส์ และ กลุ่มเทคโนโลยีของไอโอทีมา ออกแบบ 38
เปา้ หมายท่ี 3 พฒั นา มจธ. ส่คู วามเปน็ สากล การดำเนนิ กจิ กรรมตามแผนการดำเนนิ งานของ AACSB ปี 2564 ➢ เสน้ ทางการดำเนนิ งานตามขนั้ ตอน AACSB International เพื่อเป็นการพัฒนาบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม ให้มีมาตรฐานใน การจัดการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจและการจัดการในระดับสากล GMI จึงสมัครเข้าสู่การรับการรองรับคุณภาพการศึกษาระดับนานาชาติ ทางด้านบริหารธุรกิจ (The Association to Advance Collegiate Schools of Business: AACSB) ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2554 และในปีพ.ศ. 2556 คณะกรรมการรับรองเบื้องต้น หรือ Initial Accreditation Committee (IAC) ได้ลงมติยอมรับใบสมัคร Eligibility Application และได้แต่งตั้งที่ปรึกษา Prof. Sarah Dixon (Dean of International Business School Suzhou at Xi’an Jiaotong, Liverpool University) ใหก้ บั คณะ ในปีพ.ศ 2558 ระหว่างวันที่ 14 – 16 ธันวาคมนั้น Mentor ได้มาตรวจเยี่ยมคณะ อีกทั้งยัง ได้ชี้แนวทาง และแนะนำการเขียนรายงานความก้าวหน้า (Initial Self-Evaluation Report: iSER) ตามแผนปฏิบัติงานภายใต้เกณฑ์มาตรฐาน 15 มาตรฐาน เพื่อนำส่งให้ทาง AACSB ทุกๆ ปี จำนวน ทั้งหมด 4 เล่ม ระยะเวลาตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2559 – 2562 เป็นต้นมา ก้าวสู่ปีพ.ศ. 2563 คณะได้เข้าสู่ ขั้นตอนของ Initial Accreditation ซึ่งได้ดำเนินการมาจนถึงการเขียนรายงานฉบับสุดท้าย Self- Evaluation Report (SER) ก่อนรับการตรวจประเมินจริง และทาง AACSB ได้แต่ตั้งทีมผู้ตรวจ ป ร ะ เ ม ิ น Peer Review Team (PRT) น ำ โ ด ย Prof. Dr. Paul Matthyssens (Chair of PRT), Professor of Strategic Management, Department of Management University of Antwerp 39
รายละเอยี ดขน้ั ตอน Eligibility Application และ Initial Accreditation จวบจนถึงปัจจุบันพ.ศ. 2564 คณะ ได้จัดทำรายงานฉบับอัพเดท (SER) อีกครั้ง ภายใต้ คำแนะนำ และข้อเสนอแนะของ Prof. Dr. Paul Matthyssens และทำรายงานเพื่อตอบคำถามใน ประเด็นที่สำคัญ หรือเรียกว่า Responses to a Previsit Letter Report ก่อนการเข้ารับการตรวจ ประเมนิ จริงในรปู แบบของ Virtual visit ในระหวา่ งวนั ท่ี 16 – 19 มกราคม พ.ศ. 2565 เสน้ ทางการดำเนนิ งานดา้ น AACSB ของ GMI 40
➢ การดำเนินกจิ กรรมตามแผนงาน AACSB ภายในคณะ (1) การดำเนนิ งานตามเกณฑม์ าตรฐาน 15 มาตรฐาน ในทกุ ๆ ปคี ณะจะตอ้ งดำเนินงาน และเขยี นรายงานความก้าวหนา้ ตาม AACSB Standards ทั้ง 15 มาตรฐาน แบ่งออกเป็น 4 มิติ ดังนี้ การบริหารจดั การเชงิ กลยุทธแ์ ละนวัตกรรม มาตรฐาน 1: พันธกิจ บทบาทความสำคัญทเ่ี กดิ ประโยชน์สูง และนวตั กรรม มาตรฐาน 2: การสร้างผลงานเชิงปญั ญา และความสอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ มาตรฐาน 3. การสรา้ งกลยทุ ธท์ างการเงิน และจดั สรรทรัพยากร ผ้มู ีสว่ นเก่ียวขอ้ ง: นักศกึ ษา คณาจารย์ และบคุ ลากรสายสนบั สนุน มาตรฐาน 4: กระบวนการรับนักศึกษา การพัฒนา และการพัฒนาสายอาชพี มาตรฐาน 5: ความเพียงพอของคณาจารย์ และความพรอ้ มในการดำเนินการตามพันธกิจ มาตรฐาน 6: การจัดการและการสนับสนุนบคุ ลากรภายในคณะ มาตรฐาน 7: ความเพยี งพอของบุคลากรสายสนับสนนุ และความพร้อมของบุคลากรในการดำเนนิ การ ตามพนั ธกจิ การจดั การเรียนการสอน มาตรฐาน 8: การจดั การหลักสูตรและการประกนั คุณภาพการเรยี นรู้ มาตรฐาน 9: เน้ือหาของหลักสตู ร มาตรฐาน 10: การมีปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งคณาจารย์และนกั ศกึ ษา มาตรฐาน 11: การออกแบบโครงสรา้ งหลักสตู ร ระยะเวลา และรปู แบบการเรียนการสอนในแต่ละ ระดับ มาตรฐาน 12. ประสิทธิผลในการสอน การมสี ว่ นร่วมเชิงวิชาการและวิชาชีพ มาตรฐาน 13. การมีสว่ นรว่ มของนักศึกษาตอ่ กระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ วิชาการและวชิ าชีพ มาตรฐาน 14. หลกั สตู รการพฒั นาระดับสงู (Executive Education) มาตรฐาน 15. คุณสมบตั ขิ องคณาจารยแ์ ละการมสี ว่ นรว่ ม 41
(2) การประกนั คุณภาพการเรยี นรู้ Assurance of learning (AoL) AoL process at GMI การประกันคุณภาพการเรียนรู้ หรือที่เรียกว่า Assurance of learning (AoL) นั้น เป็นหนึ่งใน 15 มาตรฐานของ AACSB และเป็นหัวใจหลักที่คณะจะต้องดำเนินงานตาม ซึ่ง AoL คือ กระบวนการที่แสดงให้ เห็นว่านักศึกษาได้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร โดยการทำรายงานผลการประเมินของนักศึกษา (Rubric report) ในรายวิชาที่สอนตาม Learning goals ที่หลักสูตรได้ตั้งไว้ และรวบรวมผลการประเมิน ดังกล่าว มาสรุปในระดับหลักสูตร (Program level) เพื่อให้หลักสูตรได้วางแผนการพัฒนาการเรียนการสอน ในทักษะ หรือผลการเรียนรู้ที่นักศึกษาได้บกพร่อง และไม่บรรลุผลที่ตั้งไว้ อีกทั้งยังก่อให้เกิดเกิดการปรับปรุง อย่างตอ่ เนอื่ งของหลักสตู ร (Continuous improvement) สำหรับในปกี ารศึกษาถัดไป ในปีพ.ศ. 2564 นั้น คณะได้จัดงาน AACSB Virtual Retreat ผ่าน Zoom ในธีมของ Closing the Loop เป็นครั้งแรกในระดับหลักสูตร (Program level) ซึ่งมีการจัดงานทั้งหมด 2 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ 1 นั้นเป็น การทำ Closing the Loop ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 – 2562 และ ครั้งที่ 2 เป็นเป็นการทำ Closing the Loop สำหรับการศึกษา 2563 Closing the Loop by Program ครง้ั ที่ 1 Closing the Loop by Program คร้ังที่ 2 42
➢ การมสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ กิจกรรมตามแผนงาน AACSB ในด้านของพัฒนาบุคลากร และการสร้างเครือข่ายกับภายนอกมหาวิทยาลัยทั้งในระดับประเทศและ ตา่ งประเทศนน้ั คณะเล็งเห็นถงึ ความสำคญั ของการเข้ารว่ มสัมมนาท่ีจดั โดย AACSB เพ่ือให้บุคลากรได้เข้าร่วม รับฟังเกณฑ์มาตรฐานที่มกี ารปรับปรุงอยู่เป็นระยะ รวมถึงแนวทางการพัฒนาตามมิติต่างๆของ AACSB อีกทั้ง ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน และรับฟังประสบการณ์จากทั้งผู้เชี่ยวชาญของ AACSB รวมถึง ผู้บริหารของคณะทางด้านบริหารจัดการที่ผ่านการรับรองมาตรฐานแล้ว เพื่อนำมาปรับใช้ในองค์กรต่อไป ที่ผ่านมานั้นทีมผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมเข้าร่วมอบรม/สัมมนา ในระดับชาติ และนานาชาติของกลุ่มคณะทางด้านบรหิ ารจัดการ ท่ีจัดโดย AACSB รายละเอียดดังน้ี ตารางแสดงรายละเอยี ดการเขา้ ร่วมอบรม/สัมมนา ทจ่ี ดั โดย AACSB ปี พ.ศ. หวั ขอ้ ท่เี ขา้ รบั การอบรม ระหว่างวันที่ สถานที่ 21-22 มนี าคม ประเทศไทย 2556 • Assurance of Learning Seminar, Bangkok 22-23 มนี าคม ประเทศไทย • Applied Assurance of Learning 9-11 ตุลาคม สาธารณรฐั ประชาชนจีน Seminar, Bangkok 23-27 พฤษภาคม สาธารณรัฐประชาชนจีน 2557 • The 5th International Business School Shanghai Conference 2014 29-31 พฤษภาคม สงิ คโปร์ 2558 • AACSB Accreditation Conference 2015, 22-23 สงิ หาคม อินเดยี Shanghai 27-28 พฤศจิกายน สาธารณรัฐประชาชนจีน 2559 • AACSB Annual Accreditation 6-7 มีนาคม สิงคโปร์ Conference: Asia Pacific 2016, 25-26 มีนาคม ประเทศไทย Singapore 2560 • Seminar on Assurance of Learning for AACSB, New Delhi • Business Accreditation Seminar, Hangzhou 2561 • Assurance of Learning Seminar I, Singapore 2562 • Business Accreditation Seminar • Assurance of Learning Seminar I 27-28 มีนาคม ประเทศไทย • Assurance of Learning Seminar II 29-30 มีนาคม ประเทศไทย 2563 • Key Changes in the new AACSB 2020 24 สิงหาคม ประเทศไทย Business Accreditation Standards ขอ้ มลู อพั เดตเดือนกนั ยายน 2564 43
เป้าหมายท่ี 4 พฒั นาสมรรถนะองคก์ รเพ่ือใหบ้ รกิ ารอย่างมีคุณภาพ กิจกรรม Happy Healthy GMI ปีที่ 2 กิจกรรม GMI สานสัมพันธ์ ในกิจกรรม Happy Healthy GMI ปีที่ 2 โดยกิจกรรมจัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของบุคลากรในคณะ และ เพือ่ ส่งเสริมการใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ ท้ังนี้เพอื่ ให้บคุ ลากรมีสุขภาพ ร่างกายและจติ ใจท่ดี ลี ดภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคตา่ งๆ ของบคุ ลากร 44
กจิ กรรมทำนบุ ำรงุ ศิลปะและวฒั นธรรม งานทำบุญประจำปี 2564 เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 8 เมษายน 2564 เนื่องในโอกาสเทศกาล วันสงกรานต์ที่จะมาถึง บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (GMI) ได้จัดงานทำบุญประจำปีโดยคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ GMI ได้ ร่วมสักการะสมเด็จพระอริยพรหม และพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บริเวณลานด้านหน้า มหาวิทยาลัย และประกอบพิธีทำบุญ ร่วมกันถวายภัตตาหารเพล และถวายสังฆทานแด่พระสงฆ์จำนวน 9 รูป พร้อมทั้งได้จัดพิธี ทำบุญตามศาสนาอิสลาม และจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ รับประทาน อาหารกลางวนั รว่ มกันที่ บณั ฑติ วิทยาลัยการจดั การและนวตั กรรม 45
เป้าหมายที่ 5 ส่งเสรมิ การพฒั นาท่ีเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม GMI อาสาครง้ั ท่ี 2 โครงการสรา้ งระบบสำรองไฟฟา้ ขนาด 2.2 กโิ ลวตั ต์ สำหรบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล (รพสต.) อำเภออมก๋อย จังหวดั เชยี งใหม่ บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับนักวิจัยในพื้นที่และมูลนิธิเอสซีจี ได้ ทำการออกแบบระบบแบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า และอาคารสำหรับระบบ สำรองไฟฟ้า เพื่อใช้เฉพาะในส่วนที่มีความจำเป็นสูงมากในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่ อยู่ในพื้นที่ที่เป็นภูเขาสูงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด การคมนาคม ยากลำบาก ทำให้การเข้าถึงสถานบรกิ ารสาธารณสุขเมื่อประชาชนเกิดการ เจ็บป่วยเป็นไปด้วยความยากลำบาก บ่อยครั้งประชาชนเลือกที่จะรักษา ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละพื้นที่ หรือเลือกไม่รับบริการรักษาใดๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) หรือที่เรียกกนั ว่า “สุขศาลา” เป็นสถานที่ที่ดำเนินกลไกสำคัญของ สาธารณสุขที่ดูแลสุขภาพของประชาชนในถิ่นทุรกันดารและเป็นทางเลือกหนึ่งที่สำคัญของประชาชนในพื้นท่ี ในการเข้าถึงบริการพ้ืนฐานของรัฐ โดยมีบทบาทหน้าที่ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น โดยมีนักศึกษาที่เข้าร่วม โครงการ 12 คน อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนกั วิจัย จำนวน 5 คน รวมคนในชุมชน จำนวน 10 คน ในการดำเนิน โครงการสร้างระบบสำรองไฟฟ้าขนาด 2.2 กโิ ลวตั ต์ ในวนั ท่ี 30 เมษายน - 3 พฤษภาคม 2564 ทผี ่านมา GMI VOLUNTEER 46
03 Financial Report 47
ข้อมูลงบประมาณประจำปี 2564 (หน่วย: ล้านบาท) ตารางแสดงข้อมูลงบประมาณประจำปี 2564 แผน ผล รายละเอยี ด 12.00 12.00 50.34 26.25 1. งบประมาณรายรบั 1.00 5.55 เงนิ อุดหนนุ จากรฐั * 17 12.02 รายได้จากการศกึ ษา 4.92 3.69 รายรับจากงานวิจัย 85.26 59.51 รายรับงานบรกิ าร รายรับอ่นื ๆ 24 20.83 รวมรายรบั 32.77 16.53 15.10 7.88 2. งบประมาณรายจ่าย 3.50 2.96 คา่ ใชจ้ ่ายบคุ ลากร 75.37 48.19 ค่าใช้จา่ ยดำเนินงาน หักเขา้ มหาวิทยาลัย** 9.89 11.32 หักเขา้ หน่วยงาน รวมรายจ่าย 3. งบประมาณคงเหลือ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2564 48
ร้อยละของรายได้ – รายจ่ายจริง ปงี บประมาณ 2564 ร้อยละของงบประมาณรายได้ 3.69 12.00 12.02 5.55 26.25 เงินอดุ หนุนจากรัฐ* รายได้จากการศกึ ษา รายรับจากงานวิจัย รายรับงานบรกิ าร รายรบั อ่นื ๆ รอ้ ยละของงบประมาณรายจา่ ย 17% 6% 43% 34% คา่ ใช้จ่ายบคุ ลากร ค่าใช้จ่ายดาเนนิ งาน หักเขา้ มหาวทิ ยาลัย** หักเข้าหนว่ ยงาน 49
04 ผลงานเดน่ ประจำปี 2564 50
Search